Sei sulla pagina 1di 19

โรคเก๊ าท์ (Gout)

โรคเก๊ าท์ เป็ นโรคทีพ่ บบ่ อยมานานแล้ ว


เกีย่ วข้ องกับการบริโภคอาหาร
สาเหตุเกิดจากการทีม ่ รี ะดับของกรดยูริค (Uric
Acid) ในเลือดสู ง ซึ่งอาจเกิดจาก ร่ างกายสร้ าง
กรด ยูริดมากเกินไป หรือ ร่ างกายขับกรดยูริคทา
งปัสสวะน้ อยลง
โรคเก๊าท์
- เป็ นโรคที่มีพยาธิสภาพที่ไขข้อ ทำให้ไขข้ออักเสบ
จากการตกตะกอนของกรดยูริคภายใน
ไขข้อ
- กรดยูริคซึ่ งเกิดจากการที่ร่างกายสร้างขึ้น และจาก
อาหารที่เรารับประทานประจำวัน กรดยูริคนี้
ส่ วนใหญ่ 2/3 จะถูกขับออกจากร่ างกายทาง
ปัสสวะและ 1/3 จะถูกขับออกทางอุจจาระ
โรคเก๊ าท์ เกิดขึน้ ได้ อย่ างไร

เกิดขึน้ จากร่ างกายสร้ างกรด ยูริค มากกว่ าปกติ


หรือรับประทานอาหารทีม่ ี สารพิวรีนสู ง สารนีจ้ ะถูก
เปลีย่ นเป็ นกรดยูริคในเลือด ทำให้ มกี ารสะสมระดับ
กรดยูริคสู งมากกว่ าธรรมดา จึงเกิดการตกตะกอนขึน้
ตามทีต่ ่ างๆ
โดยเฉพาะทีข
่ ้ อ และจะเป็ นเรื้อรัง
 ถ้ าไม่ ควบคุมจะมีผลทำให้ ข้อพิการ หรือตกตะกอนใน
ไต ในทางเดินปัสสาวะ ถ้ ามีการสะสมของกรดยูริคใน
เนือ้ ไต จะทำให้ ทำให้ ไตทำหน้ าทีข่ บั ของเสี ยออกจาก
ร่ างกายไม่ สมบูรณ์ ของเสี ยจึงคัง่ อยู่ในร่ างกายสู งกว่ า
ปกติ เกิดภาวะไตวายได้
อาการของโรคเก๊าท์

 - มีอาการปวด บวม แดง ร้ อน ตามข้ อต่ างๆ อาจเกิด

อย่ างเฉียบพลัน รุ นแรง หรือ เป็ นๆ หายๆ ทรมานมาก


พบบ่ อยบริเวณ นิว้ หัวแม่ เท้ า และข้ อเท้ า
อาการของโรคเก๊าท์

 -  อาจมีอาการปวดข้อ หลังจากไปรับประทานอาหารจำพวก เตรื่ อง


ในสัตว์ เนื้อสัตว์ ดื่มสุ รา หรื อมีภาวะเครี ยดสูง
 -  ถ้าผลึกยูริค ตกตะกอนในทางเดินปั สสวะ เป็ นนิ่ วในระบบทาง
เดินปั สสวะจะทำให้มีอาการปรดบริ เวณ เอง และปวดท้องอย่าง
รุ นแรง หรื อปั สสาวะเป็ นเลือดได้
อาการของโรคเก๊าท์

-  ถ้าผลึกยูริค ตกตะกอนในทางเดินปัสสวะ เป็ นนิ่ว


ในระบบทางเดินปัสสวะจะทำให้มีอาการปรดบริ เวณ
เอง และปวดท้องอย่างรุ นแรง หรื อปัสสาวะเป็ นเลือด
ได้
-  ภาวะยูริคสู งมักจะมีความสัมพันธ์ กับภาวะความ
ดันโลหิ ตสูง ภาวะอ้วน และมีไขมันในเลือดสูง
ระดับยูริคในเลือด
ในผู้ชาย ไม่ ควรเกิน 7 มิลลิกรัมเปอร์ เซนต์

ในผ้ ูหญิงไม่ ควรเกิน 6 มิลลิกรัมเปอร์ เซนต์


การควบคุมอาหารในผู้ป่วยโรคเก๊ าท์
 -   งดอาหารประเภท เครื่ องในสัตว์ ทุกชนิด สัตว์ปีก ยอดผัก
อ่อนๆ
 -  ให้ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 2-3 ลิตร
 - รับประทานอาหารที่มี พิวรี นต่ำ
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยโรคเก๊ าท์
 ถ้าผูป้ ่ วยมีภาวะ ไตรกลีเซอไรด์ สูง ให้กหนดอาหาร
พลังงานต่ำ ไขมันต่ำ และให้ พลังงานจากแป้ งข้าว
ให้อาหารที่มี พิวรี นต่ำ สามารถลดระดับยูริคในเลือด
ได้
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยโรคเก๊ าท์

เนื่องจากภาวะยูริคสู งมักจะมีความสั มพันธ์


กับภาวะความดันโลหิตสู ง
ภาวะอ้ วน และมีไขมันในเลือดสู ง
1.ถ้ าน้ำหนักตัวมาก ต้ องลดน้ำหนักตัว ควบคุมอาหาร
ประเภท ข้ าวแป้ ง และน้ำตาล
2. ลดอาหารไขมันลง และให้ แป้งข้ าวเป็ นแหล่ ง
พลังงานหลัก
3. งดดืม่ สุ รา
กลุ่มที่1 มี พิวรี นน้อย (0-50 มิลลิกรัม/อาหาร 100 กรัม)

 นม และ ผลิตภัณฑ์ นม ไข่ ธัญพืช


 ผักต่ างๆ (ยกเว้ น ผักขม หน่ อไม้ ฝรั่ง หน่ อไม้ สะตอ ใบขี้
เหล็ก ถัว่ งอก แตงกวา กระถิน ชะอม เห็ด)
 น้ำตาล และไขมันต่ างๆ
 ผลไม้ เปลือกแข็ง ทุกชนิด
กลุ่มที่ 2 มี พิวรี นปานกลาง ( 50 – 150 มิลลิกรัม/ อาหาร
100กรัม)

 เนือ้ หมู สะตอ เนือ้ วัว ข้ าวโอ๊ต ปลากระพงแดง


 ผักโขม ปลาหมึก เมล็ดถัว่ ลันเตา ปู
 หน่ อไม้ ถัว่ ลิสง ดอกกล่ำ ใบขีเ้ หล็ก

กลุ่มที่ 3 มี พิวรีนมาก ( มากกว่ า 150 มิลลิกรัม/ อาหาร 100กรัม)

 หัวใจไก่ กุ้งซีแฮ้ ไต ตับไก่ น้ำสลัด


ห่ าน
 กึน ๋ ไก่ น้ำต้ มกระดูก หอย เซ่ งจีห้ มู น้ำต้ มเนือ้
ยีสต์ ตับหมู น้ำซุปต่ างๆ เห็ด ตับอ่ อน ซุป
ก้ อน กระถิน สมองวัว ถัว่ แดง ชะอม เนือ้ ไก่
เป็ ด ถัว่ เขียว กะปิ ไข่ ปลา ถัว่ เหลือง
ปลาอินทรีย์ ปลาดุก ถัว่ ดำ ปลาไส้ ตนั
ปลาซาร์ ดนี
อาหารปกติมี พิวรีน วันละ 600-700มก.
ให้ ลดเหลือวันละ 300 มก.
 เครื่ องปรุ งที่ไม่มี พิวรี น
 น้ำตาล เกลือ น้ำส้มสายชู เครื่ องเทศ พริ ก พริ กไทย
 น้ำ วันละ 2 ลิตร
 น้ำเปล่า น้ำผลไม้ ชา กาแฟ โกโก้
 พลังงาน 30 –35 Kcal / Kg/ Day
 คาร์ โบไฮเดรท 50-60 %ไม่ควรได้รับน้ำตาลเกิน 5-10 %
 ของพลังงานทั้งหมด
 ไขมัน 25-30 %
 โปรตีน 15 % (0.8-1.2 กรัม/น้ำหนักตัว 1กก.)

Potrebbero piacerti anche