ใช้ดีถูกใจอย่าลืมอุดหนุนฉบับตีพมิ พ์เป็นเล่มด้วยนะครับ
* เนื้อหาตามหลักสูตรใหม่ครบทุกบทเรียน ม.4-5-6
* โจทย์แบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมกว่า 2,000 ข้อ
* ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยครบทัง้ 14 ฉบับ (2541-2548)
* พร้อมเฉลยคําตอบ วิธคี ดิ และเรือ่ งที่น่ารู้อกี มากมาย..
เหมาะสําหรับเตรียมสอบประจําภาค ม.4-5-6
สอบโควตารับตรง และสอบเข้ามหาวิทยาลัย
Release 2.2.04
เซต ตรรกศาสตร์/การให้เหตุผล
ระบบจํานวนจริง/ทฤษฎีจํานวน
เรขาคณิตวิเคราะห์
ความสัมพันธ์/ฟังก์ชัน
กําหนดการเชิงเส้น
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
เอกซ์โพเนนเชียล/ลอการิทึม
เมตริกซ์ เวกเตอร์
จํานวนเชิงซ้อน ทฤษฎีกราฟ
ลําดับ/อนุกรม ลิมิต/ความต่อเนื่อง
อนุพันธ์/การอินทิเกรต สถิติ
ความน่าจะเป็น
คณิต มงคลพิทักษ์สุข http://math.reads.it
วศ.บ. ไฟฟ้า จุฬาฯ (เกียรตินิยม)
kanuay@thai.com
2
Math E-Book
Release 2.2.04
เรียบเรียงโดย คณิต มงคลพิทักษ์สุข
เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต (มี.ค.2547 ถึงปัจจุบัน)
ที่เว็บไซต์ http://math.reads.it และ “thaiware.com”
Release 2.2
14 มิถุนายน 2549
Release 2.2.01-03 กรกฎาคม-พฤศจิกายน 2549
Release 2.2.04
26 เมษายน 2550
ตีพิมพ์ครั้งแรก (จาก Release 2.0) ธันวาคม 2548
พิมพ์ครั้งที่ 3 (จาก Release 2.0) ต้นปี 2550
ในชื่อ “คณิตศาสตร์ O-NET & A-NET”
โดยสํานักพิมพ์ SCIENCE CENTER (ธรรมบัณฑิต)
ราคาปก 159 บาท
โรงแรม
รัตนโกสินทร์
ธรรมบัณฑิต
3/1 ถนนอัษฎางค์ ริมคลองหลอด
สนามหลวง เขตพระนคร กทม. 10200
โทร. 0-2225-7160, 0-2221-5884
ธนาณัติสั่งจ่าย ป.ณ.หน้าพระลาน ในนาม “ผู้จัดการ”
แม่ธรณี
ตรอกสาเก
ฉบับตีพิมพ์มีจําหน่ายที่ศูนย์หนังสือจุฬาฯ
ร้านซีเอ็ด ร้านแพร่พิทยา หรือโทร.สั่งซือ้ ได้ที่
ถนนราชดําเนิน
เอกสารชุดนีส้ งวนลิขสิทธิต์ ามกฎหมาย
(คุ้มครองถึงรุ่นเอกสารที่เคยเผยแพร่ทั้งหมด)
ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใด
และห้ามใช้ในการอื่นนอกจากอ่านส่วนบุคคล
เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
วัดบูรณศิริ
7-Eleven ร้านธรรมบัณฑิต
ถนนอัษฎางค์
ไปกระทรวงมหาดไทย
คลองหลอด
แผงหนังสือ
สนามหลวงเดิม
สนามหลวง
กระทรวง
ยุติธรรม
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
3
¤íÒªÕ鿍§
ภายในหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วย เนือ้ หาคณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พ.ศ.2544 ช่วงชัน้ ที่ 4 (หรือ ม.4 – ม.6) ครบทุกหัวข้อ (ซึ่งพยายามเขียนให้กระชับ
ที่สุด) และ โจทย์แบบฝึกหัด ที่เรียงลําดับจากง่ายไปยาก พร้อมทั้งเนื้อหาและเทคนิคการ
คํานวณที่ควรทําความเข้าใจเพิ่มเติม เนื้อหาบางบทเรียนสามารถเริ่มทําความเข้าใจได้ทันที แต่
บางบทเรียนก็จําเป็นต้องใช้พนื้ ฐานความรู้จากบทเรียนอื่นประกอบด้วย ดังนั้นเพื่อป้องกันการ
สับสนผู้อ่านควรศึกษาเรียงตามหัวข้อดังนี้
ตรรกศาสตร์
เซต
ความน่าจะเป็น
พื้นฐาน
ระบบจํานวนจริง
ฟังก์ชัน
เพิ่มเติม
สถิติ
เมตริกซ์
ทฤษฎีกราฟ
ลําดับ+อนุกรม
เรขาคณิตวิเคราะห์
เวกเตอร์
กําหนดการเชิงเส้น
จํานวนเชิงซ้อน
ตรีโกณมิติ
ลิมิต+ความต่อเนื่อง
เอกซ์โพ.+ลอการิทึม
อนุพันธ์+อินทิเกรต
นอกจากนีใ้ นตอนท้ายยังมี ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์ ครบทั้ง 14
ฉบับ (ต.ค.41 ถึง มี.ค.48) และวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม (2532 ถึง 2548, เฉพาะข้อที่เป็น
คณิตศาสตร์) เพื่อใช้สําหรับฝึกฝนเตรียมตัวสอบเข้ามหาวิทยาลัย (O-NET / A-NET) อีกด้วย
ในท้ายบทเรียนและท้ายข้อสอบมี เฉลยคําตอบและวิธีคดิ กํากับไว้ทั้งหมดแล้ว โดย
เฉลยวิธีคิดในหนังสือเล่มนี้เป็นเพียงการสรุปความคิดรวบยอดของข้อนัน้ ๆ ไม่ได้แสดงวิธีทํา
อย่างละเอียดทุกขั้นตอน ทั้งนี้เป็นความตั้งใจที่จะเน้นให้ผอู้ ่านได้ลองคิดและเกิดความเข้าใจไป
พร้อมๆ กัน เพื่อให้ทําข้อสอบได้รวดเร็วขึ้น เชื่อว่าหากผู้อา่ นได้ให้เวลาทําความเข้าใจเนือ้ หา
อย่างถี่ถ้วน และฝึกทําโจทย์แบบฝึกหัดไปทีละขั้นๆ พร้อมกับตรวจเฉลยทุกข้อ ก็จะติดตาม
บทเรียนจนจบได้อย่างลุล่วง สิ่งที่ต้องการแนะนําในที่นี้คอื หากมีข้อสงสัยให้รีบถามจากผู้รู้ ไม่
ควรปล่อยให้ตดิ ค้างอยู่ :]
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
4
แนวโจทย์ข้อสอบเข้าฯ ในปัจจุบัน
โจทย์ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยปัจจุบันนี้เปลี่ยนแนวไป ทําให้หลายคนบ่นว่ายากขึ้นมาก
ส่วนตัวผู้เขียนว่าเป็นข้อสอบที่ดีเพราะเริ่มเน้นความเข้าใจในเนื้อหา ในนิยามหลักๆ ของบทเรียน
ลักษณะข้อสอบแบบนี้อันที่จริงไม่ถือว่ายาก แต่ค่อนไปในทางลึกซึ้งมากกว่า คนที่จะทําข้อสอบแบบนี้
ได้ถูก จะต้องรู้ลึกและแม่นจริง สูตรลัดกลายเป็นสิ่งไร้ค่า และการขยันเรียนที่โรงเรียนโดยตลอด
พร้อมกับทําความเข้าใจในแบบฝึกหัดเพิ่มเติมด้วยตนเอง จะได้ผลดีมากกว่าการกวดวิชา
เรียนคณิตศาสตร์ยังไงให้ได้ผลดี
(1) ปัญหาแรกของคนที่บอกว่าตัวเองเรียนไม่รู้เรื่องเลย ทําโจทย์ไม่เป็นเลย อยู่ที่เรียนผิดวิธี
ครับ ถ้าไม่เข้าใจบทเรียนให้ลองถามตัวเองว่าเกิดจากเหตุใดต่อไปนี้
(ก) ไม่ตั้งใจเรียน กรณีนี้ไม่มีวิธีแก้วิธีใดดีไปกว่าการบังคับตัวเองให้ตั้งใจเรียน :]
(ข) ถ้าตั้งใจแล้วแต่ไม่เข้าใจ แปลว่าผู้สอนอาจจะถ่ายทอดได้ไม่ดี แบบนี้คงต้องย้ายไปเรียนกับคนที่
สอนแล้วเข้าใจ (เข้าใจกับสนุก หรือเข้าใจกับมีสูตรลัดเยอะ เป็นคนละเรื่องกันนะครับ!)
(2) ทีนี้พอเข้าใจบทเรียนแล้ว การที่จะทําได้ดีไม่ดี อยู่ที่การฝึกฝนอีกอย่างหนึ่งด้วย (ถ้านั่ง
ฟังอย่างเดียวแต่ไม่ได้ลงมือฝึกด้วยตัวเองเลย ก็คงคล้ายกับเรียนว่ายน้ําทางทีวีนั่นแหละครับ) ยิ่งทํา
โจทย์เยอะและแปลก จะยิ่งได้เปรียบ เพราะความแม่นยําลึกซึ้งในวิชานั้นสอนกันไม่ได้
อีกสิ่งหนึ่งที่ควรปรับปรุงคือ แทนที่จะจําวิธีแก้โจทย์เป็นรูปแบบตายตัว อยากให้ “มอง
คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือ” คือฝึกมองให้กว้างว่าแต่ละเรื่องที่เรารู้นั้น เอาไปเป็นเครื่องมือช่วย
แก้ปัญหาจุดไหนของเรื่องไหนได้บ้าง ต้องบอกได้ว่าทําไมโจทย์ข้อนี้ถึงควรทําด้วยวิธีนี้ หรือรู้จักมองว่า
เนื้อหาบทไหนเชื่อมโยงถึงกันได้บ้าง (ซึ่งในหนังสือเล่มนี้ได้แทรกคําอธิบายถึงความเกี่ยวโยงไว้ให้บ้าง
แล้ว) การฝึกแบบนี้น่าจะทําข้อสอบได้ดีขึ้นครับ..
นับตั้งแต่เริ่มลงมือพิมพ์จนเสร็จสมบูรณ์ใช้เวลากว่า 2 ปี และหนังสือเล่มนี้คงจะยังไม่สําเร็จ
ด้วยดีถ้าขาดบุคคลเหล่านี้ หากหนังสือเล่มนี้มีส่วนดีประการใด ก็เป็นเพราะบุคคลทั้งหมดนี้ครับ..
- อาจารย์ทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์คณิตศาสตร์ ที่ได้ให้วิชาความรู้กับผม ขอขอบพระคุณ
อ.ชัยศักดิ์ และ อ.จงดี (สาธิตปทุมวัน) เป็นพิเศษครับ ทั้งสองท่านเป็นต้นแบบที่ดีที่สุดในการสอน
- ป๊า ม้า ยังคงเข้าใจและยอมเรื่อยมา บอยกับน้องยุ ช่วยพิมพ์เฉลยอย่างขยันขันแข็ง
- ผู้เขียนหนังสือเรียนและคู่มือต่างๆ ผู้ออกข้อสอบเข้าฯ รวมทั้งเว็บไซต์ของ สกอ.
- อ.สมพล (กวงเจ็ก) และ อ.พนม สนพ. Science Center ที่ให้โอกาสนําเสนอผลงาน
- ชง สําหรับความคิดริเริ่มพิมพ์ชีท และกล้า สําหรับความคิดเรื่องข้อสอบพื้นฐานวิศวะ
- น้องภัค น้องหนึ่ง น้องโอ๊ต น้องเคน สําหรับข้อสอบทั้งสองวิชา รวมไปถึงน้องๆ ทั้งหลาย
ที่เคยเป็นศิษย์กันมา ตั้งแต่ใช้ชีทลายมือเขียนมาจนกระทั่งพิมพ์เสร็จ (ขึ้นหลักร้อยแล้ว แต่ยังจําได้
ทุกคนครับ) โดยเฉพาะ แอน – เนย์ – เภา – ตูน เป็นน้องกลุ่มแรกที่ได้ใช้หนังสือเล่มนี้ ให้คําแนะนํา
และช่วยตรวจแก้ข้อสอบด้วย
- ความร้ายกาจของ “เจ๊ชุดดํา” ณ อดีตฟู้ดคอร์ทชั้น 3 ที่ทําให้เกิดความคิดว่า จริงๆ คนเรา
ควรทํางานในหน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุด.. แล้วผมก็เดินกลับบ้านมาเริ่มพิมพ์หนังสือเมื่อสองปีที่แล้ว!
- Thaiware.com, Se-ed.net, f0nt.com ... สามเว็บไทยใจดี
มีข้อสงสัย คําแนะนํา หรือพบข้อบกพร่อง กรุณาติดต่อผู้เขียนที่ kanuay@thai.com
และสอบถามปัญหาหรือโจทย์ต่างๆ ได้ที่เว็บบอร์ดใน http://math.reads.it
ยินดีตอบทุกปัญหาครับ :]
ขอบคุณที่ให้ความสนใจครับ
คณิต มงคลพิทักษ์สุข
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
5
ÊÒÃa¡ÒÃeÃÕ¹ÃÙ
(e¹×éoËÒ·ÕèãªÊoº O-NET / A-NET)
ตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 เป็นต้นไป การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยจะเปลี่ยนระบบ
เป็นแอดมิสชัน่ ส์ (Central University Admissions System) ซึ่งแบ่งคะแนนสอบออกเป็น 4 ส่วน
[10%]
1. GPAX รวมทุกวิชาในระดับ ม.ปลาย
2. GPA เฉพาะวิชาหลัก 4-5 วิชา ต่างๆ กันไปแล้วแต่คณะที่เลือก
[20%]
3. O-NET (Ordinary National Educational Test) สอบรวมทั้งประเทศ
[35%-40%]
เป็นข้อสอบบังคับ นักเรียนทุกสาขาจะต้องสอบ มี 5 วิชาได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา (ระยะเวลาในการสอบ วิชาละ 2 ชั่วโมง) ... ซึ่ง
นักเรียนแต่ละคนสอบ O-NET ได้เพียงปีเดียว หลังจบ ม.6
4. A-NET (Advanced National Educational Test) สอบรวมทั้งประเทศ [30%-35%]
เป็นข้อสอบฉบับเพิ่มเติม มีรายวิชาต่างกันไปตามสาขาที่สอบ (ไม่เกิน 3 วิชา และอาจมี
วิชาความถนัดของแต่ละสาขาด้วย เช่น วิศวะฯ สถาปัตย์ ครู ศิลปะ ดนตรี สุขศึกษา) ข้อสอบจะ
ครอบคลุมเนื้อหากว้างและลึกกว่า O-NET (ระยะเวลาในการสอบ วิชาละ 2 ชั่วโมง ยกเว้น
วิทยาศาสตร์ 3 ชั่วโมง) โดยคณิตศาสตร์จะใช้สอบสําหรับนักเรียนที่เลือกสาขาคํานวณเท่านั้น ...
นักเรียนแต่ละคนสอบ A-NET ได้ 3 ปี
หมายเหตุ (1) O-NET และ A-NET มีการจัดสอบปีละ 1 ครั้ง ปลายเดือนกุมภาพันธ์
(2) ทุกวิชาจะมีข้อสอบส่วนอัตนัย เป็นแบบเติมคําตอบสั้นๆ (Short Answer) ด้วย
(3) ชื่อวิชาต่างจากระบบเดิม คือคณิตศาสตร์ 1 (O-NET) จะง่ายกว่าคณิตศาสตร์ 2 (A-NET)
ค่าน้ําหนักของวิชาคณิตศาสตร์ในการสอบแต่ละสาขา
-
สาขาบริหารธุรกิจ พาณิชย์ บัญชี เศรษฐศาสตร์ | GPA 4% | O-NET 7% | A-NET 20%
สาขาวิศวกรรมศาสตร์ และสาขาเกษตร | GPA 4% | O-NET 8% | A-NET 10%
สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม | GPA 5% | O-NET 7% | A-NET 10%
สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | GPA 4% | O-NET 7% | A-NET 10%
สาขาสังคมศาสตร์ | GPA 5% (เลือกวิชาอื่นแทนได้) | O-NET 20%
สาขาการจัดการ การท่องเที่ยว | GPA 5% | O-NET 14%
สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ | GPA 5% | O-NET 8%
สาขาครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ | GPA 4% | O-NET 8%
สาขาวิทยาศาสตร์สาธารณสุข พลศึกษา การกีฬา | GPA 4% | O-NET 7%
สาขาศิลปกรรม วิจิตรศิลป์ ประยุกต์ศิลป์ | GPA ไม่ใช้คณิตศาสตร์ | O-NET 7%
สาขามนุษยศาสตร์ | GPA 5% (เลือกวิชาอื่นแทนได้) | O-NET 7-10% | A-NET ไม่แน่นอน
รายละเอียดเพิ่มเติม อยู่ในเว็บไซต์ของ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (NIETS)
http://www.ntthailand.com
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
6
หัวข้อคณิตศาสตร์พื้นฐาน (สําหรับข้อสอบ O-NET)
บทที่
บทที่
บทที่
บทที่
บทที่
บทที่
บทที่
บทที่
บทที่
1 เซต (ทั้งหมด)
2 ระบบจํานวนจริง (ทัง้ หมดยกเว้นหัวข้อ 2.2 และ 2.5)
3 ตรรกศาสตร์ (เฉพาะหัวข้อ 3.5)
5 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ทั้งหมดยกเว้นหัวข้อ 5.2 และ 5.5)
7 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (เฉพาะเกริ่นนํา และหัวข้อ 7.9)
8 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (เฉพาะหัวข้อ 8.1)
13 ลําดับและอนุกรม (เฉพาะหัวข้อ 13.1 และ 13.4 ที่ไม่เกี่ยวกับอนันต์)
16 ความน่าจะเป็น (เฉพาะหัวข้อ 16.1 และ 16.6)
17 สถิติ (ทั้งหมดยกเว้นหัวข้อ 17.5 และ 17.6 และสมบัติต่างๆ)
หัวข้อคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (สําหรับข้อสอบ A-NET)
คือทุกหัวข้อในหนังสือเล่มนี้
รวมทั้งหัวข้อเพิ่มเติมที่ไม่อยู่ในหนังสือเรียน ได้แก่
บทที่ 2 การหารสังเคราะห์
บทที่ 13 อนุกรมแบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่เลขคณิตและเรขาคณิต
บทที่ 16 การนับในกรณีอื่นๆ (หัวข้อ 16.4)
บทที่ 17 สูตรลดทอนในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
7
ÊÒúa
เรื่อง
หน้า
บทที่ 1 เซต
11
1.1 สับเซตและเพาเวอร์เซต
1.2 แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ และการดําเนินการของเซต
1.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต
บทที่ 2 ระบบจํานวนจริง
12
15
21
31
2.1 สมบัติของจํานวนจริง
2.2 ทฤษฎีบทเศษเหลือ และตัวประกอบ
2.3 อสมการ
2.4 ค่าสัมบูรณ์
2.5 ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น
32
36
39
44
48
เรื่องแถม ถ้าไม่มีเครื่องคํานวณ จะหาค่ารากที่สองได้อย่างไร
58
บทที่ 3 ตรรกศาสตร์
59
3.1 ตัวเชื่อมประพจน์ และตารางค่าความจริง
3.2 สัจนิรันดร์
3.3 การอ้างเหตุผล
3.4 ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
3.5 การให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย
60
63
65
67
69
เรื่องแถม มองตรรกศาสตร์ให้เป็นการคํานวณ จากพื้นฐานของดิจิตัล
82
บทที่ 4 เรขาคณิตวิเคราะห์
83
4.1 เบื้องต้น : จุด
4.2 เบื้องต้น : เส้นตรง
4.3 ภาคตัดกรวย : พื้นฐานการเขียนกราฟ
4.4 ภาคตัดกรวย : วงกลม
4.5 ภาคตัดกรวย : พาราโบลา
4.6 ภาคตัดกรวย : วงรี
4.7 ภาคตัดกรวย : ไฮเพอร์โบลา
84
86
92
94
96
99
102
บทที่ 5 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
119
5.1 ลักษณะของความสัมพันธ์
5.2 โดเมน เรนจ์ และตัวผกผันของความสัมพันธ์
5.3 กราฟของความสัมพันธ์
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
120
121
124
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
8
เรื่อง
หน้า
5.4 ลักษณะของฟังก์ชัน
5.5 ฟังก์ชันประกอบ และฟังก์ชันผกผัน
127
131
เรื่องแถม หลักในการหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน fog
146
บทที่ 6 กําหนดการเชิงเส้น
147
บทที่ 7 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
157
7.1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติในวงกลมหนึ่งหน่วย
7.2 ระบบเรเดียน และการลดรูปมุม
7.3 สมการตรีโกณมิติ
7.4 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
7.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวก และผลต่างมุม
7.6 ฟังก์ชันผกผันของตรีโกณมิติ
7.7 เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ
7.8 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์
7.9 การประยุกต์หาระยะทางและความสูง
158
160
162
165
166
169
171
172
173
บทที่ 8 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
187
8.1 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และกฎของเลขยกกําลัง
8.2 การแก้สมการที่เป็นเอกซ์โพเนนเชียล
8.3 ฟังก์ชันลอการิทึม และกฎของลอการิทึม
8.4 การแก้สมการที่เป็นลอการิทึม
187
191
192
195
เรื่องแถม จําเป็นต้องตรวจคําตอบของสมการ (หรืออสมการ) เมื่อใดบ้าง
204
บทที่ 9 เมตริกซ์
205
9.1 การบวก ลบ และคูณเมตริกซ์
9.2 ดีเทอร์มินันต์
9.3 อินเวอร์สการคูณ
9.4 การดําเนินการตามแถว
9.5 การใช้เมตริกซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น
206
208
211
215
216
บทที่ 10 เวกเตอร์
227
10.1 การบวกและลบเวกเตอร์
10.2 การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์
10.3 เวกเตอร์กับเรขาคณิต
10.4 เวกเตอร์ในพิกัดฉาก และเวกเตอร์หนึ่งหน่วย
10.5 ผลคูณเชิงสเกลาร์
10.6 เวกเตอร์ในพิกัดฉากสามมิติ
10.7 ผลคูณเชิงเวกเตอร์
228
230
231
233
235
237
240
เรื่องแถม สิ่งที่ไม่ต้องรู้ก็ได้ : ลําดับการคิดค้นเนื้อหาคณิตศาสตร์
250
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
9
เรื่อง
หน้า
บทที่ 11 จํานวนเชิงซ้อน
251
11.1 การคํานวณเบื้องต้น
11.2 สังยุค และค่าสัมบูรณ์
11.3 รูปเชิงขั้ว
11.4 สมการพหุนาม
252
254
256
259
เรื่องแถม ใช้จาํ นวนเชิงซ้อนช่วยคํานวณเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
268
บทที่ 12 ทฤษฎีกราฟ
269
12.1 ส่วนประกอบของกราฟ
12.2 กราฟออยเลอร์
12.3 วิถีที่สั้นที่สุด และต้นไม้แผ่ทั่วที่น้อยที่สุด
270
272
274
บทที่ 13 ลําดับและอนุกรม
279
13.1 ลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
13.2 ลิมิตของลําดับอนันต์
13.3 อนุกรมและซิกม่า
13.4 อนุกรมเลขคณิต เรขาคณิต และอื่นๆ
280
282
284
285
บทที่ 14 ลิมิตและความต่อเนื่อง
295
14.1 ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต
14.2 ลิมิตในรูปแบบยังไม่กําหนด
14.3 ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
296
298
300
เรื่องแถม การคํานวณลิมิตในรูปแบบยังไม่กําหนด ด้วยกฎของโลปีตาล
306
บทที่ 15 อนุพันธ์และการอินทิเกรต
307
15.1 อัตราการเปลี่ยนแปลง
15.2 สูตรในการหาอนุพันธ์
15.3 ฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด และค่าสุดขีด
15.4 สูตรในการอินทิเกรต
15.5 อินทิกรัลจํากัดเขต และพื้นที่ใต้โค้ง
307
309
312
317
319
เรื่องแถม เทคนิคการอินทิเกรตโดยเปลี่ยนตัวแปร
332
บทที่ 16 ความน่าจะเป็น
333
16.1 หลักมูลฐานเกี่ยวกับการนับ
16.2 วิธีเรียงสับเปลี่ยน
16.3 วิธีจัดหมู่ และกฎการแบ่งกลุ่ม
16.4 การนับในกรณีอื่นๆ
16.5 ทฤษฎีบททวินาม
16.6 ความน่าจะเป็น
333
335
337
339
341
345
เรื่องแถม เรื่องของการนับจํานวนความสัมพันธ์ จํานวนฟังก์ชัน
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
358
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
10
เรื่อง
หน้า
บทที่ 17 สถิติ
359
17.1 การรวบรวมและนําเสนอข้อมูล
17.2 ค่ากลางของข้อมูล
17.3 ตําแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล
17.4 ค่าการกระจายของข้อมูล
17.5 ค่ามาตรฐาน และการแจกแจงแบบปกติ
17.6 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
360
363
374
378
383
388
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์ 1 (14 ฉบับ)
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
ฉบับที่
c
d
e
f
g
h
i
j
k
l
n
o
p
q
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ตุลาคม 2541
มีนาคม 2542
ตุลาคม 2542
มีนาคม 2543
ตุลาคม 2543
มีนาคม 2544
ตุลาคม 2544
มีนาคม 2545
ตุลาคม 2545
มีนาคม 2546
ตุลาคม 2546
มีนาคม 2547
ตุลาคม 2547
มีนาคม 2548
403
408
417
426
435
444
453
462
471
481
492
502
512
523
532
สถิติคะแนนสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์ 1
541
ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย วิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม (17 ปี)
(เฉพาะข้อที่เป็นคณิตศาสตร์)
ชุดที่ 1 | รวมปี 2532 ถึงปี 2541
ชุดที่ 2 | รวมตุลาคม 2541 ถึงมีนาคม 2548
542
573
โจทย์ทดสอบ : เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย
ชุดที่ 1 (มี 2 ส่วน, 70 ข้อ)
ชุดที่ 2 (35 ข้อ)
588
606
ภาคผนวก : Math E-Book ฉบับเข้มข้น
ดรรชนี
Math E-Book Release 2.2.04
616
657
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
11
{ s,e,t }
º··Õè
1 e«µ
“กลุ่มของสิ่งต่างๆ”
ในวิชาคณิตศาสตร์จะ
เรียกว่า เซต (Set) เช่น เซตของชื่อวันทั้งเจ็ด, เซต
ของจํานวนเต็มที่ยกกําลังสองแล้วมีค่าน้อยกว่า 7, เซต
ของจํานวนเฉพาะบวกที่หาร 360 ลงตัว, ฯลฯ สิ่งที่อยู่
ภายในแต่ละเซต เรียกว่า สมาชิก (Element หรือ
Member)
นิยมตั้งชื่อเซตด้วยอักษรตัวใหญ่ เช่น A, B, C และเขียนสัญลักษณ์แทนเซตด้วยวงเล็บ
ปีกกา ดังนี้ { } เช่น ให้ A แทนเซตของชื่อวันทั้งเจ็ด, B แทนเซตของจํานวนเต็มที่ยกกําลังสอง
แล้วมีค่าน้อยกว่า 7, C แทนเซตของจํานวนเฉพาะบวกที่หาร 360 ลงตัว, D แทนเซตของจํานวน
เฉพาะบวกที่น้อยกว่า 7, และ E แทนเซตของจํานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 3 ถึง 33 จะได้ว่า
A = { อาทิตย์, จันทร์, อังคาร, พุธ, พฤหัสบดี, ศุกร์, เสาร์ }
การเขียนแจกแจงสมาชิกของเซต จะคั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัวด้วยจุลภาค (comma)
B = {−2, −1, 0, 1, 2} หรือ B = {0, 1, −1, 2, −2}
การเขียนแจกแจงสมาชิกของเซต สามารถสลับที่สมาชิกในเซตได้โดยความหมายไม่เปลี่ยน
C = {2, 3, 5}
D = {2, 3, 5}
จะกล่าวได้ว่า C = D
สมาชิกตัวที่ซ้ํากันนับเป็นตัวเดียวกัน และไม่ต้องเขียนซ้ํา ( 360 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 5 )
E = {4, 5, 6, 7, ..., 32}
หากมีสมาชิกเป็นจํานวนมาก อาจใช้เครื่องหมายจุด “...” เพื่อละสมาชิกบางตัวไว้ในฐานที่เข้าใจ
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
12
เซตที่หาจํานวนสมาชิกได้ เรียกว่า เซตจํากัด (Finite
Set) และสัญลักษณ์ที่ใช้แทน “จํานวนสมาชิกของ A” คือ n (A)
เช่นในตัวอย่างข้างต้น n (A) = 7 , n (B) = 5 , n (C) = 3 ,
n (E) = 29 นอกจากนั้น เซตจํากัดที่ไม่มีสมาชิกอยู่เลย จะเรียกว่า
เซตว่าง (Null Set หรือ Empty Set) ใช้สัญลักษณ์ { } หรือ ∅
นั่นคือ n (∅) = 0
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
e«µµo仹ÕÁé ¨Õ Òí ¹Ç¹ÊÁÒªi¡e·Òã´
{∅, 0, 1, {2, 3},(4, 5)}
¤íÒµoº¤×o 5 µaÇ ä´æ¡ e«µÇÒ§, eÅ¢ 0,
eÅ¢ 1, e«µ {2,3}, æÅa¤Ùoa¹´aº (4,5)
¹a蹤×oe«µ¹aºe»¹ 1 ¤Ùoa¹´aº¹aºe»¹ 1
{(1, 2),(2, 1), {1, 2}, {2, 1}}
เซตที่จํานวนสมาชิกมากจนหาค่าไม่ได้ เรียกว่า เซต
อนันต์ (Infinite Set) เช่น F แทนเซตของจํานวนเต็มที่น้อยกว่า 2,
G แทนเซตของจํานวนใดๆ ที่อยู่ระหว่าง 0 กับ 1
F = {1, 0, −1, −2, −3, ...} , n (F) หาค่าไม่ได้
G เขียนแบบแจกแจงสมาชิกไม่ได้ แต่เขียนแบบบอก
เงื่อนไขได้ในรูป { สมาชิก | เงื่อนไข } คือ
G = { x | 0 < x < 1}
อ่านว่า เซตของ x (สมาชิก) โดยที่
0 < x < 1
(เงื่อนไข)
¤íÒµoº¤×o 3 µaÇ ä´æ¡ ¤Ùoa¹´aº (1,2), ¤Ù
oa¹´aº (2,1), æÅae«µ {1,2}
(¤Ùoa¹´aº 1-2 ¡aº 2-1 ¶×oÇÒµÒ§¡a¹ æµe«µ
1-2 ¡aºe«µ 2-1 ¶×oÇÒeËÁ×o¹¡a¹æÅaäÁ
µo§¹aº«éÒí ¹a¤Ãaº)
e«µ¢o§ª×oè ¤¹ã¹»Ãae·Èä·Âã¹¢³a¹Õé
e»¹e«µ¨íÒ¡a´ËÃ×oo¹a¹µ ... ¤íÒµoº¤×o
e«µ¨íÒ¡a´¤Ãaº ¶Ö§æÁ¨íҹǹÊÁÒªi¡¨a´ÙÇÒ
ÁÒ¡¢¹Ò´ä˹ 浡çäÁÁÒ¡¶Ö§o¹a¹µ¹a..
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “เป็นสมาชิกของ” คือ ∈ เช่น 2 ∈ B , 3 ∈ C , 0.5 ∈ G
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” คือ ∉ เช่น 2.5 ∉ B , 4 ∉ C , 0 ∉ G
ขอบเขตของสิ่งที่เราสนใจ เรียกว่า เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) หรือเซต
นั่นคือ สมาชิกของเซตทุกเซตจะต้องอยู่ใน U ทั้งหมด และจะไม่สนใจสิ่งที่อยู่ภายนอก U
เช่น ถ้า U = {−2, −1, 0, 0.5, 7} และ H = { x | x > 0 } จะได้ว่า H = {0, 0.5, 7}
แต่ถ้าเปลี่ยนเป็น U = เซตของจํานวนเต็ม จะได้ว่า H = {0, 1, 2, 3, ...}
การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขควรระบุเอกภพสัมพัทธ์กํากับด้วย แต่ถ้าไม่ได้ระบุไว้
โดยทั่วไปให้ถือว่า U เป็นเซตของจํานวนจริงใดๆ ( R )
เช่น H = { x | x > 0 } มีความหมายเดียวกับ H = { x ∈ R | x > 0 }
U
1.1 สับเซต และเพาเวอร์เซต
สับเซต (Subset) คือเซตย่อย จะกล่าวว่า B เป็นสับเซตของ A ได้ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัว
ของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A ด้วย (และ B จะไม่เป็นสับเซตของ A หากว่ามีสมาชิกบางตัวของ
เซต B ไม่เป็นสมาชิกของเซต A) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค “B เป็นสับเซตของ A” คือ B ⊂ A
และ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค “B ไม่เป็นสับเซตของ A” คือ B ⊄ A
ตัวอย่างเช่น A
จะมีเซต B ที่ทาํ ให้ B ⊂
= {m, p, r, w}
A
ได้ถึง 16 แบบ ดังนี้
∅
{m}
{p}
{r}
{w}
{m, p}
{m, r}
{m, w}
{p, r}
{m, p, r}
{m, p, w} {m, r, w}
S ¢oÊa§e¡µ! S
{p, w}
{r, w}
{p, r, w}
{m, p, r, w}
Math E-Book Release 2.2.04
»Ãao¤ {a, b} ⊂ A
ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂÇÒ a ∈ A æÅa b ∈ A
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
13
ข้อควรทราบ
1. เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต
∅ ⊂ A
2. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวเอง A ⊂ A
3. เซตที่มีสมาชิก n ตัว จะมีสับเซตทั้งสิ้น 2 n แบบ ... (เช่นในตัวอย่างข้างต้น 2 4 = 16 )
4. บางตําราใช้สัญลักษณ์ ⊂ แทนการเป็น สับเซตแท้ (Proper Subset) ซึ่งจะมีเพียง 2 n − 1 แบบ
เท่านั้น (คือนับเฉพาะเซตที่เล็กกว่าเท่านั้น ไม่นับตัวมันเอง) และใช้สัญลักษณ์ ⊆ แทนการเป็นสับ
เซตใดๆ (นั่นคือ A ⊆ A แต่ A ⊄ A ) ... แต่ในเล่มนี้จะรวบใช้เครื่องหมาย ⊂ แทนการเป็นสับ
เซตใดๆ ทุกแบบ รวมถึงตัวมันเองด้วย
เพาเวอร์เซต (Power Set) คือเซตที่บรรจุด้วยสับเซตทั้งหมดที่เป็นไปได้
เพาเวอร์เซตของ A จะใช้สัญลักษณ์ว่า P(A)
S ¢oÊa§e¡µ! S
ดังนั้น ถ้า A มีสมาชิก n ตัวแล้ว P(A) ย่อมมีสมาชิก 2 n ตัว
เช่นในตัวอย่าง A = {m, p, r, w}
»Ãao¤ {a, b} ∈ P(A)
ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂÇÒ {a, b} ⊂ A
จะได้ P (A) = { ∅, {m}, {p}, {r}, {w}, {m, p}, {m, r}, ..., {m, p, r, w} }
¹a蹤×o a ∈ A æÅa b ∈ A
เพิ่มเติม จากเนื้อหาเรื่องการเรียงสับเปลี่ยนและจัดหมู่
(กฎการนับนี้จะได้ศึกษาอย่างละเอียดในบทที่ 16 หัวข้อ 16.3)
มีของ n ชิ้น หยิบออกมาทีละ r ชิ้น ได้ไม่ซ้ํากันทัง้ สิ้น
n!
⎛n⎞
⎜r ⎟ =
(n −r)! ⋅ r !
⎝ ⎠
ชุด
โดยที่ x ! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ⋅ ... ⋅ x
เช่นถ้าเซตหนึ่งมีสมาชิก 7 ตัว จะมีสับเซตที่หยิบสมาชิกมาเพียง 3 ตัว
7
อยู่ ⎛⎜ 3 ⎞⎟ = 7 ! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ⋅ 4 ⋅ 5 ⋅ 6 ⋅ 7 = 35 แบบ
⎝ ⎠
4!⋅ 3!
1⋅2 ⋅ 3 ⋅ 4 ⋅ 1⋅2 ⋅ 3
•
ตัวอยาง ใหเขียนสับเซตทุกๆ แบบ และเขียนเพาเวอรเซตของ
ก. A = {a}
ตอบ มีสับเซต 2 = 2 แบบ ไดแก ∅ และ {a}
ดังนั้น P (A) = {∅, {a}}
ข. B = {a, b}
ตอบ มีสับเซต 2 = 4 แบบ ไดแก ∅ , {a} , {b} และ {a, b}
ดังนั้น P (B) = {∅, {a}, {b}, {a, b}}
ค. C = {2, 3, 5}
ตอบ มีสับเซต 2 = 8 แบบ ไดแก ∅ , {2} , {3} , {5} , {2, 3} ,
{2, 5} , {3, 5} และ {2, 3, 5}
ดังนั้น P (C) = {∅, {2}, {3}, {5}, {2, 3}, {2, 5}, {3, 5}, {2, 3, 5}}
ง. D = ∅
ตอบ มีสับเซต 2 = 1 แบบ ไดแก ∅ ดังนั้น P (D) = {∅}
1
2
3
0
Math E-Book Release 2.2.04
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
¹o§æ Áa¡¨aÊaºÊ¹ÃaËÇÒ§ ∅ ¡aº {∅}
ÇÒµÒ§¡a¹oÂÒ§äà ...
∅ (e«µÇÒ§) e»ÃÕºeÊÁ×o¹¡Åo§e»ÅÒæ äÁ
ÁÕoaäÃoÂÙã¹¹aé¹eÅ (¨íҹǹÊÁÒªi¡e·Ò¡aº 0)
¨ae¢Õ¹ÊaÅa¡É³e»¹ { } ¡çä´
æµ¶Ò¶ÒÁÇÒ¡Åo§ãºË¹Öè§«Öè§ÁÕ¡Åo§e»ÅÒoÕ¡
ãºoÂÙ¢Ò§ã¹ ¹aºe»¹¡Åo§ÇÒ§e»ÅÒËÃ×oäÁ
¤íÒµoº¡ç¤×oäÁe»ÅÒæÅÇãªäËÁ¤Ãaº
¡çeËÁ×o¹¡a¹¡aº e«µ¢o§e«µÇÒ§ {∅}
«Öè§äÁä´e»¹e«µÇÒ§oÕ¡µo仿ÅÇ ...
ËÃ×o¶ÒµoºÊa鹿 ¡ç¤×o n(∅) = 0
æµ n({∅}) = 1
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
14
ตัวอยาง กําหนด E = {∅, {0}, {∅}} ใหหา P(E)
ตอบ {∅, {∅}, {{0}}, {{∅}}, {∅, {0}}, {∅, {∅}}, {{0}, {∅}}, {∅, {0}, {∅}}}
•
ตัวอยาง กําหนด A, B เปนเซตซึ่ง A = {1, 3, 5, 7} และ
ก. จํานวนแบบของเซต X ซึ่ง X ∈ P (A)
ตอบ คําวา X ∈ P (A) ก็คือ X ⊂ A
ดังนั้น มีเซต X ทีเ่ ปนไปไดทั้งหมด 2 = 16 แบบ
หากศึกษาเรื่องวิธีจัดหมูแลว จะทราบวิธีคํานวณอีกแบบ ดังนี้
•
B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}
ใหหา
4
⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞ ⎛4⎞
⎜ 0 ⎟ + ⎜ 1 ⎟ + ⎜ 2 ⎟ + ⎜ 3 ⎟ + ⎜ 4 ⎟ = 1 + 4 + 6 + 4 + 1 = 16
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
แบบ
ข. จํานวนแบบของเซต X ซึ่ง X ∈ P (A) และ n (X) < 2
ตอบ คําวา X ∈ P (A) ก็คือ X ⊂ A ซึ่งมี 16 แบบ (ดังขอ ก.) แตขอนี้ตองการ n (X) < 2 เทานั้น
หากศึกษาเรื่องวิธีจัดหมูแลวจึงจะทราบวิธีคํานวณ ดังนี้ ⎛⎜ 04 ⎞⎟ + ⎛⎜ 14 ⎞⎟ + ⎛⎜ 24 ⎞⎟ = 1 + 4 + 6 = 11 แบบ
⎝ ⎠
⎝ ⎠
⎝ ⎠
(แตถายังไมไดศกึ ษา ก็คงตองเขียนนับเอาโดยตรง)
ค. จํานวนแบบของเซต Y ซึ่ง A ⊂ Y และ Y ⊂ B
ตอบ ตองการ A ⊂ Y ก็แปลวา สมาชิก 1, 3, 5, 7 ตองอยูใน Y ครบทุกตัว ... และ Y ⊂ B แปลวา
2, 4, 6 จะอยูใน Y กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได (เพราะมีเพียง 1, 3, 5, 7 ก็เพียงพอกับเงื่อนไข
Y ⊂ B แลว) ... การที่ 2, 4, 6 จะอยูใน Y กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได เปรียบเสมือนการหาสับเซต
ทุกแบบของ {2, 4, 6} นัน่ เอง จึงตอบวา 2 = 8 แบบ
3
แบบฝึกหัด 1.1
(1) กําหนด A, B เป็นเซตที่มีลักษณะ
ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(1.1) {x} ⊂ B
(1.2) {y} ⊄ A
(2) ให้
A = {{∅}, a, b, {a}, {a, b}}
(2.1) {∅} ∈ A
(2.2) {∅} ⊂ A
A ⊂ B
และ
A ≠ B
(1.3)
(1.4)
ถ้า
x ∈ A
และ
แล้ว
{A} ⊂ {B}
{A} ≠ {B}
ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(2.3) {{a}, b} ⊂ A
(2.4) {a, b} ∈ A และ
(3) ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่
(3.1) ถ้า A ⊂ B และ B ⊂ C แล้ว A ⊂ C
(3.2) ถ้า A ∈ B และ B ∈ C แล้ว A ∈ C
(3.3) ถ้า A ⊄ B และ B ⊄ C แล้ว A ⊄ C
Math E-Book Release 2.2.04
y ∈B
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
{a, b} ⊄ A
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
15
(4) ให้ A เป็นเซตใดๆ ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(4.1) { x | x = A } = {A}
(4.2) { x | x ∈ A } = A
(4.3)
(4.4)
{ x | {x} ⊂ A } = {A}
{ x | {x} ⊂ ∅ } = ∅
(5) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(5.1) ถ้า n (A) = 5 แล้ว สับเซตของ A มีทั้งหมด 32 แบบ
(5.2) ถ้า n (A) = 5 แล้ว สับเซตแท้ของ A มีทั้งหมด 32 แบบ
(5.3) ถ้า n (A) = 5 แล้ว เพาเวอร์เซตของ A มีทั้งหมด 32 แบบ
(5.4) ถ้า n (A) = 5 แล้ว สมาชิกของเพาเวอร์เซตของ A มีทั้งหมด 32 ตัว
(6) ถ้า A มีสับเซตแท้ 511 เซต แสดงว่า A มีสมาชิกกี่ตัว
และในจํานวน 511 เซตนั้น สับเซตที่มีสมาชิกเพียง 5 ตัวมีกี่เซต
(7) ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่
(7.1) ∅ ∈ ∅
(7.2) ∅ ⊂ ∅
(7.3) ∅ ∈ {∅}
(7.4) ∅ ⊂ {∅}
(8) ถ้า
∅ ∈ P (∅)
∅ ⊂ P (∅)
{∅} ∈ P (∅)
{∅} ⊂ P (∅)
A = {∅, a, {b}, {a, b}}
(8.1)
(8.2)
(8.3)
(8.4)
(8.5)
(9) ถ้า
(7.5)
(7.6)
(7.7)
(7.8)
แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(8.6) a ∈ P (A)
{∅} ∈ P (A)
(8.7) {a} ∈ P (A)
∅ ⊂ P (A)
(8.8) {b} ∈ P (A)
{∅} ⊂ P (A)
(8.9) {{b}} ∈ P (A)
{∅, a, {b}} ∈ P (A)
(8.10) {∅, a, {b}} ⊂
∅ ∈ P (A)
A = {∅, 1, 2, 3, {1}, {1, 2}, {1, 2, 3}}
(9.1) {∅, {1}, {1, 2}} ∈ P (A)
(9.2) {∅, {1}, {1, 2}} ⊂ P (A)
P (A)
แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(9.3) {{1}, {2}, {3}} ∈ P (A)
(9.4) {{1}, {2}, {3}} ⊂ P (A)
(10) [Ent’39] ให้ S = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} แล้วจงหา n (X) และ
เมื่อกําหนด X = { A ∈ P (S) | 1 ∈ A และ 7 ∉ A }
และ Y = { A ∈ X | ผลบวกของสมาชิกภายใน A ไม่เกิน 6 }
n (Y)
1.2 แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ และการดําเนินการของเซต
การแสดงเซตด้วย แผนภาพของเวนน์และออยเลอร์
(Venn-Euler Diagram) ช่วยให้เห็นลักษณะของเซตชัดเจนขึ้น
การเขียนแผนภาพดังกล่าวนิยมให้เอกภพสัมพัทธ์ U เป็นกรอบ
สี่เหลี่ยม ซึ่งภายในบรรจุรูปปิด (วงกลม วงรี ฯลฯ) ที่ใช้แทน
ขอบเขตของเซต A, B, C ต่างๆ โดยจะเขียนให้มีบริเวณที่เซต
สองเซตซ้อนทับกัน หากว่าสองเซตนั้นมีสมาชิกร่วมกัน ดังภาพ
Math E-Book Release 2.2.04
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
¤ÇèaÇÒ´æ¼¹ÀÒ¾e«µ A æÅa B ã¹æºº
·aèÇä» ¤×oãËÁÕÊÁÒªi¡ÃÇÁ¡a¹¡o¹
(eËÁ×o¹¡aºÃÙ»¡ÅÒ§) æÅǨҡ¹aé¹eÁ×èo·ÃÒº
ÇÒªié¹Êǹã´äÁÁÕÊÁÒªi¡ ¤o¢մËÃ×oæÃe§Ò
·ié§ä».. ·íÒæºº¹Õéoo¡Òʼi´¨a¹oÂŧ¤Ãaº..
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
16
U
U
U
A
A
B
A
A และ B ไม่มีสมาชิกร่วมกัน
สมมติว่า
B
B
A และ B มีสมาชิกร่วมกัน
U
A = {0, 1, 2, 3, 4}
B = {1, 3, 5, 7, 9}
A
C = {2, 3, 5, 7, 11}
A เป็นสับเซตของ B
1
9 B
2 3 57
11
C
04
จะเขียนแผนภาพได้ดังนี้
การดําเนินการเกี่ยวกับเซต เป็นการทําให้เกิดเซตใหม่ขึ้นจากเซตที่มีอยู่เดิม
1. ยูเนียน (Union : ∪ ) ... เซต A ∪ B คือเซตของสมาชิกที่อยู่ใน A หรือ B ทั้งหมด
U
U
U
A
A
B
A
B
B
ยูเนียนของ A กับ B ได้เป็น B
2. อินเตอร์เซกชัน (Intersection : ∩ ) ... เซต A ∩ B คือเซตของสมาชิกที่อยู่ในทั้ง A และ B
บางตําราใช้สัญลักษณ์เป็น AB (คือ ละเครื่องหมายอินเตอร์เซคชันไว้)
U
U
U
A
A
B
A
B
B
อินเตอร์เซกชันของ A กับ B เป็นเซตว่าง
อินเตอร์เซกชันของ A กับ B เป็น A
3. คอมพลีเมนต์ (Complement : ' )
เซต A' คือเซตของสมาชิกที่ไม่ได้อยู่ใน A
บางตําราใช้สัญลักษณ์เป็น A c หรือ A
U
A
4. ผลต่าง (Difference หรือ Relative Complement : − )
B − A คือเซตของสิ่งที่อยู่ใน B แต่ไม่อยู่ใน A ... หรือ B − A = B ∩ A'
จะเรียก B − A ว่า “คอมพลีเมนต์ของ B เมื่อเทียบกับ A” ก็ได้
U
U
U
A
A
ข้อสังเกต โดยทั่วไป
B
A
n (B − A) ≠ n (B) − n (A)
B
B
แต่
n (B − A) = n (B) − n (A ∩ B)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
17
สมบัติที่เกี่ยวกับการดําเนินการของเซต
• การแจกแจง
A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C)
• คอมพลีเมนต์ และเพาเวอร์เซต
(A ∪ B) ' = A '∩ B '
A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C)
(A ∩ B) ' = A '∪ B '
A − (B ∪ C) = (A − B) ∩ (A − C)
P (A) ∩ P (B) = P (A ∩ B)
A − (B ∩ C) = (A − B) ∪ (A − C)
P (A) ∪ P (B) ⊂ P (A ∪ B)
หมายเหตุ ในภาษาอังกฤษบางครั้งอ่าน
A ∪B
ว่า A cup B และอ่าน
A ∩B
ว่า A cap B
ตัวอยาง กําหนด A, B เปนเซตซึ่ง A = {1, 3, 5, 7} และ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} ใหหา
(ในขอ ก. และ ข. จําเปนตองใชความเขาใจเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและจัดหมู ดวย)
ก. จํานวนแบบของเซต Y ซึ่ง A ∩ Y ≠ ∅ และ Y ⊂ B
ตอบ วิธีคดิ ตางจากตัวอยางที่แลว ( A ⊂ Y ⊂ B ) เล็กนอย ... ขอนี้ตองการ A ∩ Y ≠ ∅ แสดงวา
สมาชิก 1, 3, 5, 7 ตองมีอยูใน Y (มีกีต่ ัวก็ได แตไมมีเลยไมไดเพราะจะทําให A ∩ Y = ∅ )
การอยูกี่ตัวก็ได แตไมอยูเลยไมได ก็คือการหาสับเซตทุกแบบของ {1, 3, 5, 7} ทีไ่ มใชเซตวาง นั่นเอง ใน
ขั้นตอนนี้จึงได 2 − 1 = 15 แบบ ...
อีกเงื่อนไขคือ Y ⊂ B แปลวา 2, 4, 6 จะอยูใน Y กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได (เพราะมีเพียง
บางตัวของ 1, 3, 5, 7 ก็เพียงพอกับเงื่อนไข Y ⊂ B แลว) ... ขัน้ นี้เหมือนตัวอยางที่แลว จึงได 2 = 8
แบบ ... คําตอบขอนี้ตองนําสองเงื่อนไขมาประกอบกัน สรุปวาทั้งสองขั้นตอนทําใหไดผลลัพธตางๆ กัน
ทั้งสิ้น 15 × 8 = 120 แบบ
•
4
3
ข. จํานวนแบบของเซต Z ซึ่ง {1, 2, 3} ∩ Z ≠ ∅ และ Z ⊂ A
ตอบ วิธีคดิ เหมือนขอ ก. ... นัน่ คือ ตองการ {1, 2, 3} ∩ Z ≠ ∅ แสดงวา สมาชิก 1, 3 ตองมีอยูใน Z
(มีกี่ตัวก็ได แตไมมีเลยไมไดเพราะจะทําให A ∩ Z = ∅ ) ที่สาํ คัญคือ สมาชิก 2 หามอยูใน Z เพราะจะ
ขัดแยงกับอีกเงื่อนไข ( Z ⊂ A ) ... ในขั้นตอนนี้จึงได 2 − 1 = 3 แบบ ...
อีกเงื่อนไขคือ Z ⊂ A แปลวา 5, 7 จะอยูใน Z กี่ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได (เพราะมีเพียง
บางตัวของ 1, 3 ก็เพียงพอกับเงื่อนไข Z ⊂ A แลว) ... ขัน้ นี้เหมือนตัวอยางที่แลว จึงได 2 = 4 แบบ
... คําตอบขอนีต้ อ งนําสองเงื่อนไขมาประกอบกัน สรุปวาทั้งสองขัน้ ตอนทําใหไดผลลัพธตางๆ กันทั้งสิ้น
3 × 4 = 12 แบบ
2
2
ค. จํานวนแบบของเซต Z ซึ่ง {1, 2, 3} ∩ Z = ∅ และ Z ⊂ A
ตอบ ขอนี้งายทีส่ ุด เนื่องจาก ตองการ {1, 2, 3} ∩ Z = ∅ แสดงวา สมาชิก 1, 2, 3 หามมีอยูใน Z
เลยแมแตตัวเดียว เมื่อประกอบกับอีกเงื่อนไขคือ Z ⊂ A จึงไดวา สมาชิก 5, 7 เทานัน้ ที่จะอยูใน Z (กี่
ตัวก็ได หรือไมอยูเลยก็ได เพราะแม Z = ∅ ก็ยังทําใหเงือ่ นไข Z ⊂ A เปนจริงอยูดี) ... จึงไดคาํ ตอบ
เปน 2 = 4 แบบ
2
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
18
ตัวอยาง ถา C = {∅, {∅}, 0, {{∅}, 0}, {∅, {0}}, {{∅, {0}}}} ใหหาคาของ
ก. n (P (C))
ตอบ เนื่องจาก n (C) = 6 ดังนั้น n (P (C)) = 2 = 64
•
6
ข.
n (P (C) − C)
ไมไดคิดจาก 64 − 6 = 58 ... เพราะโดยทั่วไปสมาชิกของ C นัน้ ไมไดอยูใน
P (C) ทั้งหมด การจะคิด n (P (C) − C) ตองดูวา สมาชิกของ C นั้นอยูใ น P (C) กี่ตัว
เริ่มพิจารณาเรียงไปทีละตัว เริ่มจาก ∅ “อยู” (เพราะ ∅ เปนสับเซตของทุกเซต นอกจากนั้น
การเขียนเพาเวอรเซตใหเปนระเบียบยังมักจะเริ่มดวย ∅ ) ... ตอมา {∅} ก็ “อยู” อยูในขั้นตอนที่หยิบ
สมาชิกจาก C ไปหนึ่งตัว (เซตวางที่ปรากฏในนี้เปนสมาชิกตัวแรกสุดใน C ) หรือกลาววา “อยู” เพราะ
∅ ∈ C ... ตอมา 0 อันนี้ “ไมอยู” เพราะไมใชเซต สิ่งที่อยูใ นเพาเวอรเซตใดๆ ได ตองเปนเซต!... ตอมา
{{∅}, 0} อันนี้ “อยู” มาจากขั้นตอนที่หยิบสมาชิกจาก C ไปสองตัว (ในที่นี้เปนตัวสองกับตัวสาม) หรือ
กลาววา “อยู” เพราะ {∅} ∈ C และ 0 ∈ C ... ตอมา {∅, {0}} อันนี้ “ไมอยู” เพราะ {0} ∉ C ...
และสุดทาย {{∅, {0}}} อันนี้ก็ “อยู” เพราะวา {∅, {0}} ∈ C มาจากขั้นตอนที่หยิบสมาชิกจาก C ไป
หนึ่งตัว (เปนตัวที่หา) นั่นเอง
สรุปแลว สมาชิกของ C นั้นอยูใน P (C) 4 ตัว ดังนั้น n (P (C) − C) = 64 − 4 = 60
ตอบ
n (P (C) − C)
ค.
n (C − P (C))
ตอบ n (C − P (C)) ก็ไมไดคดิ จาก 6 − 64 ... แตตองดูวา สมาชิกของ P (C) นัน้ อยูใ น C กี่ตัว ซึ่งมี
วิธีคิดเชนเดียวกับขอ ข. คือได 4 ตัว หรือกลาววา n (C ∩ P (C)) = 4 ... ดังนั้น จึงทําให
n (C − P (C)) = 6 − 4 = 2
หากดูแผนภาพประกอบจะเขาใจยิ่งขึ้น
เราทราบวา (ขอ ก.) n (C) = 6 และ n (P (C)) = 64
จากนั้นนับในขอ ข. วา n (C ∩ P (C)) = 4
จึงได (ข.) n (C − P (C)) = 2 และ (ค.) n (P (C) − C) = 60
ง. n [(P (C) − C) ∪ (C − P (C))]
ตอบ จากขอ ข. กับ ค. (หรือจากแผนภาพ) ไดคําตอบเปน
(นํามาบวกกันไดทันที เพราะสองสวนนีไ้ มไดซอนทับกัน)
2
4
C
60
P(C)
60 + 2 = 62
แบบฝึกหัด 1.2
(11) กําหนดให้
A ∪ B = {0, 1, 2, 3, 4, 5}
A ∪ C = {0, 1, 2, 3, 5}
ก.
C'∪ B'
B ∩ C = {2, 3, 5}
A ∩ C = {0, 3, 5}
แล้ว ข้อใดผิด
ข. B ∩ C ' = {1}
ค. A ∩ C ' = {1}
A ∩ B ' = {0}
(12) ให้เขียนเซต
A ∩ B = {1, 3, 5}
ง.
แบบแจกแจงสมาชิก เมื่อกําหนดให้
เมื่อ I = เซตของจํานวนเต็ม
U = { x ∈ I | 1 < x < 10 }
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
B ∩ A ' = {2, 4}
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
B = {x | x
เซต
19
หาร 3 ลงตัว } และ
C = {x | x < 5}
(13) [Ent’38] ถ้า A = {0, 1} และ B = {0, {1}, {0, 1}} แล้ว
(13.1) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด A ∈ P (B)
(13.2) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด {1} ∈ P (A) ∩ P (B)
(13.3) ค่าของ n (P (A ∪ B)) − n (P (A ∩ B)) เป็นเท่าใด
(14) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(14.1) ∅ ' = U
(14.2) U ' = ∅
(14.3) A ⊂ (A ∪ B)
(14.4) B ⊂ (A ∪ B)
(14.5) (A ∩ B) ⊂ A
(14.6) (A ∩ B) ⊂ B
(14.7) A ∩ A ' = ∅
(14.8) A ∪ A ' = U
(14.9) A − U = ∅ และ U − A = A '
(14.10) A − ∅ = A และ ∅ − A = ∅
(14.11) A − A = ∅
(14.12) A − B = A ∩ B '
(15) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(15.1) ถ้า A ⊂ B แล้ว P (A) ⊂ P (B)
(15.2) ถ้า A ∪ B = ∅ แล้ว A = ∅ และ B = ∅
(15.3) ถ้า A ∩ B = ∅ แล้ว A = ∅ และ B = ∅
(15.4) ถ้า A − B = ∅ และ B − C = B แล้ว A ' ∪ C ' = U
(15.5) ถ้า A − B = ∅ และ B − C ≠ ∅ แล้ว A − C ≠ ∅
(16) สําหรับเซต A, B ใดๆ ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(16.1) A ∩ B ≠ A ∪ B
(16.5) ถ้า
(16.6) ถ้า
(16.2) A − B ≠ B − A
(16.7) ถ้า
(16.3) A ∩ B = A − B '
(16.8) ถ้า
(16.4) (A ∪ B) ' = B '− A
(17) เขียนเซตต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปที่สั้นที่สุด
(17.1) A − (A ∩ B)
(17.2) (A − B) ∪ B
(17.3) (A − B) ∩ B
(17.4) A ∩ (A − B)
(17.5) A ∪ (A − B)
x ∉ A
x ∈ A
x ∉ A
x ∈ A
A −B = A
อย่างน้อย 3 กรณี
Math E-Book Release 2.2.04
x ∉ A ∪B
x ∉ A '∩B'
x ∈ A '∩B'
x ∈ (A ' ∪ B ') '
(17.6) (A ∪ B) − B
(17.7) (A ∩ B) − B
(17.8) A − (A − B)
(17.9) (A − B) ∩ (B − A ')
(18) ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่
(18.1) ถ้า A ∪ C = B ∪ C แล้ว A = B
(18.2) ถ้า A ∩ C = B ∩ C แล้ว A = B
(18.3) ถ้า A − C = B − C แล้ว A = B
(18.4) ถ้า A ' = B ' แล้ว A = B
(19) ให้บอกเงื่อนไขที่ทําให้
แล้ว
แล้ว
แล้ว
แล้ว
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
20
(20) เขียนเซตต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปที่สั้นที่สุด
(20.1) [Ent’21] (A − B) ∪ (B − A) ∪ (A ∩ B)
(20.2) [A ∩ (A '∪ B)] ∪ [B ∩ (B '∪ A ')]
(20.3) ([(A − B) ∪ (B − A)] − A ') ∪ ( A '− [(A − B) ∪ (B − A)])
(20.4) [(A ∪ B) '∩ (B − C ')] ∪ ([(D − E) ∩ (C '− E ')] ∪ (A − E ')) '
(21) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(21.1) (A ∩ B ∩ C) ∪ (A '∩ B ∩ C) ∪ (B '∪ C ') = U
(21.2) (A ∩ B ∩ C ∩ D ') ∪ (A '∩ C) ∪ (B '∩ C) ∪ (C ∩ D) =
(21.3) P (A ∩ B) ⊂ P (A ∪ B)
(21.4) P (A − B) ∩ P (B − A) = {∅}
(21.5) ถ้า A ⊂ B แล้ว P (A ∪ B) = P (A) ∪ P (B)
C
(22) ให้ A = {0, 1, 2, 3} , B = {{0}, 1, 2, {3}} และ C = {0, {1}, {2}, 3}
ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(22.1) P (A) ∩ P (B) ∩ P (C ') = {∅, {1}, {2}, {1, 2}}
(22.2) P (A) ∩ P (B ') ∩ P (C) = {∅, {0}, {3}, {0, 3}}
(22.3) P (A ') ∩ P (B) ∩ P (C) = {∅, {0}}
(22.4) P (A) ∩ P (B ') ∩ P (C ') = {∅}
(23) ถ้า n (U) = 35 , n (A) = 22 , n (B) = 18
ให้หาว่า n (A '∩ B ') จะมีค่ามากที่สุดได้เท่าใด
(24) ถ้า
n (A) = a , n (B) = b , n (C) = c , n (D) = d
n (A ∩ B) = b , n (B ∩ C) = c , n (C ∩ D) = d
ให้หา
n (A ∩ B ∩ C ∩ D)
(25) ให้
C ⊂ A,
A, B, C
และ
เป็นเซตซึ่ง
n (A ∪ B ∪ C ∪ D)
P (C) = {∅, {a}, {c}, C} , n (P (A)) = 8 , n (P (B)) = 16 ,
C ⊂ B , {b, d, e} ⊂ A ∪ B
ก.
ค.
แล้ว
และ
b ∈ A ∩B '
d ∈ (A ∪ B ') '
ข.
ง.
b ∉ (A ' ∪ B ') '
(26) เมื่อ A = {∅, 1, {1}} และ A ∩ B '
(26.1) n [ P (A) ∩ P (B) ] = 8
(26.2) {1} ∈ P (A ∩ B)
= ∅
ข้อใดผิด
e ∈ (C ∪ B ') '
{b, e} ⊂ (A '∪ B) '
แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(26.3) P (A − B) = {∅}
(26.4) P (B − A) = {∅}
(27) [Ent’36] ถ้า A = {∅, {∅}, 0, {0}, {1}, {0, 1}} แล้ว
จงหาจํานวนสมาชิกของเซต [ P (A) − A ] ∪ [ A − P (A) ]
(28) มีเซต A ที่ตรงตามเงื่อนไขต่อไปนี้กี่แบบ
(28.1) A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {1, 3, 5}
(28.2) A ∪ B = {1, 2, 3, ..., 15} และ B = {2, 4, 6, 8, 10}
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(29) กําหนดให้ A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} และ
จะมีเซต X ตามเงื่อนไขต่อไปนี้ได้กี่แบบ
(29.1) B ⊂ X ⊂ A
(29.2) X ⊂ A และ B ∩ X ≠ ∅
B ⊂ A
(30) ถ้า
(30.1)
(30.2)
โดย
เซต
21
B = {1, 2, 3}
n (A) = 10 , n (B) = 4
แล้ว
n (C)
ให้หาค่า
ในแต่ละข้อต่อไปนี้
C = {S |B ⊂ S ⊂ A}
C = {S ⊂ A | S ∩B ≠ ∅}
(31) กําหนด A = {0, 2, 4, 6, 8}
B = {0, 1, 2}
C = {1, 2, 3}
ให้หาจํานวนเซต X ซึ่ง X ⊂ A และตรงตามเงื่อนไขต่อไปนี้
(31.1) B ∩ C ' ⊂ X
(31.3) B ∩ D ⊂
(31.4) B ∩ D ⊄
(31.2) B ∩ C ' ⊄ X
(32) ถ้า
และ C = {1, 7}
ที่เป็นไปได้กี่แบบที่ตรงตามเงื่อนไข (B '− C) ⊂ D
D
X
X
U = {1, 2, 3, 4, ..., 8}
A = U − {1}
มีเซต
D = {0, 2, 3}
(33) กําหนดให้
B = {2, 4, 6}
U = { x ∈ I | −2 < x < 6 }
2
A = {k | k ∈ U }
และ
จํานวนสมาชิกของเซต
B = {
เมื่อ
⊂ A
I =
เซตของจํานวนเต็ม
k |k ∈ U}
C = {x | A ∩B ⊂ x
และ
x ⊂ A ∪B}
เป็นเท่าใด
(34) ให้ A = {a, b, c, d, f} และ B = {a, c, d, e}
เซต X ซึ่ง X ⊂ A ∪ B และ A ∩ B ∩ X ≠ ∅ มีกี่เซต
(35) ให้ A = {1, 3, 5, 7, 9} และ Sk = { B ⊂ A | n (B) =
ให้หาค่า n (S) เมื่อ S = S1 ∪ S2 ∪ S3 ∪ S4 ∪ S5
(36) กําหนดเซต A, B เป็นสับเซตของ U หาก n (U) =
n (A ∩ B ') = 32 แล้วค่าของ n (A '∩ B ') เป็นเท่าใด
k}
100 , n (A ') = 40 , n (B) = 55 ,
1.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเซต
โจทย์ปัญหาที่เป็นเหตุการณ์ จะใช้แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ ช่วยในการคํานวณส่วนประกอบต่างๆ
และมีสูตรในการหาจํานวนสมาชิกในเซตเพิ่มเติมดังนี้
•
·íÒ¤ÇÒÁe¢Ò㨴ÇÂÃÙ»ÀÒ¾¡ç´Õ¹a¤Ãaº..
สําหรับ 2 เซต
n (A ∪ B) = n (A) + n (B) − n (A ∩ B)
=
+
-
สําหรับ 3 เซต
n (A ∪ B ∪ C) = n (A) + n (B) + n (C) − n (A ∩ B)
− n (A ∩ C) − n (B ∩ C) + n (A ∩ B ∩ C)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
=
+
- -
+
-
+
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
22
•
ตัวอยาง จากการสอบถามนักเรียนหองหนึ่งซึ่งมีจํานวน 30 คน พบวามีนกั เรียนชอบเรียนวิชา
คณิตศาสตร 12 คน ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 15 คน โดยชอบทัง้ สองวิชาอยู 5 คน ถามวามีนักเรียนใน
หองนี้ที่ไมชอบเลยทั้งสองวิชาอยูก ี่คน
วิธีคิด จะสังเกตไดวา U คือนักเรียนในหองนี้ และมีเซตอยูสองเซต คือ ชอบเรียนคณิตศาสตร กับชอบ
เรียนภาษาอังกฤษ (ซึ่งมีบางคนชอบทั้งสองวิชา แสดงวาสองเซตนีม้ ีสวนซอนทับกัน)
U
ก
ข
ค
Math
Eng
ง
วิธีที่ 1 “ชอบทั้งสองวิชาอยู 5 คน” จะได ชอง ข เปน 5
“ชอบเรียนคณิตศาสตร 12 คน” จะได ชอง ก เปน 12-5=7
“ชอบเรียนภาษาอังกฤษ 15 คน” จะได ชอง ค เปน 15-5=10
ดังนั้น จํานวนคนที่ไมชอบเลยทั้งสองวิชา คือชอง ง นั้น
สามารถคํานวณไดดังนี้ 30-5-7-10 = 8 คน ... ตอบ
วิธีที่ 2 ขอมูลที่โจทยใหมาไดแก n (M) = 12 , n (E) = 15 , และ n (M ∩ E) = 5 …
ดังนั้น เราหา n (M ∪ E) ไดตามสูตร n (M ∪ E) = 12 + 15 − 5 = 22
ดังนั้น จํานวนคนที่ไมชอบเลยทั้งสองวิชา เทากับ 30 − 22 = 8 คน ... ตอบ
•
ตัวอยาง ในการสอบของนักเรียนชั้นหนึ่ง พบวามีผูสอบผานวิชาคณิตศาสตร 37 คน วิชาสังคมศึกษา 48
คน วิชาภาษาไทย 45 คน โดยมีผูที่สอบผานทั้งวิชาคณิตศาสตรและสังคมศึกษา 15 คน ทั้งสังคมศึกษาและ
ภาษาไทย 13 คน ทั้งคณิตศาสตรและภาษาไทย 7 คน และมีผทู ี่สอบผานทั้งสามวิชาเพียง 5 คน ถามวาที่
กลาวมานี้มีนักเรียนอยูทั้งหมดจํานวนเทาใด
วิธีคิด มีเซตอยูสามเซต คือ สอบผานคณิตศาสตร สอบผานสังคมศึกษา และสอบผานภาษาไทย (ซึ่งมี
ผูสอบผานหลายวิชา แสดงวาสามเซตนีม้ ีสวนซอนทับกัน) โจทยไมไดกลาวถึงผูสอบไมผาน ดังนั้นอาจไม
ตองเขียนกรอบสี่เหลี่ยมแทน U ก็ได (คือไมมีชอง ซ)
Social วิธีที่ 1 “ผานทั้งสามวิชาอยู 5 คน” จะได ชอง จ เปน 5
Math
พิจารณาการสอบผานสองวิชา จะได ชอง ข เปน 15-5=10,
ก ข
ค
ชอง ฉ เปน 13-5=8, ชอง ง เปน 7-5=2
จ
ง
ฉ
พิจารณาการสอบผานหนึ่งวิชา จะได ชอง ก 37-10-5-2=20,
ชอง ค 48-10-5-8=25, และชอง ช 45-2-5-8=30
ช
Thai
ดังนัน้ จํานวนคนรวมทุกชอง 5+10+8+2+20+25+30 = 100 คน ตอบ
วิธีที่ 2 ขอมูลที่โจทยใหมาไดแก n (M) = 37 , n (S) = 48 , n (T) = 45
n (M ∩ S) = 15 , n (S ∩ T) = 13 , n (M ∩ T) = 7 และ n (M ∩ S ∩ T) = 5 …
ดังนั้น เราหา n (M ∪ S ∪ T) ไดจาก n (M ∪ S ∪ T) = 37 +48 + 45−15−13 −7 +5
ดังนั้น จํานวนนักเรียนทั้งหมดในชั้น (ที่กลาวถึง) เทากับ 100 คน ... ตอบ
= 100
ถึงแม้การคิดด้วยสูตร (วิธีที่สอง) ทําให้คํานวณได้รวดเร็ว แต่โจทย์บางข้อก็เหมาะกับวิธีแรก (แยก
ชิ้นส่วน) เท่านั้น ดังเช่นโจทย์ส่วนใหญ่ในแบบฝึกหัดต่อไป
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
23
แบบฝึกหัด 1.3
(37) นักเรียน 80 คน เป็นนักกีฬา 35 คน เป็นนักดนตรี 27 คน และไม่ได้เป็นทั้งนักกีฬาและนัก
ดนตรี 32 คน ถามว่ามีนักเรียนที่ไม่ได้เป็นนักกีฬา หรือ ไม่ได้เป็นนักดนตรี อยู่กี่คน
(38) [Ent’33] จากการสํารวจนักเรียนห้องหนึ่ง พบว่ามี 20 คนที่เรียนฝรั่งเศสหรือคณิตศาสตร์
(โดยที่หากเรียนฝรั่งเศสแล้วต้องไม่เรียนคณิตศาสตร์) มี 17 คนที่ไม่เรียนคณิตศาสตร์ และมี 15
คนที่ไม่เรียนฝรั่งเศส แล้วมีกี่คนที่ไม่เรียนทั้งสองวิชานี้เลย
(39) [Ent’34] จากการสอบถามผู้ดื่มกาแฟ 20 คน พบว่าจํานวนผู้ใส่ครีม น้อยกว่าสองเท่าของผู้ใส่
น้ําตาลอยู่ 7 คน และจํานวนผู้ที่ใส่ทั้งครีมและน้ําตาล เท่ากับจํานวนผู้ที่ไม่ใส่ทั้งครีมและน้ําตาล
ดังนั้นมีผู้ที่ใส่ครีมทั้งหมดกี่คน
(40) พนักงานบริษัท 34 คน ถูกสํารวจเกี่ยวกับการสวมนาฬิกา แว่นตา และแหวน ปรากฏว่าสวม
แว่นอย่างเดียว 5 คน จํานวนคนสวมนาฬิกามากกว่าจํานวนคนสวมแว่นตาอยู่ 1 คน จํานวนคนไม่
สวมนาฬิกาเป็น 3 เท่าของจํานวนคนสวมแหวน นอกจากนั้น คนสวมแหวนทุกคนสวมแว่น แต่คน
สวมนาฬิกาไม่มีคนใดสวมแว่น จะมีคนสวมนาฬิกากี่คน
(41) [Ent’26] นักเรียนคนหนึ่งไปพักผ่อนที่พัทยา ตลอดช่วงเวลานั้นเขาสังเกตได้ว่ามีฝนตก 7 วัน
ในช่วงเช้าหรือเย็น โดยถ้าวันใดฝนตกช่วงเช้าแล้วจะไม่ตกในช่วงเย็น, มี 6 วันที่ฝนไม่ตกในช่วงเช้า
และมี 5 วันที่ฝนไม่ตกในช่วงเย็น ถามว่านักเรียนคนนี้ไปพักผ่อนที่พัทยากี่วัน
(42) จากการสํารวจสายตาและสุขภาพฟันของนักเรียน 160 คน ซึ่งมีนักเรียนชายอยู่ 100 คน
(นักเรียนชายสายตาไม่ดี 30 คน และฟันผุ 35 คน) พบว่ามีนักเรียนที่สายตาดีและฟันไม่ผุอยู่ 80
คน (เป็นชาย 55 คน) และมีนักเรียนที่สายตาไม่ดีทั้งหมด 50 คน ฟันผุทั้งหมด 60 คน ถามว่ามี
นักเรียนที่สายตาดี หรือ ฟันไม่ผุ รวมทั้งหมดกี่คน
(43) ในจํานวนนักเรียน 35 คนซึ่งเป็นหญิง 11 คน ถ้าพบว่าชอบเล่นบาสเกตบอลกับฟุตบอลอย่าง
น้อยคนละอย่าง โดยมีนักเรียนชาย 16 คนชอบบาสเกตบอล นักเรียนหญิง 7 คนชอบฟุตบอล
นักเรียนชอบบาสเกตบอลทั้งหมด 23 คน ฟุตบอล 21 คน ถามว่านักเรียนชายที่ชอบทั้งสองอย่างมีกี่
คน
(44) โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนชาย 600 คน หญิง 500 คน ในจํานวนนี้มีนักเรียนที่มาจาก
ต่างจังหวัดรวม 300 คน เป็นผู้ชาย 200 คน และมีนักกีฬารวม 50 คน เป็นผู้ชาย 30 คน โดยมี
นักกีฬาที่มาจากต่างจังหวัด 25 คน เป็นชาย 15 คน ถามว่านักเรียนชายที่ไม่ได้มาจากต่างจังหวัด
และไม่ได้เป็นนักกีฬาด้วย มีกี่คน
(45) เซตของจํานวนเต็มเซตหนึ่ง หากนํา 3 หรือ 4 ไปหารจะปรากฏว่า 4 หารลงตัวอย่างเดียว 6
จํานวน, 3 หารลงตัวทั้งหมด 8 จํานวน ซึ่งเป็นจํานวนคู่ 3 จํานวน, ทั้ง 3 และ 4 หารลงตัว มี 2
จํานวน, และ 4 หารไม่ลงตัว 18 จํานวน ซึ่งเป็นจํานวนคู่ 4 จํานวน ถามว่าจํานวนสมาชิกของเซตนี้
เป็นเท่าใด, จํานวนคู่ในเซตนี้มีกี่จํานวน, และมีจํานวนที่ 3 หรือ 4 หารไม่ลงตัวกี่จํานวน
(46) [Ent’31] จากการสํารวจความนิยมของผู้ไปเที่ยวสวนสัตว์ 100 คน พบว่า 50 คนชอบช้าง, 35
คนชอบลิง, 25 คนชอบหมี, 32 คนชอบแต่ช้าง, 20 คนชอบหมีแต่ไม่ชอบลิง, 10 คนชอบช้างและลิง
แต่ไม่ชอบหมี, ให้หาจํานวนคนที่ไม่ชอบสัตว์ทั้งสามชนิดนี้เลย
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
24
(47) [Ent’38] จากการสํารวจผู้ฟังเพลง 180 คน พบว่ามีผู้ชอบเพลงไทยสากล 95 คน เพลงไทย
เดิม 92 คน และลูกทุ่ง 125 คน โดยแบ่งเป็น ผู้ชอบเพลงไทยสากลและไทยเดิม 52 คน เพลงไทย
สากลและลูกทุ่ง 43 คน เพลงไทยเดิมและลูกทุ่ง 57 คน และทุกคนจะชอบฟังเพลงอย่างน้อยหนึ่งใน
สามประเภท จงหาจํานวนผู้ที่ชอบเพลงไทยสากลเพียงอย่างเดียว
(48) [Ent’39] ในการสํารวจความนิยมของคน 100 คน ที่มีต่อนาย
U
ก, ข, ค โดยทีท่ ุกคนต้องแสดงความนิยมให้อย่างน้อย 1 คน ปรากฏ
ว่านาย ก ได้รับคะแนนนิยมมากกว่านาย ข อยู่ 6 คะแนน และเขียน
ก
แผนภาพได้ดังรูป ต่อไปนี้ข้อใดผิด
ก. นาย ข ได้คะแนนนิยมน้อยที่สุด
ข. ผลรวมของคะแนนทั้งสามคน เป็น 199
ค. ผู้ที่ลงคะแนนให้ นาย ก เท่านั้น มี 10 คน
ง. ผลรวมของคะแนนที่ลงให้คนใดคนหนึ่งเพียงคนเดียว เท่ากับ 24
ข
20
22 23 11
9
ค
(49) ในบรรดานักกีฬา 100 คนซึ่งเป็นชาย 60 คน พบว่ามีนักบาสเกตบอล 35 คน เป็นชาย 20
คน, มีนักเทนนิส 28 คน เป็นชาย 15 คน, มีนักวอลเลย์บอล 40 คน เป็นชาย 22 คน, เป็นทั้งนัก
บาสเกตบอลและเทนนิส 14 คน เป็นชาย 6 คน, เป็นทั้งนักเทนนิสและวอลเลย์บอล 16 คน เป็น
ชาย 10 คน, เป็นทั้งนักบาสเกตบอลและวอลเลย์บอล 20 คน เป็นชาย 11 คน, และมีนักกีฬาที่ไม่ได้
เล่นกีฬาสามประเภทนี้เลย 12 คน เป็นชาย 8 คน ให้หาว่านักกีฬาที่เล่นครบทั้งสามประเภทมีผู้ชาย
มากกว่าผู้หญิงกี่คน
(50) จํานวนเต็มตั้งแต่ 0 ถึง 100 มีกี่จํานวนที่หาร 2 และ 3 และ 5 ไม่ลงตัว
เฉลยแบบฝึกหัด (คําตอบ)
(1) ข้อ (1.1) และ (1.4) ถูก
(2) ข้อ (2.1) และ (2.3) ถูก
(3) ข้อ (3.1) ถูก
(4) ข้อ (4.3) ผิด
(5) ข้อ (5.1) และ (5.4) ถูก
(6) 9 ตัว, 126 เซต
(7) ข้อ (7.1) และ (7.7) ผิด
(8) ข้อ (8.6), (8.8), (8.10) ผิด
(9) ข้อ (9.3) ผิด
(10) 32, 6
(11) ข.
(12) {1, 2, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
(13) ผิด, ผิด, 16-2
(14) ถูกทุกข้อ
(15) ข้อ (15.3) และ (15.5) ผิด
(16) ข้อ (16.3),(16.4),(16.6) ถูก
(17.1) A − B (17.2) A ∪ B
(17.3) ∅ (17.4) A − B
(17.5) A (17.6) A − B
(17.7) ∅ (17.8) A ∩ B
(17.9) ∅
(18) ข้อ (18.4) ถูก
(19) A = ∅ หรือ B = ∅
หรือ A ∩ B = ∅
(20.1) A ∪ B (20.2) B
(20.3) B ' (20.4) (A ∩ E) '
(21) ถูกทุกข้อ (22) ข้อ (22.3) ผิด
(23) 13 (24) d, a (25) ง.
(26) ข้อ (26.4) ผิด
(27) 61+3
(28.1) 8 (28.2) 32
Math E-Book Release 2.2.04
(29.1) 16
(29.2) (8 − 1)× 16
(30.1) 64
(30.2) (16 − 1)× 64
(31.1) 16 (31.2) 16
(31.3) 8 (31.4) 24
(32) 16 (33) 4
(34) 56 (35) 31
(36) 13 (37) 66
(38) 6 (39) 11
(40) 13 (41) 9
(42) 130 (43) 6
(44) 385
(45) 26, 12, 24
(46) 13 (47) 20
(48) ค. (49) 22-13
(50) 26
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เซต
25
เฉลยแบบฝึกหัด (วิธีคดิ )
(1.1) ถูก เพราะ ถ้า x ∈ A
แสดงว่า x ∈ B ด้วย ดังรูป
A
(1.2) ผิด เพราะโจทย์บอกแค่
x
เพียง y ∈ B , ยังไม่ชัดเจนว่า
B
y ∈ A หรือไม่ (อาจจะอยู่หรือไม่อยู่)
(1.3) ผิด ถ้า {A} ⊂ {B} แสดงว่า A ∈ {B} ซึ่ง
ผิด เพราะ {B} มีสมาชิกตัวเดียวคือ B
(1.4) ถูก เพราะ A ≠ B (โจทย์กําหนด) ดังนั้น
{A} ≠ {B} แน่นอน
(2.1) ถูก (ในโจทย์นั้น A มีสมาชิกอยู่ 5 ตัว และ
{∅} เป็นสมาชิกอยู่ในลําดับแรกสุด)
(2.2) ผิด เพราะ {∅} ⊂ A แปลว่า ∅ ∈ A ซึ่งไม่
จริง
(2.3) ถูก เพราะ {{a}, b} ⊂ A แปลว่า {a} ∈ A
และ b ∈ A ซึ่งจริง
(2.4) {a, b} ∈ A ถูก (เป็นสมาชิกอยู่ในลําดับ
สุดท้ายในโจทย์) แต่ {a, b} ⊄ A นัน้ ผิด
เพราะว่า a ∈ A และ b ∈ A ด้วย แสดงว่า
{a, b} เป็นสับเซตของ A แน่ๆ ดังนั้นตอบ ผิด
(3.1) ถูก (ข้อนีเ้ ป็นกฎที่ควรทราบ)
(3.2) ผิด เช่น B = {A}, C = {B} ดังนั้น
C = {{A}} ... จึงได้วา่ A ∉ C
(3.3) ผิด เช่น A ⊂ C (A อยู่ใน C)
แต่ B อยู่นอก A กับ C ดังรูป
A
(7.1) ผิด เพราะเซตว่างตัวขวาต้องไม่มีสมาชิก
→ แต่ถ้าเป็นแบบข้อ (7.3) จะถูก
(7.2) ถูก เพราะว่าเซตว่างตัวขวามีซับเซต 20 = 1
แบบ คือ ∅ (ตัวมันเอง)
หรืออาจบอกว่าเพราะ “ ∅ (ตัวซ้าย) จะเป็นสับเซต
ของเซตใดๆ ทุกเซต” ก็ได้
(7.4) ถูก เหตุผลเดียวกับข้อ (7.2) นั่นคือ รูปแบบ
∅ ⊂ , จะถูกเสมอ → ดังนั้น (7.6) ก็ถก
ู เช่นกัน
(7.5) ถูก เพราะ ∅ ∈ P(∅) แปลว่า ∅ ⊂ ∅ (จะ
เหมือนกับโจทย์ขอ้ 7.2)
(7.7) ผิด เพราะ {∅} ∈ P(∅) แปลว่า {∅} ⊂ ∅
และแปลว่า ∅ ∈ ∅ (จะเหมือนกับโจทย์ขอ้ 7.1)
(7.8) ถูก เพราะ {∅} ⊂ P(∅) แปลว่า ∅ ∈ P(∅)
และแปลว่า ∅ ⊂ ∅ ถูก (จะเหมือนกับโจทย์ข้อ
7.2)
(8.1) ∅ ∈ P(A) แปลว่า ∅ ⊂ A → ถูกเสมอ ไม่
ว่า A เป็นเซตใดๆ ก็ตาม (รูปแบบ ∅ ⊂ , )
(8.2) {∅} ∈ P(A) แปลว่า {∅} ⊂ A และแปลว่า
∅ ∈ A → ถูก (เพราะในโจทย์ มี ∅ อยู่ใน A
ด้วย)
(8.3) ∅ ⊂ P(A) ถูกทันทีเลย! เพราะเป็นรูปแบบ
B
C
(4.1) และ (4.2) ถูก
(เป็นไปตามนิยามของการเขียนเงือ่ นไขเซต)
(4.3) ผิด เพราะ {x} ⊂ A คือ x ∈ A จึงต้อง
ได้ผลเหมือนข้อ (4.2)
(4.4) ถูก เพราะ {x} ⊂ ∅ คือ x ∈ ∅ ซึ่งพบว่า
ไม่มี x ใดๆ ตรงตามนี้ ดังนั้นเซตในข้อนี้จงึ เป็นเซต
ว่าง
(5.1) ถูก คํานวณจาก 25 = 32 ... แต่ (5.2) ผิด
เพราะต้องเหลือ 31 แบบ (25 − 1)
(5.3) ผิด เพราะ P(A) จะมีเพียง 1 แบบเท่านัน้
แต่ภายใน P(A) มีสมาชิกอยู่ 32 ตัว... (5.4) จึงถูก
(6) จาก 2n = 512 จึงได้ n = 9 ตัว
และสับเซตทีด่ ึงสมาชิกมา 5 ตัวจาก 9 ตัว มีอยู่
9!
= 126 เซต (แบบ)
และแปลได้วา่ ∅ ∈ A และ a ∈ A และ {b} ∈ A
ซึ่งพบว่าเป็นจริงทั้งหมด
(8.6) เป็นไปไม่ได้ทสี่ มาชิกของ P(A) ไม่ได้เป็นเซต
→ ข้อนี้จงึ ผิด
(8.7) {a} ∈ P(A) แปลว่า {a} ⊂ A แปลว่า
a ∈ A → ถูก
(8.8) {b} ∈ P(A) แปลว่า {b} ⊂ A แปลว่า
b ∈ A → ผิด
(8.9) ถูก วิธคี ิดเดียวกับข้อ (8.8) นั่นคือ {b} ∈ A
เป็นจริง
(8.10) {∅, a, {b}} ⊂ P(A) แปลว่า ∅ ∈ P(A)
จริง, a ∈ P(A) ไม่จริง, {b} ∈ P(A) ไม่จริง ดังนั้น
ข้อนีผ้ ิด
∅ ⊂
,
(8.4) {∅} ⊂ P(A) แปลว่า ∅ ∈ P(A) ตรงกับ
โจทย์ขอ้ (8.1) ซึ่งถูก
(8.5) ถูก เพราะ {∅, a, {b}} ∈ P(A) แปลว่า
{∅, a, {b}} ⊂ A
5! 4!
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(9.1)
{∅, {1}, {1, 2}} ∈ P(A)
{∅, {1}, {1, 2}} ⊂ A
เซต
26
แปลว่า
แปลว่า ∅ ∈ A และ {1} ∈ A และ {1, 2} ∈ A
เป็นจริงทัง้ หมด ดังนัน้ ข้อนี้ถูก
(9.2) {∅, {1}, {1, 2}} ⊂ P(A) แปลว่า
∅ ∈ P(A) → ∅ ⊂ A และ
{1} ∈ P(A) → {1} ⊂ A → 1 ∈ A
(13.1) A ∈ P(B) คือ A ⊂ B ดังนั้น ผิด
(เพราะ 1 ∉ B )
ซึ่ง (13.2) จาก P(A) ∩ P(B) = P(A ∩ B)
ิ
= P({0}) = {∅, {0}} ดังนั้น ข้อนี้ก็ผด
(เพราะ {1} ∉ P(A) ∩ P(B) )
(13.3) A ∪ B = {0, 1, {1}, {0, 1}} จะได้
และ {1, 2} ∈ P(A) → {1, 2} ⊂ A → 1 ∈ A, 2 ∈ A
ซึ่งพบว่าเป็นจริงทุกอย่าง ดังนัน้ ข้อนี้ถูก
(9.3) {{1}, {2}, {3}} ∈ P(A) แปลว่า
{{1}, {2}, {3}} ⊂ A และแปลว่า
{1} ∈ A, {2} ∈ A, {3} ∈ A ซึ่งผิด
(9.4) {{1}, {2}, {3}} ⊂ P(A) แปลว่า
n(P(A ∪ B)) = 24 = 16
A ∩ B = {0}
จะได้
n(P(A ∩ B)) = 21 = 2
ดังนัน้ ตอบ 16 − 2 = 14
(14.1) และ (14.2) ถูก เพราะ U กับ ∅ เป็น
ส่วนเติมเต็ม (complement) ของกันและกัน
(14.3) ถึง (14.6) ถูกทั้งหมด พิจารณาจาก
แผนภาพจะง่ายที่สดุ
(14.7) และ (14.11) A − A = ∅ ถูก
{1} ∈ P(A), {2} ∈ P(A), {3} ∈ P(A)
ก็คือ {1} ⊂ A, {2} ⊂ A, {3} ⊂ A หรือแปลอีกที (14.8) ถึง (14.10) ถูก ... (14.12) ถูก (ต้อง
รู้!)
1 ∈ A, 2 ∈ A, 3 ∈ A ซึ่งถูก
(10) สําหรับการหา n(X) แปลว่า “ให้หาว่ามีเซต (15.1) ถูก (เป็นสิ่งที่ควรทราบ)
(15.2) ถูก A ∪ B = ∅ แสดงว่าต้องไม่มีเซตใดมี
A ที่เป็นไปได้กี่แบบตามเงือ
่ นไขนี”้
สมาชิกอยู่เลย
(ก) A ∈ P(S) (แปลว่า A ⊂ S )
กับ (ข) 1 ∈ A และ 7 ∉ A (แปลว่าใน A ต้องมี 1 (15.3) ผิด ถ้า A กับ B ไม่มีสมาชิกร่วมกัน ก็
สามารถทําให้ A ∩ B = ∅ ได้ หรือเมือ่ A กับ B
และต้องไม่มี 7)
แสดงว่า มีเฉพาะ 2, 3, 4, 5, 6 เท่านั้นที่เลือกได้ ว่า เป็นเซตว่าง เพียงเซตใดเซตหนึ่งก็ได้
(15.4) A − B = ∅ แสดงว่า A ⊂ B
จะอยูห่ รือไม่อยู่ใน A ... ก็เปรียบเสมือนการหา
จํานวนสับเซตแบบต่างๆ ของ {2, 3, 4, 5, 6} ..ฉะนั้น B − C = B แสดงว่า B กับ C แยกจากกัน
(B ∩ C = ∅) ดังรูป
n(X) = 25 = 32
A
ส่วน n(Y) ให้หาว่ามี A เป็นไปได้กี่แบบ ซึ่ง A ∈ X
และผลบวกไม่เกิน 6
C
B
วิธีคดิ ต้องนับเอาโดยตรงเท่านัน้ ได้แก่
ดังนัน้ A ' ∪ C ' = (A ∩ C) ' = ∅ ' = U ถูก
{1} {1, 2} {1, 3} {1, 4} {1, 5} และ {1, 2, 3}
(เพราะ A กับ C ก็แยกจากกัน)
พบว่ามี A ที่เป็นไปได้ 6 แบบ ..ฉะนั้น n(Y) = 6 (15.5) A − B = ∅ แปลว่า A ⊂ B
(11) จาก A ∩ B, A ∩ C, B ∩ C จะทําให้ทราบว่า B − C ≠ ∅ แปลว่า B ⊄ C
A ∩ B ∩ C = {3, 5} จากนัน
้ วาดแผนภาพ
A − C ≠ ∅ แปลว่า A ⊄ C
B จาก A ∪ C = {0, 1, 2, 3, 5} ดังนัน้ เปลี่ยนโจทย์กลายเป็น
1 4
แสดงว่าใน A กับ C ส่วนที่ " A ⊂ B และ B ⊄ C
35
A
A
เหลือไม่มีสมาชิกใดเลย และ แล้ว A ⊄ C " อันนี้เท็จ
0 2
C
4 ∈ B ดังนัน
้
เช่น รูปนี้ A ⊂ C ได้
B
ก. A − B = {0} ถูก
C
(16.1) ผิด เช่นถ้า A = B จะได้
ข. B − C = {1} ผิด ..ต้องได้ {1, 4}
A ∩ B = A ∪ B = A = B ด้วย
(16.2) ผิด เช่นถ้า A = B จะได้
ค. A − C = {1} ถูก
A −B = B−A = ∅
ง. B − A = {2, 4} ถูก
(16.3)
ถูกเสมอ มาจากกฎ
(12) U = {1, 2, 3, ..., 10} → B = {3, 6, 9} และ
A − B ' = A ∩ (B ') ' = A ∩ B
C = {1, 2, 3, 4, 5} ต้องการหาเซต C ' ∪ B ' ก็คอ
ื
(16.4) B '− A = B '∩ A ' = (B ∪ A) ' ถูก
(C ∩ B) ' ซึ่งเราได้ C ∩ B = {3} ดังนัน
้ ตอบ
(16.5)
ผิด x อาจมาจากใน B ก็ได้
{1, 2, 4, 5, 6, 7, ..., 10}
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
27
(16.6) A ' ∩ B ' = (A ∪ B) '
ถ้า x ∈ A แล้ว x ∉ (A ∪ B) ' ..ถูก
(16.7) ถ้า x ∉ A แล้ว x ∈ (A ∪ B) ' ..ผิด
( x อาจอยู่ใน B ได้)
(16.8) ถ้า x ∈ A แล้ว x ∈ A ∩ B ..ผิด
( x อาจอยู่เพียงใน A โดยไม่อยู่ใน B )
(17) ใช้การมองจากแผนภาพจะง่ายทีส่ ุด
(แผนภาพจะต้องเป็นแบบทั่วไป คือมีส่วนซ้อนทับกัน)
(20.4) มีถึง 5 เซต จึงต้องใช้การแจกแจงช่วยคิด
(วาดแผนภาพไม่ได้)
ก้อนซ้ายได้ A '∩ B
'∩B∩C = ∅
U
ก ข
A
(17.1)
A−B
ค
B
∅
ก้อนกลางได้
D ∩ E ' ∩ C '∩ E = ∅
∅
ก้อนขวาได้ A ∩ E
รวมกันได้ ∅ ∪ (∅ ∪ (A ∩ E)) ' = (A ∩ E) '
(21.1) จากโจทย์ ดึง B ∩ C ออกจากสองวงเล็บ
แรก
= [(A ∪ A ' ) ∩ B ∩ C] ∪ (B ∩ C) '
U
ง
A−B
A∩B
A − (A ∩ B) ⇒ กข
เซต
= (B ∩ C) ∪ (B ∩ C) ' = U
–
B−A
ข=ก ⇒
C
= C ∩ [(A ∩ B ∩ D ') ∪ A '∪ B '∪ D]
(21.2) จากโจทย์ ดึง
ตอบ
(17.2) (A − B) ∪ B ⇒ ก ∪ ขค = กขค ⇒
ตอบ A ∪ B
(17.3) (A − B) ∩ B ⇒ ก ∩ ขค = ∅
ข้ออืน่ ๆ ก็สามารถคิดด้วยวิธีเดียวกัน ได้คําตอบดังนี้
(17.4) A ∩ (A − B) = A − B
(17.5) A ∪ (A − B) = A
(17.6) (A ∪ B) − B = A − B
(17.7) (A ∩ B) − B = ∅
(17.8) A − (A − B) = A ∩ B
(17.9) เนื่องจาก B − A ' = B ∩ A ดังนัน้
(A − B) ∩ (B − A ') ⇒ ก ∩ ข = ∅
(18.1) ผิด เช่นหาก C = U แล้ว A กับ B ไม่
จําเป็นต้องเท่ากัน
(18.2) ผิด เช่นหาก C = ∅
(18.3) ผิด เช่นหาก C = U
(18.4) ถูก
(19) B = ∅ หรือ A ∩ B = ∅ (แยกกันอยู่)
หรือ A = ∅
(20) ถ้ามีเพียง 2 เซต สามารถใช้วิธที ดเอาจาก
แผนภาพเซตเหมือนข้อ (17)
(20.1) ก ∪ ค ∪ ข = กขค = A ∪ B
(20.2) (กข ∩ ขคง) ∪ (ขค ∩ กคง)
=ข ∪ ค= B
(20.3) (กค – คง) ∪ (คง – กค) = ก ∪ ง
= B'
ถูก
ออกจากทุกวงเล็บ
จัดรูป A, B, D ตัวหลังใหม่
= C ∩ [ (A ∩ B ∩ D ') ∪ (A ∩ B ∩ D ') ' ] = C
U
ถูก
(21.3) ถูกเสมอ เพราะ (A ∩ B) ⊂ (A ∪ B)
และมีกฎอยูว่ ่า ถ้า , ⊂ + แล้ว P(,) ⊂ P(+)
(21.4) A − B กับ B − A ไม่มีสมาชิกร่วมกัน
ดังนัน้ ภายในเซต P(A − B) กับเซต P(B − A) จะมี
สมาชิกที่เหมือนกันเพียงตัวเดียวคือ ∅ → ข้อนี้ถูก
(21.5) ถ้า A ⊂ B จะได้ว่า P(A) ⊂ P(B) ดังนัน้
P(A) ∪ P(B) = P(B) ...... (1)
และถ้า A ⊂ B จะได้ A ∪ B = B ด้วย ดังนั้น
P(A ∪ B) = P(B) ..... (2) ดังนัน
้ (1)=(2) ถูก
(22) ใช้หลักว่า
P(,) ∩ P(Δ) ∩ P(Ο) = P(, ∩ Δ ∩ Ο)
** ใช้ได้เฉพาะเครื่องหมาย ∩
(22.1) A ∩ B ∩ C ' = {1, 2} ถูก
(22.2) A ∩ B '∩ C = {0, 3} ถูก
(22.3) A '∩ B ∩ C = ∅ ข้อนี้ผดิ
ที่ถูกต้องเป็น P(A '∩ B ∩ C) = {∅}
(22.4) A ∩ B '∩ C ' = ∅ ถูก
(23) n (A '∩ B ') = n(A ∪ B) ' มีคา่ มากสุด ก็คอื
n(A ∪ B) มีค่าน้อยสุด ..จะเกิดขึน
้ เมื่อ B ⊂ A
ทําให้ n(A ∪ B) = n(A) = 22
ดังนัน้ n(A ∪ B) ' = 35 − 22 = 13
(24) n(A) = a , n(B) = b แต่ n(A ∩ B) = b
แสดงว่า B อยู่ใน A ทั้งหมด ( B ⊂ A )
และเช่นเดียวกันจะพบว่า D ⊂ C ⊂ B ⊂ A
ดังนัน้ n(A ∩ B ∩ C ∩ D) = n(D) = d
และ n(A ∪ B ∪ C ∪ D) = n(A) = a
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(25) จาก
P(C)
เซต
28
ในโจทย์ จะได้
C = {a, c}
n(P(A)) = 8
คือ n(A) = 3
n(P(B)) = 16 คือ n(B) = 4
และจาก C ⊂ A และ C ⊂ B จะได้วา่
A = {a, c, ,} และ B = {a, c, Δ, Ο}
จาก {b, d, e} ⊂ A ∪ B โดย b ∈ A ∩ B ' จะได้ว่า
A = {a, c, b} และ B = {a, c, d, e}
ก. d ∈ A '∩ B (อยู่ใน B และไม่อยู่ใน A ) ถูก
ข. e ∈ C '∩ B → ถูก
ค. b ∉ A ∩ B → ถูก
ง. {b, e} ⊂ A ∩ B ' ผิด
เพราะ A ∩ B ' = A − B = {b}
(26) A ∩ B ' = A − B = ∅ แสดงว่า A ⊂ B
(คือ A ∩ B = A )
(26.1) n[P(A ∩ B)] = n[P(A)] = 23 = 8 ถูก
(26.2) {1} ∈ P(A ∩ B) คือ {1} ⊂ A ∩ B คือ
1 ∈ A ∩ B ถูก
(26.3) P(A − B) = P(∅) = {∅} ถูก
(26.4) ผิด เพราะ B − A ≠ ∅ ก็เป็นไปได้
(27) สมาชิกที่ในส่วนที่ซอ้ นกันได้แก่ ∅, {∅}, {0}
ดังนัน้ ได้ (26 − 3) + (6 − 3) = 61 + 3 = 64
(28.1) A = {2, 4, สับเซตของ{1,3,5} } จึงมี
23 = 8 แบบ
(28.2) A = {1, 3, 5, 7, 9, 11, 12, 13, 14, 15, สับเซต
ของ{2,4,6,8,10} } จึงมี 25 = 32 แบบ
(29.1) X = {1, 2, 3, สับเซตของ{4,5,6,7} } จึงมี
24 = 16 แบบ
(29.2) X = { สับเซตของ{1,2,3}ที่ไม่ใช่ ∅ , สับ
เซตใดๆของ{4,5,6,7} } ... (23 − 1)(24) = 112 แบบ
(30.1) n(C) = จํานวนแบบของ S = 26 = 64
(30.2) n(C) = จํานวนแบบของ S
= (24 − 1)(26) = 960
(31.1) {0} ⊂ X ⊂ {0, 2, 4, 6, 8}
มี 24 = 16 แบบ
(31.2) {0} ⊄ X และ X ⊂ {0, 2, 4, 6, 8}
วิธีทงั้ หมด ลบข้อ 31.1 → 25 − 24 = 16 แบบ
(31.3) {0, 2} ⊂ X ⊂ {0, 2, 4, 6, 8}
มี 23 = 8 แบบ
(31.4) {0, 2} ⊄ X และ X ⊂ {0, 2, 4, 6, 8}
วิธีทงั้ หมด ลบข้อ 31.3 → 25 − 23 = 24 แบบ
(32) {3, 5, 8} ⊂ D ⊂ {2, 3, 4, ..., 8}
มี 24 = 16 แบบ
(33)
U = {−2, −1, 0, 1, 2, ..., 6}
A = {0, 1, 4} →
B = {0, 1, 2}
เกินจากนีจ้ ะไม่อยู่ใน
ดังนั้น
U
{0, 1} ⊂ X ⊂ {0, 1, 2, 4} → n(C) = 22 = 4
(34)
x ⊂ {a, b, c, d, e, f}
และ
{a, c, d} ∩ X ≠ ∅
แสดงว่า
สับเซตของ{a,c,d}ที่ไม่ใช่ ∅ , สับเซตใดๆ
ของ{b,e,f} } → (23 − 1)(23) = 56 แบบ
(35) เนื่องจาก n(A) = 5 และ
S1 = {B | B ⊂ A, n(B) = 1} ,
S2 = {B | B ⊂ A, n(B) = 2} , ...
ไปจนถึง S5 = {B | B ⊂ A, n(B) = 5} จะได้วา่
S = S1 ∪ S2 ∪ S3 ∪ S4 ∪ S5 = เซตของสับเซต
ของ A ทุกแบบ ยกเว้น ∅ (n(B)=0)
ดังนัน้ n(S) = 25 − 1 = 31
(36) จากแผนภาพ
U
X = {
n(A ∩ B ') = n(A − B)
= 32 =
ก
ข ค
32
55
ก
ง
n(B) = ข+ค = 55
A
B
ต้องการหา n(A '∩ B ') คือ n(A ∪ B) ' = ง
หาได้จาก n(U) = 100 = ก+ข+ค+ง
ดังนัน้ ง = 100 − 32 − 55 = 13
(หมายเหตุ .. n(A ') = 40 ไม่ได้ใช้)
(37) นักกีฬา 35 คน
U
→ ก+ข = 35
ก ข ค
นักดนตรี 27 คน
ง
→ ข+ค = 27
นักกีฬา นักดนตรี
ไม่เป็นเลย 32 คน → ง = 32
รวมกันสามสมการจะได้ ก+2ข+ค+ง = 94
แต่มีนักเรียนรวม 80 คน (ก+ข+ค+ง)
∴ ลบกันเหลือ ข = 14 คน
โจทย์ถาม ก+ค+ง = 80 − 14 = 66 คน
(หมายเหตุ .. n(A '∪ B ') = n(A ∩ B) ' = ก+ค+ง)
(38) เซตในข้อนี้แยกจาก
กัน เพราะเรียนฝรั่งเศสแล้ว ก
ข
ค
ต้องไม่เรียนคณิตศาสตร์
ฝรั่งเศส คณิต U
20=ก+ข, 17=ก+ค,
15=ข+ค
รวมกันจะได้ 2(ก+ข+ค)=20+17+15 → ก+ข+ค=26
ดังนัน้ ค = 26 − 20 = 6
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(39) โจทย์บอกว่า
ก+ข+ค+ง=20
ก+ข=2(ข+ค)-7
และ ข = ง
เซต
29
(43) ก+ข=16 ....(1)
ฉ+ช=7 จะได้ ข+ค=21-7=14 ....(2)
ก ข ค
ชาย
สองสมการบวกกั
น จะได้
ง
24
ก ข ค
ก+2ข+ค=16+14=30
ครีม น้ําตาล
หญิง
จ
ฉ
ช
แต่ ก+ข+ค=24 ดังนัน้
11
ดังนัน้ จากสมการแรกสุดจะได้ ก+2ข+ค=20 .....(1) ข=30-24= 6 คน
บาส ฟุตบอล
สมการทีส่ องจัดรูปได้ ข-ก+2ค=7 .....(2)
(44) ก+ข=200
U
(1)x2 - (2); 3ก+3ข=33 ดังนัน้ ก+ข=11
ง ชาย
และ ข+ค=30
600
ก ข ค
(40) คนสวมแหวนทุกคน
รวม ก+2ข+ค=230
จ ฉ ช
สวมแว่น แต่คนที่สวม
ซ หญิง
แว่น นาฬิกา แต่ ข=15
แหวน
500
ตจว.
นั
ก
กี
ฬ
า
นาฬิกาไม่มีคนใดสวมแว่น
ข
ดังนัน้ ก+ข+ค=215
ก
ค
ง
จะวาดแผนภาพได้ดังนี้
∴ ง = 600 − 215 = 385 คน
U
(แหวนเป็นสับเซตของแว่น,
(ข้อสังเกต ข้อ 43 และ 44 ไม่ได้คํานวณในส่วนที่
นาฬิกากับแว่นแยกกัน)
เป็นผูห้ ญิงเลย, ถ้าต้องคิดจะใช้วธิ ีเหมือนข้อ 42)
โจทย์บอกว่า ก+ข+ค+ง=34 .....(1) ข=5 .....(2) (45) โจทย์ข้อนีใ้ ห้คิด
ค=ก+ข+1 .....(3) และ ก+ข+ง=3ก .....(4)
ง คู่
เอาเองว่า จํานวนคี่ที่
ก ข ค
แทนค่า (2), (3) ในสมการ (1) และ (4) จะได้
4 หารลงตัวนัน้ ไม่มี!
จ
ก+5+(ก+5+1)+ง=34 และ ก+5+ง=3ก
ซ คี่
(นั่นคือ ฉ,ช = 0 )
แก้ระบบสมการได้ ก=7, ง=9
3ลงตัว 4ลงตัว
โจทย์ถาม ค = ก+ข+1 = 7+5+1 = 13 คน
ค = 6 , ก+ข+จ = 8 โดย ก+ข = 3 → จ = 5 ..
(41) ฝนตกเช้าจะไม่ตก
ข = 2 , ก+ง = 4 และ จ+ซ = 18 − 4 = 14 ..
เย็น แสดงว่าเซตแยกกัน
ก
ข
ค
จํ
านวนสมาชิกของเซตนี้ = (ก+ง)+ข+ค+(จ+ซ)
ก+ข=7, ข+ค=6, ก+ค=5
=
4 + 2 + 6 + 14 = 26
ตกเช้า ตกเย็น U
บวกกันทั้งสามสมการได้
จํานวนคู่ = (ก+ง)+ข+ค = 4 + 2 + 6 = 12
2(ก+ข+ค)=18 ..ดังนัน้ ก+ข+ค = 9 วัน
จํานวนที่ 3 หรือ 4 หารไม่ลงตัว = ทุกตัวยกเว้น ข
(42) ข้อนี้วาดรูปแบ่ง
U
= 26 − 2 = 24 จํานวน
ชายหญิงได้ดังนี้
ง ชาย
100 (46) ข้อนี้มี 3 เซต คือ ชอบช้าง, ชอบลิง, ชอบหมี
ก ข ค
(หรือจะแบ่งเป็นชาย
จ ฉ ช
ซ หญิง โจทย์ถาม n(A ∪ B ∪ C) ' = 100 − n(A ∪ B ∪ C)
กับหญิง คนละรูปกัน
60 โดยการสังเกตให้ดี ใช้
ตาดี
ฟั
น
ไม่
ผ
ุ
ก็ได้ แต่คิดไม่สะดวก)
U
ข้อมูลแค่ 3 ตัว คิดวิธี
ลิง
32
เดียวกับขัอ (36) ดังรูป
35
ก ข ค
จ ฉ ช
ก็จะทราบว่า
ช้าง
ง
ซ
30 =
ชาย
U
หญิง
ค+ง → ช+ซ = 50 − 30 = 20
35 = ก+ง → จ+ซ = 60 − 35 = 25
55 = ข
→ ฉ = 80 − 55 = 25
รวม 3 สมการเข้าด้วยกัน จะได้
ก+ข+ค+2ง=120 และ จ+ฉ+ช+2ซ=70
แต่เนือ่ งจาก ก+ข+ค+ง=100 ดังนั้น ง=20
และ ก+ข+ค=80
และเนือ่ งจาก จ+ฉ+ช+ซ=60 ดังนัน้ ซ=10
และ จ+ฉ+ช=50
คําตอบคือ 80 + 50 = 130 คน
(หมายเหตุ ..จะวาดแผนภาพเป็นเซตของคนทีส่ ายตา
ไม่ดี, หรือเซตของคนที่ฟนั ผุ ก็ได้)
n(A ∪ B ∪ C) =
32 + 35 + 20 = 87
20
ดังนัน้ ตอบ 13
A
(47) ข้อนี้ตรงตามสูตร
ไทย ? z
n(A ∪ B ∪ C) =180
สากล
y x
=95+92+125-52-43-57+x
∴ x = 20 คน
∴ y = n(A ∩ C) − 20 =43-20=23
z = n(A ∩ B) − 20 =52-20=32
ผู้ชอบเพลงไทยสากลเพียงอย่างเดียว มี
95 − 20 − 23 − 32 = 20 คน
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
หมี
B
ไทย
เดิม
C ลูกทุ่ง
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
30
(48) สมการแรก
ข
ก
20
x
y
x+y+20+23+22+11+9=100
และสมการที่สอง
22 23 11
(x+20+23+22)=(y+20+23+11)+6
9
ค
แก้ระบบสมการ ได้ x = 5, y = 10
∴ นาย ก ได้ 70 คะแนน, นาย ข 64 คะแนน,
นาย ค 65 คะแนน
ก. ถูก
ข. 70 + 64 + 65 = 199 ถูก
ค. ผิด ต้องเป็น 5 คน ง. 5 + 10 + 9 = 24 ถูก
(49) ข้อนี้มีสามเซต (บาสเกตบอล, เทนนิส,
วอลเลย์บอล) และยังแบ่งชายหญิง จึงจําเป็นต้องแยก
วาดคนละภาพกัน
(50) ให้
เซต
U = {0, 1, 2, ..., 100}
หารด้วย 2 ลงตัว }
B = { x | x หารด้วย 3 ลงตัว }
C = { x | x หารด้วย 5 ลงตัว }
ต้องการหาค่า n(A '∩ B '∩ C ') ก็คือ
n(A ∪ B ∪ C) ' ..หาโดย n(U) − n(A ∪ B ∪ C)
ซึ่ง n(A ∪ B ∪ C) จะต้องคํานวณตามสูตร
A = {x|x
n(A) + n(B) + n(C) − n(A ∩ B) − n(A ∩ C))
−n(B ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)
** ทุกๆ ชิน้ ส่วน อย่าลืมนับเลข 0 ด้วย **
... n(A) → หาร 2 ลงตัว มี 51 จํานวน
n(B) → หาร 3 ลงตัว มี 34 จํานวน
n(C) → หาร 5 ลงตัว มี 21 จํานวน
y
x
n(A ∩ B) → หาร 2 และ 3 ลงตัว คือหาร 6 ลงตัว
มี 17 จํานวน ... n(A ∩ C) → หาร 2 และ 5 ลงตัว
4
8
คือหาร 10 ลงตัว มี 11 จํานวน ... n(B ∩ C) →
หญิง
ชาย
หาร 3 และ 5 ลงตัว คือหาร 15 ลงตัว มี 7 จํานวน
ถ้าสังเกตดีๆ จะพบว่าข้อมูลที่ให้มาตรงตามสูตรพอดี ... n(A ∩ B ∩ C) → หาร 2 และ 3 และ 5 ลงตัว
ชาย n(A ∪ B ∪ C) = 60 − 8
คือหาร 30 ลงตัว มี 4 จํานวน
=20+15+22-6-10-11+x ... ดังนั้น x=22 คน
ดังนัน้ n(A ∪ B ∪ C) = 51 + 34 + 21 − 17 − 11
หญิง (แต่ละเลขได้จาก จํานวนทัง้ หมดลบด้วยผู้ชาย) −7 + 4 = 75
40-4 = 15+13+18-8-6-9+y ... ดังนัน้ y=13 คน
และเนือ่ งจาก n(U) = 101 จึงได้
สรุปว่า ต่างกันอยู่ 22 − 13 = 9 คน
n(A '∩ B '∩ C ') = 101 − 75 = 26
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
¨Ò¡¢o (50) ËÒ¡o¨·Âe»ÅÕè¹ä»e»¹ A ¤×oe«µ¢o§¨íҹǹ·ÕèËÒà 6 ŧµaÇ æÅa B ¤×oe«µ¢o§¨íҹǹ·ÕèËÒà 8 ŧµaÇ
æÅÇ A ∩ B ¨ae»¹e«µ¢o§¨íҹǹ溺㴤Ãaº..
ËÅÒ¤¹µoºÇÒ ËÒ÷aé§ 6 æÅa 8 ŧµaÇ ¡çæ»ÅÇÒËÒà 48 ŧµaÇ ... äÁ㪹a¤Ãaº! ...
eoÒ 6 ¡aº 8 ÁÒ¤Ù³¡a¹¹aé¹¼i´! ¨aµo§ãª ¤.Ã.¹. ¤×o ËÒà 24 ŧµaÇ ¨Ö§¨a¶Ù¡
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
31
a
Re +l
º··Õè
2 Ãaºº¨íҹǹ¨Ãi§
จํานวนที่มนุษย์คิดขึ้นใช้ครั้งแรกเป็นจํานวนที่ใช้
นับสิ่งของต่างๆ เรียกว่า จํานวนธรรมชาติ (Natural
Number) หรือ จํานวนนับ (Counting Number)
ได้แก่ 1,2,3,4,... ซึ่งสัญลักษณ์แทนเซตของจํานวนนับ
คือ N = {1,2, 3, 4, ...}
หากนําจํานวนนับเหล่านี้มาบวกหรือคูณกัน ผลลัพธ์ย่อมเป็นจํานวนนับเสมอ เรียกว่า “เซต
ของจํานวนนับมี สมบัติปิด สําหรับการบวกและการคูณ” (คําว่า สมบัติปิด หมายความว่า เมื่อนํา
สมาชิกใดๆ ในเซตมาดําเนินการแล้ว ผลที่ได้ยังคงเป็นสมาชิกของเซตนั้นอยู่) แต่หากนําจํานวนนับ
บางจํานวนมาลบหรือหารกันจะมีปัญหาขัดข้องเนื่องจากผลที่ได้ไม่เป็นจํานวนนับ ด้วยเหตุนี้จํานวนลบ
จํานวนศูนย์ รวมทั้งจํานวน เศษส่วน (Fraction) จึงถูกคิดขึ้นมาใช้
จํานวนนับ จํานวนศูนย์ และจํานวนเต็มลบ เรียกรวมกันว่า จํานวนเต็ม (Integer)
I = {..., −3, −2, −1, 0, 1, 2, 3, ...}
จํานวนเต็ม และเศษส่วนของจํานวนเต็ม เรียกรวมกันว่า จํานวนตรรกยะ (Rational Number)
Q = { a/b | a, b ∈ I และ b ≠ 0 }
ดังนั้น เซตจํานวนนับเป็นสับเซตจํานวนเต็ม และเซตจํานวนเต็มเป็นสับเซตจํานวนตรรกยะ
ข้อควรทราบ
1. จํานวนตรรกยะที่เป็นเศษส่วนของจํานวนเต็ม จะเขียนเป็นทศนิยมซ้ําได้เสมอ
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
32
และจํานวนที่เขียนเป็นทศนิยมไม่ซ้ํา จะเรียกว่า
จํานวนอตรรกยะ (Irrational Number) Q'
เช่น 2 ≈ 1.4142... , 3 ≈ 1.7321... , π ≈ 3.1416...
2.
S e¾ièÁeµiÁ! S
1. ÃÒ¡·ÕèÊo§¢o§¨íҹǹ¹aº (·Õè¶o´¤Òoo¡ÁÒe»¹¨íҹǹ
¹aºäÁä´) ¨ae»¹¨íҹǹoµÃáÂaeÊÁo
2. ¤Ò e «Öè§e»¹¤Ò¤§·Õè·èeÕ ¡ÕèÂÇ¡aºÅo¡ÒÃi·ÖÁ (º··Õè 8)
¡çe»¹¨íҹǹoµÃáÂaeª¹¡a¹ (ÁÕ¤Ò»ÃaÁÒ³ 2.718..)
มีสมบัติปิดสําหรับการบวกและการคูณ
I และ Q มีสมบัติปิดสําหรับการบวก, ลบ, และคูณ
..แต่ Q' ไม่มีสมบัติปิดเลย
N
C
จํานวนทั้งหมดที่กล่าวมานี้ เรียกรวมกันว่า
จํานวนจริง (Real Number : R ) ซึ่งมีแผนผังความ
สัมพันธ์ดังที่แสดงไว้
Im
R
เพิ่มเติม จากเนื้อหาเรื่องจํานวนเชิงซ้อน
มีจํานวนอีกหนึ่งประเภทที่ไม่ใช่จํานวนจริง เนื่องจากไม่
สามารถจัดลําดับค่ามากน้อยร่วมกับจํานวนจริงบนเส้นจํานวน
ได้ คือรากที่สองของจํานวนลบ เช่น −2 เรียกว่า จํานวน
จินตภาพ (Imaginary Number)
เมื่อรวมกันกับเซตจํานวนจริงแล้วเรียกว่า จํานวนเชิงซ้อน
(Complex Number : C ) ซึ่งจะได้ศึกษาในบทที่ 11
Q
Q'
Q−I
I
I-
I0
I+ หรือ N
2.1 สมบัติของจํานวนจริง
นอกจากสมบัติปิดซึ่งได้รู้จักแล้ว ระบบจํานวนจริงยังมีสมบัติอีกหลายลักษณะที่ควรทราบ
เนื่องจากเป็นพื้นฐานที่จําเป็นสําหรับวิชาคณิตศาสตร์ (ส่วนใหญ่จะเคยพบมาแล้วในระดับ ม.ต้น)
สมบัติของการเท่ากัน
[1] สมบัติการสะท้อน (Reflexive Property)
[2] สมบัติการสมมาตร (Symmetric Property)
[3] สมบัติการถ่ายทอด (Transitive Property)
[4] สมบัติการบวกและคูณด้วยจํานวนที่เท่ากัน
a = a
a = b ↔ b = a
a = b
และ
b = c → a = c
a = b → a+c = b+c
a = b → ac = bc
สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
[1] “เอกลักษณ์ (Identity)” คือจํานวนที่ไปดําเนินการกับจํานวนจริง a ใดก็ตามแล้วได้ผลลัพธ์เป็น
จํานวน a เดิม ... ดังนั้น เอกลักษณ์การบวกในระบบจํานวนจริง คือ 0 และเอกลักษณ์การคูณใน
ระบบจํานวนจริง คือ 1
[2] “อินเวอร์ส (Inverse) ของ a” คือจํานวนที่ไปดําเนินการกับจํานวนจริง a แล้วได้ผลลัพธ์เป็น
เอกลักษณ์ ... ดังนั้น เอกลักษณ์การบวกของจํานวนจริง a คือ –a และเอกลักษณ์การคูณของจํานวน
จริง a คือ 1/a หรือ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ a − 1
a, b ∈ R → a + b ∈ R
[3] สมบัติปิด (Closure Property)
a, b ∈ R → a ⋅ b ∈ R
[4] สมบัติการสลับที่ (Commutative Property)
a+b = b+a
ab = ba
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
33
[5] สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม (Associative Property)
a + (b + c) = (a + b) + c = a + b + c
a (b c) = (a b) c = a b c
[6] สมบัติการแจกแจง (Distributive Property)
a (b + c) = a b + a c
(a + b) c = a c + b c
[7] สมบัติสําหรับเซตของจํานวนจริงบวก ( R ) เพิ่มเติมได้แก่ สมบัติที่ว่า
“ถ้าจํานวนจริง a ≠ 0 แล้ว a ∈ R+ หรือ −a ∈ R+ เสมอ”
+
ทฤษฎีบทเพิ่มเติมที่ควรทราบ
(พิสูจน์ได้จากสมบัติที่กล่าวแล้วข้างต้น)
[1] กฎการตัดออกสําหรับการบวกและการคูณ
a+c = b+c → a = b
a⋅c = b⋅c → a = b
[2] การคูณด้วยศูนย์ และจํานวนลบ
เมื่อ
c≠0
(−1)a = −a
0a = a0 = 0
(−a) b = a (−b) = −a b
(−a)(−b) = a b
* [3] ผลคูณเท่ากับศูนย์
[4] บทนิยามของการลบและการหาร
ab = 0 → a =0
[8] การบวกและการคูณเศษส่วน
[9] อินเวอร์สการคูณของเศษส่วน
[10] เศษส่วนซ้อน
หรือ
b=0
a − b = a + (−b)
a ÷ b = a b−1
[5] การแจกแจงสําหรับการลบ
[6] อินเวอร์สการคูณไม่เป็นศูนย์เสมอ
[7] การคูณทั้งเศษและส่วน
− (−a) = a
เมื่อ
b≠0
(ไม่นิยาม
a (b − c) = a b − a c
a−1 ≠ 0
a
ac
=
b
bc
a
d
ac + bd
+
=
b
c
bc
−1
⎛a⎞ = b
⎜ ⎟
a
⎝b⎠
ab
a
=
c
bc
a d
ad
⋅
=
b c
bc
ab
ad
=
cd
bc
a
ac
=
bc
b
หมายเหตุ
1. ข้อ [7] ถึง [10] ตัวส่วนต้องไม่เท่ากับศูนย์
2. อาจนิยามการหารด้วยการคูณ คือ a ÷ b = c ↔ a = b c ก็ได้
แต่ต้องกํากับว่าเป็นจริงเมื่อ b ≠ 0 เท่านั้น (การหารด้วย 0 ในที่นี้จะไม่นิยาม)
•
ตัวอยาง เซตตอไปนีม้ ีลกั ษณะตรงตามขอใด (ใน A, B, C, D) บาง
A. มีสมบัตปิ ดการบวก
B. มีสมบัตปิ ดการคูณ
C. เปนสับเซตของเซตจํานวนตรรกยะ Q
D. เปนสับเซตของเซตจํานวนเต็ม
I
ก. เซตของจํานวนนับ N
ตอบ A ถูก เพราะไมวาจะยกจํานวนนับจํานวนใดมาบวกกัน ผลลัพธก็ยังคงเปนจํานวนนับ
B ถูก เพราะไมวาจะยกจํานวนนับจํานวนใดมาคูณกัน ผลลัพธกย็ ังคงเปนจํานวนนับ
C ถูก เพราะจํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนตรรกยะ
D ถูก เพราะจํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนเต็ม
Math E-Book Release 2.2.04
0−1 )
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
34
ข. เซตของจํานวนอตรรกยะ
ตอบ A ผิด เพราะมีจํานวนอตรรกยะบางจํานวน ที่บวกกันแลวกลายเปนจํานวนตรรกยะ เชน 2 บวก
กับ − 2 แลวได 0
B ผิด เพราะมีจาํ นวนอตรรกยะบางจํานวน ที่คณู กันแลวกลายเปนจํานวนตรรกยะ เชน 2 ⋅ 2 = 2
C ผิดอยางแนนอน เพราะเซตของจํานวนตรรกยะและอตรรกยะ เปนคอมพลีเมนตกัน
D ผิดเชนกัน เพราะไมใชวาจํานวนอตรรกยะทุกจํานวนเปนจํานวนเต็ม (ที่จริงไมมีเลยสักตัว)
ค. { x | x < 0 }
ตอบ A ถูก จํานวนลบหรือจํานวนศูนย เมื่อนํามาบวกกันยอมยังเปนจํานวนลบหรือศูนย
B ผิด เพราะจํานวนลบคูณกันยอมไดผลลัพธเปนจํานวนบวก
C และ D ผิด เพราะจํานวนลบบางจํานวนไมใชจํานวนตรรกยะ (และจํานวนเต็ม) เชน −
2
ง. {1.414, 22/7}
ตอบ A และ B ผิด เพราะเมื่อหยิบจํานวนจากเซตนี้มาบวก (หรือคูณ) กัน ผลลัพธไมอยูใ นเซตนี้
C ถูก เพราะเลขทศนิยม และเศษสวนของจํานวนเต็ม เปนจํานวนตรรกยะเสมอ ( 22/7 ≠ π )
D ผิดแนนอน เพราะสมาชิกในเซตนี้ไมใชจํานวนเต็ม
จ. {−1, 0, 1}
ตอบ A ผิด เพราะเมื่อหยิบบางจํานวนมาบวกกัน ผลลัพธที่ไดไมอยูในเซตนี้ เชน 1 + 1 = 2
B ถูก เพราะไมวาจะหยิบจํานวนใดมาคูณกัน ผลลัพธที่ไดก็ยังอยูในเซตนี้เสมอ
C และ D ถูก เพราะสมาชิกทุกตัวเปนจํานวนเต็ม (จํานวนเต็มทุกจํานวนเปนจํานวนตรรกยะ)
ฉ.
{ 10 x | x ∈ I }
ตอบ { 10 x | x ∈ I } = {0, ±10, ±20, ±30, ...} เขียนแจกแจงสมาชิกเพือ่ ใหพิจารณางาย
A และ B ถูก เพราะไมวาจะหยิบจํานวนใดในเซตนี้มาบวก (หรือคูณ) กัน ผลลัพธที่ไดยังอยูในเซตนี้
C และ D ถูก เพราะสมาชิกทุกตัวเปนจํานวนเต็ม (จํานวนเต็มทุกจํานวนเปนจํานวนตรรกยะ)
แบบฝึกหัด 2.1
(1) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(1.1) 0.343443444... เป็นจํานวนตรรกยะ
(1.2) 0.112112112... เป็นจํานวนอตรรกยะ
(1.3) ถ้า a 2 เป็นจํานวนคู่ แล้ว a ต้องเป็นจํานวนคู่
(1.4) ถ้า a 2 เป็นจํานวนคี่ แล้ว a ต้องเป็นจํานวนคี่
(2) ถ้า
a, b, c ∈ R
แล้ว ข้อความในแต่ละข้อต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(2.1) ถ้า a b = a แล้ว b = 1
(2.2) ถ้า a b = 0 แล้ว a = 0 และ b = 0
(2.3) เมื่อ b ≠ 0 ถ้า a = c แล้ว a = c
b
(2.4) เมื่อ
b, c ≠ 0
ถ้า
b
a
a
=
b
c
แล้ว
b = c
Math E-Book Release 2.2.04
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
o¨·Âã¹Ãٻ溺¢o¤ÇÒÁ¶Ù¡ËÃ×o¼i´¹aé¹ ÊǹÁÒ¡
¶ÒoÒ¹¢o¤ÇÒÁe¾Õ§e¼i¹æ ¨a´ÙeËÁ×o¹ÇÒ¶Ù¡ æµ·èÕ
¨Ãi§ºÒ§¢o¤ÇÒÁ¡ç¼i´..
¡Òõoºo¨·ÂÅa¡É³a¹Õé¤ÇþÂÒÂÒÁ¡¡Ã³Õ·èÕ
¼i´¢Öé¹ÁÒÊa¡ 1 ¡Ã³Õ ¶ÒËÒä´¡çæÊ´§ÇÒ¢o¤ÇÒÁ
¹aé¹¼i´ (¡ÒáµaÇoÂÒ§¨íҹǹ oÂÒÅ×Á·´Êoº
¨íҹǹµi´Åº ¨íҹǹµi´ÃÙ· æÅa¨íҹǹ·È¹iÂÁ·Õè
äÁ¶Ö§ 1 ´ÇÂ) ... æµ¶ÒËÒÂa§ä§¡çËÒäÁä´ ¢o¤ÇÒÁ
¹a鹡çÁoÕ o¡Òʨa¶Ù¡ÊÙ§ (¶Ò¨aºo¡ÇÒ¶Ù¡ªaÇÃæ ¤§
µo§ãªÇi¸¾Õ iÊÙ¨¹ «Ö觺ҧ¢o¡çÂÒ¡¹a¤Ãaº..)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
35
(3) เซตในข้อใดมีสมบัติปิดของการบวก และการคูณ
ก. เซตของจํานวนเต็มลบทั้งหมด
ข. เซตของจํานวนเฉพาะบวกที่ไม่ใช่ 2
ค. เซตของจํานวนตรรกยะที่ไม่ใช่จํานวนเต็ม
ง. เซตของจํานวนเต็มที่หารด้วย 4 ลงตัว
(4) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(4.1) เซตของจํานวนจริง มีสมบัติปิดของการลบ
(4.2) เซตของจํานวนจริง มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการลบ
(4.3) เซตของจํานวนจริงที่ไม่ใช่ 0 มีสมบัติปิดของการหาร
(4.4) เซตของจํานวนจริงที่ไม่ใช่ 0 มีสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการหาร
(5) เมื่อกําหนดเซต A = { x ∈ N | x ∈ Q } และ B = N − A แล้ว
ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(5.1) A มีสมบัติปิดการคูณ แต่ B ไม่มีสมบัติปิดการคูณ
(5.2) A ไม่มีสมบัติปิดการบวก และ B ไม่มีสมบัติปิดการบวก
(6) เซต A ในข้อใดทําให้ข้อความต่อไปนี้เป็นจริง
“ถ้า x ∈ A แล้ว จะมี y ∈ A ซึ่ง x y = 1 และ
ก. เซตของจํานวนเต็มที่ไม่ใช่ 0
ค. เซตของจํานวนอตรรกยะ
(7) ให้หาอินเวอร์สการคูณของ
เอกลักษณ์การคูณของ
1
6+ 5
xy ∈ A”
ข. เซตของจํานวนจริง
ง. เซตของจํานวนตรรกยะที่ไม่ใช่ 0
และ
*
a
b
c
6+ 5
(8) กําหนดตารางการดําเนินทวิภาคดังขวามือ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. (a ∗ b) ∗ a = c
ข. (b ∗ c) ∗ b = a
ง. (c ∗ a) ∗ (b ∗ a) = b
ค. (a ∗ b) ∗ (c ∗ b) = b
a
a
b
c
b
b
c
a
(9) การดําเนินการ ∗ สําหรับจํานวนจริง ในข้อใดไม่มีสมบัติการสลับที่
ก. x ∗ y = 3 x y + (x + y)
ข. x ∗ y = 2 (x + y) − 3 x y
3
1
ค. x ∗ y =
ง. x ∗ y = 2 x y + 1
−
xy
x+y
(10) [Ent’24] กําหนด
x−y
a ∗ b = 3ab + (a + b)
แล้ว
x ∗ (y ∗ z) = (z ∗ y) ∗ x
(11) ถ้า A เป็นเซตของจํานวนนับคี่ และกําหนดตัวดําเนินการ ⊕ กับ
a + b
และ a ⊗ b = a b แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกหรือผิดบ้าง
a ⊕b =
2
⊗
หรือไม่
บนเซต A ดังนี้
2
(11.1) เซต A มีสมบัติปิด และมีสมบัติการสลับที่ ภายใต้การดําเนินการ ⊕
(11.2) เซต A ไม่มีสมบัติปิด แต่มีสมบัติการสลับที่ ภายใต้การดําเนินการ ⊗
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
c
c
a
b
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
36
2.2 ทฤษฎีบทเศษเหลือ และตัวประกอบ
พหุนามตัวแปรเดียว ที่มี x เป็นตัวแปร จะอยู่ในรูป anxn + an − 1xn − 1 + ... + a1x + a0 โดยที่ a
เป็นค่าคงที่ (สัมประสิทธิ์) และ n เป็นจํานวนนับ นิยมใช้สัญลักษณ์แทนพหุนามว่า p (x)
นอกจากนั้น สัญลักษณ์ p (c) หมายถึงการแทนค่า x ด้วยจํานวน c
เช่น p (x) = 4x3 − x2 − 2x + 6 จะได้ว่า p (−1) = 4 (−1)3 − (−1)2 − 2 (−1) + 6 = 3
การแก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว anxn + an − 1xn − 1 + ... + a1x + a0 = 0 จะต้องแยกตัว
ประกอบให้สมการอยู่ในรูปผลคูณเท่ากับศูนย์ โดยมีเทคนิคต่างๆ ที่ศึกษาผ่านมา ได้แก่ กําลังสอง
สมบูรณ์ ผลต่างของกําลังสอง ผลบวกและผลต่างของกําลังสาม เป็นต้น แต่สําหรับสมการที่มีดีกรี
มากกว่าสอง ทฤษฎีบทต่อไปนีจ้ ะช่วยให้การแยกตัวประกอบสะดวกขึ้น
ทฤษฎีบทเศษเหลือ (Remainder Theorem) กล่าวว่า
“ถ้าหาร p(x) ด้วย x – c แล้ว จะเหลือเศษเท่ากับ p(c)”
และหากการหารนี้เหลือเศษ 0 พอดี (หารลงตัว) จะกล่าวว่า x – c เป็นตัวประกอบของ p(x)
นั่นคือ “พหุนาม p(x) จะมี x – c เป็นตัวประกอบหนึ่ง ก็ตอ่ เมื่อ p(c) = 0”
เรียกทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎีบทตัวประกอบ (Factor Theorem)
เรานําทฤษฎีบททั้งสองมาช่วยในการแยกตัวประกอบของ p(x) ได้ โดยการสุ่มหาค่า c ที่ทํา
ให้ p(c) = 0 พอดี เพื่อให้ได้ตัวประกอบ x – c ... แล้วนํา x – c ที่ได้ไปหารออกจาก p(x) เพื่อ
ลดทอนกําลัง n ลง ทําซ้ําจนแยกตัวประกอบได้ครบ
ยังมีอีกทฤษฎีที่ทําให้เลือกค่า c ได้รวดเร็ว นั่นคือ ทฤษฎีบทตัวประกอบจํานวนตรรกยะ
ซึ่งกล่าวว่า “ถ้า x – (k/m) เป็นตัวประกอบของ p(x) แล้ว.. k เป็นตัวประกอบของ a0 และ
m เป็นตัวประกอบของ an ” (โดยเศษส่วน k/m เป็นเศษส่วนอย่างต่ําเท่านั้น)
สรุปวิธีการหาตัวประกอบ x – c ของ p(x) เมื่อ c เป็นจํานวนตรรกยะ คือนําค่า k มาจาก
ตัวประกอบของ a0 และนําค่า m มาจากตัวประกอบของ an ... ค่า c ที่เป็นไปได้จะอยู่ในบรรดา
เศษส่วน k/m เหล่านี้เท่านั้น (อย่าลืมคิดทั้งจํานวนบวกและจํานวนลบ) ดูตัวอย่างวิธีคํานวณได้ใน
เรื่องการหารสังเคราะห์
หมายเหตุ หากจํานวน c ไม่ใช่จํานวนตรรกยะ เช่น x2 − 2 = (x − 2)(x + 2) จะใช้ทฤษฎีนี้ไม่ได้
3
2
ตัวอยาง 2x − x − 6x + 1 หารดวย x − 2 เหลือเศษเทาใด
ตอบ ใชทฤษฎีเศษ จะไดวาเศษจากการหาร 2x − x − 6x + 1 ดวย x − 2 ก็คือ
2(2) − (2) − 6(2) + 1 = 1 ... (สามารถตรวจคําตอบไดโดยการตั้งหารยาว หรือหารสังเคราะห)
•
3
3
2
2
3
2
ตัวอยาง 2x − x − 6x + 1 หารดวย x + 1 เหลือเศษเทาใด
ตอบ ใชทฤษฎีเศษ จะไดวาเศษจากการหาร 2x − x − 6x + 1 ดวย x + 1 ก็คือ
2(−1) − (−1) − 6(−1) + 1 = 4 ... (สามารถตรวจคําตอบไดโดยการตั้งหารยาว หรือหารสังเคราะห)
•
3
3
2
2
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
37
ตัวอยาง ฟงกชนั พหุนามดีกรีสอง p (x) ฟงกชันหนึ่ง พบวาเมื่อหารดวย x แลวเหลือเศษ 3 , เมื่อ
หารดวย x − 1 เหลือเศษ 12 , และเมื่อหารดวย x − 2 จะเหลือเศษ 25
ก. ฟงกชัน p (x) นี้หารดวย x − 3 เหลือเศษเทาใด
วิธีคิด การจะทราบคําตอบขอนี้ จะตองหาใหไดกอนวา p (x) คืออะไร
โดยทั่วไปพหุนามดีกรีสอง ตองมีลักษณะเปน Ax + Bx + C ซึ่งจะเห็นวา มีสัมประสิทธิ์ 3 ตัว
เราจึงใชคําใบที่โจทยใหมา 3 อยาง ในการสรางระบบสมการเพือ่ หาสัมประสิทธิ์ 3 ตัวนี้
“หารดวย x แลวเหลือเศษ 3 ” แปลวา p (0) = 3 หรือ A(0) + B(0) + C = 3
“หารดวย x − 1 แลวเหลือเศษ 12 ” แปลวา p (1) = 12 หรือ A(1) + B(1) + C = 12
“หารดวย x − 2 แลวเหลือเศษ 25 ” แปลวา p (2) = 25 หรือ A(2) + B(2) + C = 25
แกสามสมการรวมกัน ไดผลเปน A = 2 , B = 7 , C = 3 ... ดังนัน้ p (x) = 2x + 7x + 3
ดังนั้น p (x) นี้หารดวย x − 3 จะเหลือเศษ 2(3) + 7(3) + 3 = 42
•
2
2
2
2
2
2
ข. ฟงกชัน p (x) นี้หารดวย x − c ลงตัว เมื่อ c เทากับเทาใด
ตอบ p (x) หารดวย x − c ลงตัว ... แปลวา มี x − c เปนตัวประกอบหนึ่งนั่นเอง
และเนื่องจาก p (x) = 2x + 7x + 3 = (2x + 1)(x + 3) จึงไดคําตอบวา
p (x) นี้จะหารดวย x − c ลงตัว เมื่อ c = −1/2 หรือ c = −3
หรืออาจกลาววา p (c) = 0 (หารลงตัวคือไมมีเศษ) ดังนั้น
2c + 7c + 3 = (2c + 1)(c + 3) = 0 จะได c = −1/2 หรือ c = −3 เชนเดียวกัน
2
2
ค. ฟงกชัน p (x) นี้หารดวย x − c เหลือเศษ 7 เมื่อ c เทากับเทาใด
ตอบ p (x) หารดวย x − c เหลือเศษ 7 ... แปลวา p (c) = 7
ดังนั้น 2c + 7c + 3 = 7 แกสมการได 2c + 7c − 4 = (2c − 1)(c + 4) = 0
จึงไดคําตอบวา c = 1/2 หรือ c = −4
หรืออาจกลาววา “ p (x) หารดวย x − c เหลือเศษ 7 ” คือ “ p (x) − 7 หารดวย x − c ลงตัว”
(ยกตัวอยางเชน 38 หารดวย 5 เหลือเศษ 3 แสดงวา 38 − 3 ยอมหารดวย 5 ลงตัว)
ดังนั้น p (x) − 7 = 2x + 7x − 4 = (2x − 1)(x + 4) ได c = 1/2 หรือ c = −4 เชนกัน
2
2
2
เทคนิคการหารพหุนาม ด้วยวิธีหารสังเคราะห์ (Synthetic Division)
วิธีหาผลหารของพหุนาม ที่เคยได้ศึกษาผ่านมาแล้วคือการตั้งหารยาว สามารถใช้หารพหุ
นามได้ทุกกรณี (หารด้วยดีกรีเท่าใดก็ได้) ... แต่ในกรณี “การหารพหุนามด้วย x – c (ดีกรีหนึ่ง)”
เราสามารถทําได้รวดเร็วยิ่งขึ้นโดยการหารสังเคราะห์
ในที่นี้สมมติว่า จะหาผลของการหาร x4 − 3x3 + 4x2 + x − 6 ด้วย x − 2
1. เขียนสัมประสิทธิ์ของพหุนามที่เป็นตัวตั้ง (ในที่นี้คือ 1, −3, 4, 1, −6 ) เรียงกันในบรรทัด โดยใส่ค่า
c จากตัวหาร (ในที่นี้คือ 2) ลงในช่องด้านหน้าสุด และเว้นบรรทัดไว้ในลักษณะดังนี้
2
1
−3
4
1
−6
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
38
2. เริ่มขั้นตอนการหารโดยนําตัวเลขในหลักแรกสุด (ในที่นี้คือ 1) ลงมาเขียนด้านล่างตรงบรรทัดของ
ผลลัพธ์ ... จากนั้นใช้ตัวหาร (คือ 2) คูณผลลัพธ์นี้ ไปใส่ไว้ใต้หลักถัดไป
2
1
↓
−3
2
2/
4
1
−6
1
3. พิจารณาที่หลักถัดไป ให้บวกเลขเข้าด้วยกัน ( −3 + 2 = −1 ) นําไปใส่ไว้บรรทัดล่าง
แล้วใช้ตัวหาร (คือ 2) คูณผลลัพธ์นี้ ไปใส่ไว้ใต้หลักถัดไปอีก ... ทําซ้ําเรื่อยๆ จนครบทุกหลัก
2
1
−3 4 1
2 −2 4
1
−1
2
−6 +
10
5
4
4. ในบรรทัดผลลัพธ์ที่ได้ ตัวเลขในหลักสุดท้ายคือ เศษ และตัวเลขที่เหลือด้านหน้าคือสัมประสิทธิ์
ของผลหาร (ดีกรีลดลงไปหนึ่งเสมอ) ... ในที่นี้ผลหารก็คือ x3 − x2 + 2x + 5 เศษ 4
3
ตัวอยาง ใหหาเศษจากการหาร 2x − 7x + 6 ดวย x + 1
วิธีคิด หากไมตอ งการใชทฤษฎีเศษ
−1
2 0 −7
−2 2
ก็สามารถใชวิธีตั้งหารสังเคราะห ไดผลดังนี้
2 −2 −5
แสดงวา ผลหารเปน 2x − 2x − 5 และเหลือเศษ 11
หมายเหตุ พจนใดหายไป เมือ่ ตัง้ หารสังเคราะหตองใส
สัมประสิทธิ์เปน 0 ดวย (เชนในโจทยขอนี้ไมมีพจน x ) มิฉะนั้นผลหารที่ไดจะไมถูกตอง
•
2
6
5
11
2
3
2
ตัวอยาง ใหแยกตัวประกอบพหุนาม 3x − 7x + 4
วิธีคิด เนื่องจากตัวประกอบของ 4 (สัมประสิทธิต์ ัวสุดทาย) ไดแก ±1, ±2, ±4
และตัวประกอบของ 3 (สัมประสิทธิ์ตัวแรกสุด) ไดแก ±1, ±3
จากทฤษฎีตัวประกอบจํานวนตรรกยะ จะไดวาจํานวนทีน่ าจะเปนคําตอบ ไดแก
±1, ± 2, ± 4, ± 1/3, ± 2/3, ± 4/3 ...
1
3
จากนั้นทดลองนําจํานวนเหลานีม้ าหารสังเคราะหทีละจํานวน
หากพบวาตัวใดทําใหเศษเปน 0 ตัวนั้นก็จะเปนคําตอบ ...
2
3
ซึ่งจากการหารสังเคราะหในตัวอยางดานขวานี้ ทําใหทราบวา
•
−7
0
4
3 −4 −4
−4 −4
6
4
3
3x3 − 7x2 + 4 = (x − 1)(x − 2)(3x + 2)
หมายเหตุ ลําดับของตัวหารไมจําเปนตองเหมือนกับในตัวอยาง (เชนอาจจะใช
2
2
0
0
กอนก็ได)
แบบฝึกหัด 2.2
(12) ถ้าหาร 4x3 − 21x2 + 26x − 17 ด้วย x − 4 แล้วเหลือเศษ a
และหาร 3x3 + 13x2 + 11x + 5 ด้วย x + 3 แล้วเหลือเศษ b แล้วให้หาค่าของ b – a
(13) ถ้า
x−1
หาร
x2 + 2a
และ
x +2
หาร
x+ a
แล้วเหลือเศษเท่ากัน ค่า a เป็นเท่าใด
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(14) ถ้าหาร
เป็นเท่าใด
(15) ถ้า
ค่า
a+b
x4 − x3 + 3x2 − x − 1
x −2
ระบบจํานวนจริง
39
2x3 + x2 + 75x + a
และ
x3 − ax2 +
เป็นตัวประกอบร่วมของ
ด้วย
a
x + 2b
4
x −5
กับ
แล้วเหลือเศษเท่ากัน ค่า a
1 2
x + x −b
a
แล้ว
เป็นเท่าใด
(16) ถ้า x2 − 2x − 3 เป็นตัวประกอบของ x4 + ax3 + bx2 + 3x + 4
และ x2 + x − 2 เป็นตัวประกอบของ x3 + 10x2 + cx + d แล้ว a + b + c + d มีค่าเท่าใด
(17) ให้หา ห.ร.ม. ของพหุนาม
(18) ให้หา ค.ร.น. ของพหุนาม
x3 − 7x + 6 , 3x3 − 7x2 + 4
x3 − 2x2 − 5x + 6
และ
และ
x4 − 3x3 + 6x − 4
x3 + x2 − 10x + 8
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
¶ÒËÒÃÊa§e¤ÃÒaË´ÇÂeÅ¢eÈÉÊǹ eª¹ 2/3 æÅǾºÇÒãªä´ (eÈÉ
e»¹ÈÙ¹Â) æÊ´§ÇÒ µaÇ»Ãa¡oº·Õèä´¤×o x-2/3 ¹a¤Ãaº ... oÂÒe¾iè§
e¢Õ¹ 3x-2 ¨¹¡ÇÒ¨a´Ö§ 3 ¨Ò¡Ç§eÅçºo×è¹ÁÒ¤Ù³¡o¹ ¹a¤Ãaº!
(19) แยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
3x6 − 2x5 − 64x4 + 96x3 − 27x2 + 98x + 40
(20) ให้หาเซตคําตอบของสมการ x2 + a2b2 + 2abx − b2 = 0
(20.1) เมื่อ a เป็นเอกลักษณ์การบวกในระบบจํานวนจริง
(20.2) เมื่อ b เป็นเอกลักษณ์การบวกในระบบจํานวนจริง
(20.3) เมื่อ a เป็นเอกลักษณ์การคูณในระบบจํานวนจริง
(20.4) เมื่อ b เป็นเอกลักษณ์การคูณในระบบจํานวนจริง
2.3 อสมการ
สมบัติของการไม่เท่ากัน
[1] บทนิยามของการมากกว่าและน้อยกว่า
a < b ↔ b − a ∈ R+
a > b ↔ a − b ∈ R+
a > b ∧ b > c → a > c
[2] สมบัติการถ่ายทอด (Transitive Property)
[3] สมบัตกิ ารบวกและคูณด้วยจํานวนที่เท่ากัน
a > b → a+c > b+c
c>0
a > b → ac < bc ,
c<0
a+c > b+c → a > b
[4] กฎการตัดออกสําหรับการบวกและการคูณ
[5] สมบัติไตรวิภาค (Trichotomy Property)
ถ้า a, b ∈ R แล้ว a
[6] บทนิยามของการไม่มากกว่าและไม่น้อยกว่า
a > b → ac > bc ,
= b
ac > bc → a > b ,
c>0
ac > bc → a < b ,
c<0
หรือ
a < b ↔ a
a > b ↔ a
a < b
หรือ
a > b
อย่างใดอย่างหนึ่ง
ไม่มากกว่า b (น้อยกว่าหรือเท่ากับ)
ไม่น้อยกว่า b (มากกว่าหรือเท่ากับ)
[7] การเปรียบเทียบสองด้าน
a<b<c ↔ a<b
a<b<c ↔ a<b
และ
และ
b<c
a<b<c ↔ a<b
b<c
a<b < c ↔ a<b
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
และ b < c
และ b < c
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
40
ช่วง และการแก้อสมการ
ช่วง (Interval) คือเซตที่บอกสมาชิกด้วยขอบเขต
นิยมแสดงเป็นกราฟบน เส้นจํานวน (Number Line)
ช่วงเปิด (a, b) หมายถึง { x | a < x < b }
ช่วงปิด [a, b] หมายถึง { x | a < x < b }
ช่วงครึ่งเปิด (a, b] หมายถึง { x | a < x < b }
และช่วงครึ่งเปิด [a, b) หมายถึง { x | a < x <
ช่วง (a, ∞) หมายถึง { x | x > a }
ช่วง [a, ∞) หมายถึง { x | x > a }
ช่วง (−∞, a) หมายถึง { x | x < a }
ช่วง (−∞, a] หมายถึง { x | x < a }
และช่วง (−∞, ∞) หมายถึงเซตของจํานวนจริง
a
b
b}
R
* สองกรอบนี้ใช้ประกอบโจทย์แบบฝึกหัดข้อ 23 ถึง 25
2
ขอบเขตของ x เมื่อกําหนด a < x < b
- ถา a > 0 และ b > 0 จะไดขอบเขตเปน (a , b )
- ถา a < 0 และ b < 0 จะไดขอบเขตเปน (b , a )
- ถา a < 0 ขณะที่ b > 0 ขอบเขตที่ไดจะมีคา ต่ําสุดเปน 0 และเปนชวงครึ่งปด (เปน 0 ได)
คาสูงสุดใหเลือกระหวาง a กับ b วาตัวใดมากกวากัน
เชนถา x ∈ (−4, 3) จะเห็นวา x มีคาตั้งแตติดลบจนถึงบวก
แสดงวาผานคานอยๆ เชน −1, 0, 1 ฯลฯ ดวย ...เมื่อนําไปยกกําลังสอง คาต่ําสุดจึงตองเปน 0
สวนคาสูงสุดเลือกระหวาง 9, 16 ... สรุปวา x อยูในชวง [0, 16)
หมายเหตุ : ขอบเขตของ x ก็คดิ ในลักษณะเดียวกันกับ x
2
2
2
2
2
2
2
2
หลักในการคํานวณ (บวกลบคูณหาร) ระหวาง 2 ชวง คือ a < x < b และ c < y < d
สมมติตองการผลคูณ xy ใหหาผลคูณ ac, ad, bc, bd ใหครบ
แลวพิจารณาวาในผลคูณทั้งสี่ทีไ่ ด ตัวใดมีคาต่ําสุดและตัวใดสูงสุด ... คา xy จะอยูในชวงนั้น
เชน ถา x ∈ (−1, 3) และ y ∈ (−5, 4) ถามวา xy อยูในชวงใด
เนื่องจากผลคูณทั้งสี่คือ 5, −4, −15, 12 ... ดังนัน้ xy อยูในชวง (−15, 12)
กับการบวก ลบ และหาร ก็ทําเชนเดียวกัน (แตกรณีหาร ตัวหารตองไมเปน 0)..
เชน ถา x ∈ (−1, 3) และ y ∈ (2, 4) ผลหารทั้งสี่เปน −1/2, −1/4, 3/2, 3/4
..ดังนัน้ x / y อยูในชวง (−1/2, 3/2)
ขอสังเกต คา x + y จะมีขอบเขตเปน (a+c, b +d) เสมอ
(ตัวนอยสุดยอมเกิดจากนอยบวกนอย และตัวมากสุดยอมเกิดจากมากบวกมาก)
และคา x − y จะมีขอบเขตเปน (a−d, b−c) เสมอ
เนื่องจากการนําลบคูณ y จะกลับดานเปน −d < −y < −c ... แลวนํามาบวกกันกับ
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
x
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
41
สมการ (Equality) คือประโยคที่มีตัวแปรและกล่าวถึงการเท่ากัน การแก้สมการ คือการหา
ค่าของตัวแปรที่ทําให้ประโยคนั้นเป็นจริง อาจกล่าวว่าเป็นการหา “เซตคําตอบของสมการ” หรือการ
หา “รากของสมการ” ก็ได้ ส่วน อสมการ (Inequality) คือประโยคที่มีตัวแปรและกล่าวถึงการไม่
เท่ากัน (ได้แก่ > > < < หรือ ≠ ) การแก้อสมการ ก็คือการหาค่าของตัวแปรที่ทําให้ประโยคนั้น
เป็นจริง ซึ่งอาจกล่าวว่าเป็นการหา “เซตคําตอบของอสมการ” ก็ได้เช่นกัน
S ¡ÒÃæ¡oÊÁ¡Òùaé¹ÁÕ¢o¤ÇÃÃaÇa§´a§¹Õé
1. ¡ÒúǡËÃ×oź·aé§Êo§¢Ò§¢o§oÊÁ¡Òà æÅa¡Òõa´oo¡ÊíÒËÃaº¡Òúǡź ·íÒä´eÊÁo
2. ¡ÒäٳËÃ×oËÒ÷aé§Êo§¢Ò§¢o§oÊÁ¡Òà µo§ÃaÇa§eÃ×èo§¡ÒÃe»ÅÕè¹e¤Ã×èo§ËÁÒÂ
¶Ò¹íÒ¨íҹǹź¤Ù³ËÃ×oËÒ÷aé§Êo§¢Ò§¢o§ÊÁ¡Òà µo§¡Åaº´Ò¹e¤Ã×èo§ËÁÒÂÁÒ¡¡ÇÒ/¹o¡ÇÒ
3. ¡ÒáÅaºeÈÉe»¹Êǹ ¡Òá¡íÒÅa§Êo§·aé§Êo§¢Ò§ ¡Òäٳä¢Ç ¶ÒäÁ¨íÒe»¹äÁ¤Ç÷íÒ¹a¤Ãaº
e¾ÃÒae¤Ã×èo§ËÁÒÂoÒ¨¼i´ (¤×oºÒ§¤Ãaé§eÃÒäÁ·ÃҺ湪a´ÇÒµo§¡Åaº´Ò¹e¤Ã×èo§ËÁÒÂËÃ×oäÁ)
เทคนิคการหาช่วงคําตอบของอสมการพหุนาม
1. เมื่อแยกตัวประกอบเรียบร้อยแล้ว อสมการโดยทั่วไป (ในตัวอย่างสมมติว่าเครื่องหมายเป็น
2
จะอยู่ในรูป (x − c1)(x − c2)(x − c3)... > 0
เช่น (x + 3)(x −31) > 0
(x − d1)(x − d2)...
>)
x (x − 2)
2. เขียนเส้นจํานวนและระบุตําแหน่งของ c1, c2 , c3 , d1, d2 , ... ให้ครบทุกตัว
(เรียงตามลําดับน้อยไปมาก) และหากมีตัวประกอบใดอยู่หลายครั้ง
ก็เขียนจุดเป็นจํานวนเท่านั้นครั้งด้วย เช่นในภาพ
-3 0 1 1 2 2 2
3. ใส่เครื่องหมาย +, –, +, – สลับกันไปในช่วงย่อยๆ
- + - + - + - +
บนเส้นจํานวน โดยเริ่มจากช่วงขวามือที่สุดเป็น + เสมอ
-3 0 1 1 2 2 2
4. หากในอสมการเป็นเครื่องหมาย “มากกว่าศูนย์” ช่วงคําตอบจะเป็นช่วงเปิด ในช่วง +
หากเป็นเครื่องหมาย “น้อยกว่าศูนย์” ช่วงคําตอบจะเป็นช่วงเปิด ในช่วง –
โดยที่ถ้ามีเครื่องหมาย “เท่ากับศูนย์” อยู่ด้วย ช่วงคําตอบจะเปลี่ยนเป็นช่วงปิด
- + - + - + - +
ทั้งนี้ต้องระวังเรื่องเศษส่วน ที่ตัวส่วนต้องไม่เป็นศูนย์
-3 0 1 1 2 2 2
( x ≠ d1, d2 , ... )
5. จัดรูปคําตอบให้กระชับ (ยุบรวมจุดที่เป็นจุดเดียวกัน)
เช่น ในตัวอย่างนี้ตอบว่า x ∈ [−3, 0) ∪ {1} ∪ (2, ∞)
-3 0 1
2
* หากมีจุดซ้ํากันเกิน 2 จุด (ยกกําลังมากกว่า 2) ถ้าเป็นกําลังคู่ให้เขียนจุดเพียง 2 จุด แต่ถ้าเป็น
กําลังคี่ให้เขียนจุดเพียงจุดเดียว เนื่องจากในตอนท้าย ช่วงที่ได้ก็จะยุบรวมกันเสมอ
ข้อควรระวัง
การใช้เส้นจํานวนในการหาคําตอบ สัมประสิทธิ์หน้า x ทุกๆ
วงเล็บจะต้องไม่ติดลบ (หากติดลบให้นํา -1 คูณทั้งสองข้าง
เพื่อให้เครื่องหมายกลายเป็นบวก และอย่าลืมกลับด้าน
เครื่องหมายมากกว่า/น้อยกว่าด้วย) เช่น (x+1)(3-x) > 0
แบบนี้ต้องเปลี่ยนเป็น (x+1)(x-3) < 0 ก่อน
Math E-Book Release 2.2.04
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
¡ÒÃe¢Õ¹¤íÒµoº¢o§ÊÁ¡ÒÃæÅaoÊÁ¡ÒèaµÒ§¡a¹
¹a¤Ãaº.. ¶Òe»¹ÊÁ¡ÒÃeÃÒ¨aºæµÅaǧeÅçºe»¹ 0
ä´ eª¹ (x-2)(x-3) = 0 ¨aä´ x = 2, 3
¶Ù¡µo§ ..æµ¶Òe»¹oÊÁ¡Òà (x-2)(x-3) < 0
¨a¡ÅÒÂe»¹ x < 2, 3 äÁä´e´ç´¢Ò´!
µo§ËҪǧ¤íÒµoº¨Ò¡eʹ¨íҹǹe·Ò¹aé¹¹a¤Ãaº!
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
•
ระบบจํานวนจริง
42
ตัวอยาง ใหหาเซตคําตอบของสมการ
x 2+ 2x − 19
= 4
x−4
วิธีคิด สามารถยายขางไปคูณไดทนั ที (แตตองกํากับเงื่อนไขวา x − 4 ≠ 0 → x ≠ 4 ดวย)
จะได x + 2x − 19 = 4 (x − 4) ... จากนัน้ ยายทางขวามาลบเปน x − 2x − 3 = 0
หรือ (x + 1)(x − 3) = 0 ... ดังนั้น คําตอบคือ {−1, 3}
2
•
2
ตัวอยาง ใหหาชวงคําตอบของอสมการ
วิธีคิด อสมการนี้ยายขาง
ดังนั้นจึงใชวิธียายเลข
4
x−4
x 2+ 2x − 19
< 4
x−4
ไปคูณไมได เพราะไมแนใจวาตองกลับเครื่องหมาย
ทางขวามาลบแทน ... ไดเปน
จัดรูปฝงซายใหเปนเศษสวนเดียว คือ
x 2− 2x − 3
< 0
x−4
จากนัน้ เปน
(x + 1)(x − 3)
< 0
x−4
-
+
-1
B2 − 4AC
2A
แล้วพบว่าในรู้ทติดลบ) เวลาเขียนเส้นจํานวน
-
3
หมายเหตุ
ถ้ามีพหุนามดีกรีสองที่แยกตัวประกอบเป็นจํานวนจริงไม่ได้ (คือใช้
−B ±
หรือไม
x + 2x − 19
− 4 < 0
x−4
อยูในรูปที่ตอ งการแลว เขียนเสนจํานวนเพื่อหาคําตอบ
(อยาลืม x ≠ 4 ) ... และคําตอบทีไ่ ดคือ (−∞, −1] ∪ [3, 4)
สูตร
<
2
+
4
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
¡Ò÷ÕèeÃÒæÂ¡µaÇ»Ãa¡oºã¹ã¨æÅǹ֡eÅ¢
äÁoo¡ äÁä´æ»ÅÇÒ¡o¹¹aé¹æÂ¡äÁä´¹a
¤Ãaº.. ¨aµo§Åo§ãªÊµÙ ô١o¹ eª¹
ให้ละทิ้งก้อนนั้นไปได้เลย เขียนจุดเฉพาะตัวประกอบที่แยกเป็นกําลัง
หนึ่งได้ (เพราะก้อนนั้นจะเป็นบวกเสมอ และไม่มีผลต่อความจริงเท็จ x2+x-3 < 0 ãªÊÙµÃä´ −1 ± 1 + 12
2
ของอสมการ) เช่น
2
溺¹Õ
Ê
é
ÒÁÒöe¢Õ
Â
¹eÊ
¹
¨í
Ò
¹Ç¹ä´
æÅa
(x + 2)(x − 5)(x + 2x + 2)
< 0 จะได้เส้นจํานวนดังนี้
⎡ −1 − 13 −1 + 13 ⎤
x−3
,
ªÇ§¤íÒµoº¤×o ⎢
⎥⎦
- + +
2
⎣ 2
-2
3
5
สมบัติความบริบูรณ์ (The Axiom of Completeness)
เป็นสมบัติข้อสุดท้ายของระบบจํานวนจริง มีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า สัจพจน์การมีค่าขอบเขตบน
น้อยสุด (Least Upper Bound Axiom)
ค่าขอบเขตบน คือค่าจํานวนจริงซึ่งไม่น้อยกว่าสมาชิกใดๆ ในเซตที่กําหนดให้
เช่น เซต S = {0, −1, −2, −3, −4, ...} มีค่าขอบเขตบนเป็น 0 หรือ 0.5 หรือ 1.8 หรืออื่นๆ เพราะ
ค่าเหล่านี้ไม่น้อยกว่าสมาชิกใดใน S แต่ ค่าขอบเขตบนน้อยสุด ได้แก่ 0 เท่านั้น
ค่าขอบเขตบนน้อยสุดของช่วง
ค่าขอบเขตบนน้อยสุดของช่วง
ค่าขอบเขตบนน้อยสุดของช่วง
(a, b)
และ (a, b] และ [a, b] คือค่า b
(−∞, b) และ (−∞, b] คือค่า b
(a, ∞) และ [a, ∞) และ (−∞, ∞) หาไม่ได้
สมบัติข้อสุดท้ายของระบบจํานวนจริง กล่าวว่า “สับเซตใดๆ ของ R ถ้ามีขอบเขตบนแล้ว
ค่าขอบเขตบนน้อยสุดจะยังอยู่ใน R ” ซึ่งสมบัติข้อนี้ในระบบจํานวนอื่นบางระบบ เช่น Q ไม่มี
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
43
แบบฝึกหัด 2.3
(21) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(21.1) ถ้า (a − b)(b − c)(c − d) > 0 แล้ว a >
(21.2) ถ้า a < b และ n ∈ N แล้ว an < bn
(21.3) ถ้า a > 0 , b > 0 และ a ≠ b แล้ว
(21.4) ถ้า
(22) ถ้า
a < b < c
(22.1)
(22.2)
(23) ถ้า
a ≠ b
แล้ว
a+b
> ab
2
b
a
1
1
+ 2 >
+
a
b
a2
b
แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
และ
3 < y < 6
x2 − y
−6 < x < −2
(24.1)
(24.2)
และ
a+b
a <
< b
2
a+b+c
< c
a <
3
−7 < x < 5
(23.1)
(24) ถ้า
a > 0, b > 0
b > c > d
และ
2 < y < 3
xy
(22.3)
a3 < b3 < c3
(22.4)
ab < bc
แล้ว ค่าต่อไปนี้อยู่ในช่วงใด
(23.2) xy2
แล้ว ค่าต่อไปนี้อยู่ในช่วงใด
(24.3) x/ y
x−y
(25) ต้องการสร้างรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วให้มีเส้นรอบรูป 20 ซม. และความสูงไม่เกิน 5 ซม. ความ
ยาวฐานควรเป็นเช่นไร
(26) ถ้า A และ B เป็นเซตคําตอบของอสมการ 4 < 3x − 2 < 13 และ
11 − x < 4x + 1 < 2x + 7 ตามลําดับแล้ว ในเซต A ∩ B ' จะมีจาํ นวนเต็มเป็นเท่าใดบ้าง
(27) ถ้า m และ n คือจํานวนเต็มที่มากที่สุดและน้อยที่สุด ที่เป็นคําตอบของอสมการ
x2 + 6x + 7 < 0 แล้ว m − n เป็นเท่าใด
(28) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
ก. ผลบวกของค่าสัมบูรณ์ของคําตอบที่เป็นจํานวนเต็มของ
ข. ค่าสัมบูรณ์ของผลบวกของคําตอบที่เป็นจํานวนเต็มของ
20 − 3x − 2x2 > 0
2
3x + 7x − 30 < 0
(29) ถ้า m คือผลบวกจํานวนเต็ม ที่เป็นคําตอบของ 21 + 5x − 6x2 > 0
และ n คือผลบวกจํานวนเต็ม ที่ไม่เป็นคําตอบของ 3x2 − 1 > 1 + x − 3x2 แล้วให้หา
คือ
คือ
13
7
m+n
(30) กําหนด a และ b เป็นจํานวนเต็มที่มากที่สุดและน้อยที่สุด ซึ่งไม่เป็นคําตอบของอสมการ
2x2 + 4x − 5 > 0 ตามลําดับ แล้วข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(30.2) {a + b} ⊂ {a, b}
(30.1) {ab} ⊂ {a, b}
(31) ถ้าพหุนาม x3 + a2x − a − 2 หารด้วย
ค่า a เป็นเท่าใดได้บ้าง
x−1
แล้วเหลือเศษมากกว่า 5
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
44
(32) จงหา
(32.1) เซตคําตอบของอสมการ
x (x − 1)(x − 2)
< 0
(x + 1)(x − 2)
(32.2) เซต (A '∩ B ') ' เมื่อ A เป็นเซตคําตอบของ
เป็นเซตคําตอบของ (x + 4)(x − 3)(x + 2)3 > 0
{x |
(32.3) ผลบวกค่าสัมบูรณ์ของจํานวนเต็มใน
(33) ให้หาเซตคําตอบของ
(x + 2)(x − 3)(x − 1)4 < 0
และ
B
(x + 4)(x + 1)(x − 2)3
> 0}'
x (x − 5)2
x3 − x2 − 4x + 4 > 0
(34) ถ้า A เป็นเซตคําตอบของ x3 + 2x2 < 5x + 6 และ
ผลบวกของจํานวนเต็มใน A ∩ B เป็นเท่าใด
B = (−5, ∞)
แล้ว
(35) ให้หาเซตคําตอบของอสมการต่อไปนี้
(35.1) 1 < 2
x−1
(35.2) [Ent’29]
3x − 1
4
>
x −2
(36) ถ้า A เป็นเซตคําตอบของ
2
x+1
2x − 5
> 0
x+2
และ
B
เป็นเซตคําตอบของ
ให้หาผลบวกของจํานวนเต็มที่มากที่สุดกับจํานวนเต็มที่น้อยที่สุด ในเซต
(37) [Ent’38] ให้ S เป็นเซตคําตอบของ
ค่าของ
a2 + 1
x−1
> 2
x +2
2x − 1
< 1
x+5
แล้ว
B ∩ A'
และ a เป็นขอบเขตบนน้อยสุดของ S แล้ว
เป็นเท่าใด
(38) ให้หาขอบเขตบนน้อยสุดของแต่ละเซตที่กําหนดให้
(38.1) { x | x2 < 7 }
(38.3)
(38.4)
(38.2) { 1, 5, 7, 9 } ∪ [6, ∞)
(39) ถ้า a เป็นขอบเขตบนน้อยสุดของ
และ b เป็นขอบเขตล่างมากสุดของ
A = {x | x =
B = {x | x =
(−2, 6] ∪ [3, 8)
{ x = 2n | n ∈ I }
n
, n ∈ I+ }
n+1
1
, n ∈ I− }
n
แล้ว ให้หาค่า
a+b
(40) ให้หาผลบวกของค่าขอบเขตบนน้อยสุด และค่าขอบเขตล่างมากสุด ของเซตคําตอบของ
อสมการ 2x2 − 5x + 2 < 5
2.4 ค่าสัมบูรณ์
“ค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value หรือ Modulus) ของจํานวนจริง a” ใช้สัญลักษณ์ว่า a
ค่าสัมบูรณ์มีความหมายเชิงเรขาคณิต คือ a เท่ากับระยะห่างระหว่างจุดที่แทน a กับจุด 0
และ a − b เท่ากับระยะห่างระหว่างจุดที่แทน a กับจุดที่แทน b
ดังนั้น นิยามของค่าสัมบูรณ์ของจํานวนจริงเป็นดังนี้
⎧ a
a = ⎨
⎩−a
Math E-Book Release 2.2.04
,a > 0
,a < 0
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
45
จากสิ่งเหล่านี้ ทําให้สรุปทฤษฎีได้หลายอย่าง เช่น
[1] ค่าสัมบูรณ์ต้องไม่น้อยกว่าศูนย์
a > 0 เสมอ
a = −a
[2] ค่าสัมบูรณ์ไม่คํานึงถึงเครื่องหมายลบ
ab = a b
[3] ค่าสัมบูรณ์กระจายได้ สําหรับการคูณ
a
b
[4] ค่าสัมบูรณ์กระจายได้ สําหรับการหาร
a2
[5] ยกกําลังด้วยเลขคู่ไม่ต้องใส่ค่าสัมบูรณ์
[6] ค่าสัมบูรณ์กระจายไม่ได้ สําหรับการบวกลบ
* [7] รากที่ n ของกําลัง n
n
=
a
b
= a
2
a−b = b−a
an = a
โดย
b ≠ 0
= a2
a+b < a + b
⎧⎪ a
an = ⎨
⎪⎩ a
a−b >
ตัวอยาง ใหหาเซตคําตอบของสมการ
วิธีคิด จาก 3 − x = 1 จะได
3 − x = 1 หรือ 3 − x = −1 ...
แปลวา x = 2 หรือ x = 4 ...
ดังนั้น คําตอบคือ {2, −2, 4, −4}
3− x
= 1
เมื่อ n = จํานวนคี่
b
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
ตัวอยาง ใหหาชวงคําตอบของอสมการ 3 − x < 1
วิธีคิด จาก 3 − x < 1 จะได ... −1 < 3 − x < 1 ...
นํา 3 ลบทั้งสามสวนของสมการ −4 < − x < −2 …
นําลบคูณทั้งสมการ 2 < x < 4 …
ดังนั้น คําตอบคือ [−4, −2] ∪ [2, 4]
•
a − b
เมื่อ n = จํานวนคู่
ทฤษฎีที่ช่วยแก้สมการและอสมการที่มีค่าสัมบูรณ์แบบง่าย
(คือมีค่าสัมบูรณ์เดียว และอีกข้างของสมการเป็นค่าคงที่ b ซึ่งมากกว่า 0)
* [1] สมการ x = b
มีความหมายเดียวกับสมการ x2 = b2 (ยกกําลังสองทั้งสองข้างได้)
และยังสรุปได้ว่า “ x = b หรือ x = −b ” ด้วย (วิธีนี้สะดวกกว่าการยกกําลังสอง)
* [2] อสมการ x < b ความหมายเดียวกับ −b < x < b
อสมการ x < b ความหมายเดียวกับ −b < x < b
อสมการ x > b ความหมายเดียวกับ “ x < −b หรือ x > b ”
อสมการ x > b ความหมายเดียวกับ “ x < −b หรือ x > b ”
-b
•
n
ÊÁ¡Ò÷Õèo¡Õ ¢Ò§Ë¹Öè§µi´µaÇæ»Ã eª¹
x + 2 = x ·íÒæºº¹Õéä´..
x + 2 = x ËÃ×o x + 2 = − x
eËÁ×o¹Çi¸Õ¡¡íÒÅa§Êo§·aé§Êo§¢Ò§ æÅÇÂÒÂ
ÁÒź¡a¹ (¼ÅµÒ§¡íÒÅa§Êo§) «Ö觨aµo§µÃǨ
¤íÒµoºeÊÁo¹a¤Ãaº e¾ÃÒa¤íÒµoºã´·Õè·íÒãË
¤ÒÊaÁºÙóµi´Åº ¨aãªäÁä´..
æµ¶Òe»¹oÊÁ¡Òà eª¹
x + 2 < x äÁ¤Ç÷íÒæºº¹Õé!
−x < x + 2 < x e¾ÃÒaµÃǨ¤íÒµoº
ÅíÒºÒ¡ ... ¤ÇÃãªÇi¸ÕæÂ¡ªÇ§ÂoµÒÁ·Õè¨a
o¸iºÒÂã¹ËaÇ¢o¶a´ä»¤Ãaº..
เทคนิคการหาคําตอบของสมการและอสมการที่มีค่าสัมบูรณ์ใดๆ
1. กําหนดจุดที่ทําให้ค่าสัมบูรณ์แต่ละพจน์เป็นศูนย์ ลงบนเส้นจํานวนให้ครบทุกจุดเรียงตามค่าน้อยไป
มาก เช่นสมการ 2x + 1 − x − 2 = x + 3 ... มีค่าสัมบูรณ์อยู่ 2 พจน์ ก็กําหนดจุดบนเส้นจํานวน
2 จุด
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
46
เส้นจํานวนที่ได้จะถูกแบ่งเป็นช่วงย่อยๆ ซึ่งใช้เป็นเงื่อนไขของค่า x เช่นในตัวอย่างนี้จะมีช่วง
x < −1/2 , −1/2 < x < 2 , และ x > 2
(สังเกต : เครื่องหมาย “เท่ากับ” จะอยู่รวมกับ “มากกว่า”
ตามนิยามของการถอดค่าสัมบูรณ์)
-1/2
2
2. ในแต่ละช่วงย่อย สมการจะถอดเครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ทิ้งได้ โดยให้ทดลองแทนจํานวนใดๆ ที่อยู่
ในช่วงนั้นลงไปในค่าสัมบูรณ์ หากภายในค่าสัมบูรณ์ติดลบเมื่อถอดค่าสัมบูรณ์ออกแล้วจะต้องใส่ลบ
เพิ่มให้ แต่ถ้าภายในเป็นบวกแล้วก็ถอดค่าสัมบูรณ์ออกได้เลยไม่ต้องแก้ไขอะไร ... ดังตัวอย่างนี้มี 3
ช่วง จะได้สมการ 3 แบบคือ
x>2
-1/2 < x < 2
x < -1/2
-1/2
2
(-2x - 1) − (-x + 2) = x + 3
(2x + 1) − (-x + 2) = x + 3
(2x + 1) − (x − 2) = x + 3
−x−3 = x+3
3x − 1 = x + 3
x+3 = x+3
x = 2
0 = 0
x = −3
3. ตรวจสอบคําตอบที่ได้ของแต่ละช่วง ให้ใช้คําตอบเฉพาะที่อยู่ในช่วงนั้นจริงๆ (อินเตอร์เซคกับ
เงื่อนไข) แล้วจึงรวมผลที่ได้จากแต่ละช่วงย่อยเข้าด้วยกัน (ยูเนียน) เป็นคําตอบที่แท้จริงของสมการ
(สังเกต : หากแก้สมการแล้วได้ผลเป็น 0 = 0 หรือประโยคอื่นๆ ที่เป็นจริงเสมอ เช่น 3 > 0
แสดงว่าช่วงย่อยนั้นเป็นคําตอบได้ทั้งหมด แต่ถ้าแก้สมการแล้วได้ผลเป็นประโยคที่เป็นเท็จ เช่น
1 = 0 หรือ 3 < 0 แสดงว่าช่วงย่อยนั้นไม่มีค่าใดเป็นคําตอบเลย)
x>2
-1/2 < x < 2
x < -1/2
-1/2
x = −3
2
∅
ตัวอย่างนี้คําตอบที่ได้คือ
x ∈ {−3} ∪ [2, ∞)
แบบฝึกหัด 2.4
(41) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(41.1) ถ้า n ∈ I+ และ n
(41.2) ถ้า a, b > 0 แล้ว
> 1
จะได้
n
an = a
a−b = a − b
(42) ให้หาค่าของจํานวนจริง m ที่น้อยที่สุดที่ทําให้
(42.1) 4x + 0.5 < m เมื่อ −3 < 2x − 1 <
(43) ถ้า
(42.2)
x −2
+5 < m
x
(42.3)
x2 − 25 < m
x−1 < 5
และ
เมื่อ
เมื่อ
0.5
x ∈ (2, 6)
x+5 < 6
y −2 < 4
แล้ว
x+y
มีค่าอยู่ในช่วงใด
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
x > 2
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
47
(44) ให้หาคําตอบของสมการต่อไปนี้
(44.1) x2 − 6 x + 8 = 0
(44.2) x − 1 + x + 1 = 2
(44.3) [Ent’30] x − 4 + x − 3
= 1
(45) ถ้า A เป็นเซตคําตอบของสมการ 2 + 3x = 2 + 3 x
และ B เป็นเซตคําตอบของสมการ 2 + 3x = 2 + 3x แล้วให้หาเซต
8 (x + 2)2 − 14 (x + 2) + 3 = 0
(46) ให้หาผลบวกของคําตอบทั้งหมดของสมการ
(47) ถ้า
A = { x ∈ I | x2 + 3x + 3 = 2x + 3 }
แล้ว ให้หาค่า
a2 + b2
และ
B = {x ∈ I |
5 − 3x
= 2}
x+2
เมื่อ a, b เป็นค่าขอบเขตบนน้อยสุดและขอบเขตล่างมากสุดของ
2
x )x = x 3
(
(48) ให้หาคําตอบทั้งหมดของสมการ
(49) ให้หาคําตอบของอสมการต่อไปนี้
(49.1) 2x − 1 < 3x + 2
(49.2)
3 < x −2 < 6
(49.3)
x +
1
> 0
x
(49.4)
(49.5)
และ
และ B เป็นเซตคําตอบของอสมการ
A = {x ∈ R | x <
3
< x
x−1 − 2
x
x −1
< 2
x2 − x − 2 < 0
x+2
+ x < 4
2
(50) ถ้า A เป็นเซตคําตอบของอสมการ
(51) ถ้า
B ∩ A'
x < x−7
4x + 5
2
< 5}
แล้วให้หาเซต
(A ∩ B) '
แล้วข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(51.1) ถ้า a, b ∈ A แล้ว (a + b)/2 ∈ A
(51.2) ถ้า a, b เป็นขอบเขตบนค่าน้อยสุด และขอบเขตล่างค่ามากสุดของ A
แล้ว
a+b ∈ A
(52) ถ้า
A = { x ∈ R | x2 − 2 < 14 }
แล้ว มีจํานวนเต็มใน
A ∩B'
และ
B = {x ∈ R |
1
− 1 > 0}
x
กี่จํานวน
(53) ให้หาค่า a, b, c ที่เป็นจํานวนนับที่น้อยที่สุด ที่ทําให้
(53.1) −4 < x < 1 เป็นคําตอบของอสมการ ax + b <
(53.2) x < −10 หรือ x > 8 เป็นคําตอบของอสมการ
c
ax + b > c
(54) ให้หาคําตอบของอสมการต่อไปนี้
(54.1) 3x + 2 < 4x + 1
(54.2) [Ent’41]
x −2
< 2
x+1
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
A ∪B
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(54.3)
(54.4)
(54.5)
ระบบจํานวนจริง
48
x − 7 < 5 < 5x − 25
x −1 + x −3 < x −5
x2 − 5x − 4
> 1
x2 + x − 2
* (55) ให้หาคําตอบของอสมการ
x −3 < x −2
(56) ให้หาค่า x ที่ทําให้
(56.1) (1 − x )(1 + x) เป็นจํานวนจริงบวก
(56.2) (1 − x )(1 + x) เป็นจํานวนจริงลบ
2.5 ทฤษฎีจํานวนเบื้องต้น
* ในหัวข้อนี้เราจะกล่าวถึงจํานวนเต็มเท่านั้น
สมบัติของจํานวนเต็มกับการหาร
[1] บทนิยามของการหารจํานวนเต็มลงตัว
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค “m หารด้วย n ลงตัว” คือ n m
เรียก m ว่า ตัวตั้ง (Dividend) และเรียก n ว่า ตัวหาร (Divisor)
สําหรับจํานวนเต็ม m, n โดยที่ n ≠ 0 จะได้ว่า n m ก็ต่อเมื่อ m = n q และ q ∈ I
[1.1] สมบัติการถ่ายทอด
ถ้า a b และ b c แล้ว a c
[1.2] ตัวหารที่ลงตัวย่อมน้อยกว่า
ถ้า a b แล้ว a < b เสมอ
[1.3] การหารผลรวมเชิงเส้นลงตัว
ถ้า a b และ a c แล้ว a (bx + cy)
“ผลรวมเชิงเส้น (Linear Combination) ของ b กับ c” คือจํานวนในรูป bx + cy ซึ่ง x, y ∈ I
S Êiè§·Õè¤Ç÷ÃÒº! S
1. ¶Ò a b æÅa a c æÅÇ a (b ± c)
3. ¶Ò a b æÅÇ a bn
2. ¶Ò a b æÅÇ a (b ⋅ c)
4. ¶Ò an b æÅÇ a b
* »Ãao¤´Ò¹º¹¹Õé¶Ù¡·u¡¢o æµ¶Ò¡Åaº´Ò¹»Ãao¤eËÅÒ¹Õé¨a¼i´¹a¤Ãaº!
»Ãao¤´Ò¹ÅÒ§¹Õé¼i´·u¡¢o!
3. ¶Ò a bn æÅÇ a b
1. ¶Ò a (b ± c) æÅÇ a b æÅa a c
2. ¶Ò a (b ⋅ c) æÅÇ a b
4. ¶Ò a b æÅÇ an b
[2] บทนิยามของการหารจํานวนเต็มใดๆ
สําหรับจํานวนเต็ม m, n โดยที่ n ≠ 0 จะได้ว่า m = n q + r และ q ∈ I , 0 < r < n
มีจํานวนเต็ม q, r ชุดเดียวเท่านั้น เรียก q ว่า ผลหาร (Quotient) และ r คือ เศษ (Remainder)
[3] บทนิยามของ จํานวนเฉพาะ (Prime Numbers)
“จํานวนเฉพาะ p คือจํานวนเต็มที่ไม่ใช่ 0, 1, −1 และมีจํานวนเต็มที่ไปหาร p ลงตัวเพียงแค่
1, −1, p, −p เท่านั้น” เช่น ±2, ±3, ±5, ±7, ±11, ... ... จํานวนเต็มอื่นๆ ที่ไม่ใช่จํานวนเฉพาะและไม่ใช่
0, 1, −1 จัดเป็น จํานวนประกอบ (Composite Numbers)
[3.1] หลักการมีตัวประกอบชุดเดียว
“ทุกจํานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 จะเขียนในรูปผลคูณของจํานวนเฉพาะบวก ได้แบบเดียว”
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
49
[3.2] จํานวนเฉพาะกับการหารลงตัว
ถ้า
p mn
แล้ว
p m
หรือ
p n
[4] บทนิยามของ จํานวนคู่ (Even Numbers) และ จํานวนคี่ (Odd Numbers)
“จํานวนคู่ คือจํานวนที่เขียนได้ในรูป 2 n เมื่อ n ∈ I ”
“จํานวนคี่ คือจํานวนที่เขียนได้ในรูป 2 n + 1 เมื่อ n ∈ I ”
[5] บทนิยามของ ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม. : the Greatest Common Divisor : GCD) และตัว
คูณร่วมน้อย (ค.ร.น. : the Least Common Multiple : LCM)
“ d เป็น ห.ร.ม. ของ a กับ b ก็เมื่อ d a และ d b และถ้ามี n a และ n b แล้ว n d ”
สัญลักษณ์ที่ใช้แทน ห.ร.ม. ของ a กับ b ที่เป็นบวก คือ (a, b)
“ c เป็น ค.ร.น. ของ a กับ b ก็เมื่อ a c และ b c และถ้ามี a n และ b n แล้ว c n ”
สัญลักษณ์ที่ใช้แทน ค.ร.น. ของ a กับ b ที่เป็นบวก คือ [a, b]
[5.1] ห.ร.ม. คูณกับ ค.ร.น.
(a, b) × [a, b] = a × b เสมอ
[5.2] ห.ร.ม. ของผลหาร
ถ้า (a, b) = d แล้ว (a/d, b/d) = 1
[5.3] ขั้นตอนวิธีการหา ห.ร.ม. ของยุคลิด
การหา ห.ร.ม. ของ a กับ b จะเริ่มโดยเขียน a กับ b ในรูปการหาร แล้วนําเศษที่ได้ไป
b = r1q 2 + r2
r1 = r2q 3 + r3
r2 = r3q 4 + r4 ...
หารต่อๆ ไป คือ a = b q 1 + r1
ทําไปเรื่อยๆ จนกว่าจะหารลงตัว (เศษเป็น 0) จะได้ว่า ห.ร.ม. เท่ากับ เศษตัวสุดท้าย ( rk )
เช่น ต้องการหาค่า ห.ร.ม. ของ 138 กับ 182 จะมีขั้นตอนการหาดังนี้
(182) = (138) 1 + (44)
(138) = (44) 3 + (6)
(44) = (6) 7 + (2)
(6) = (2) 3
ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 2 (เพราะ 2 คือเศษตัวสุดท้าย ที่ทําให้การหารนั้นลงตัว)
หมายเหตุ ถ้า (m, n) = 1 จะเรียก m และ n เป็น จํานวนเฉพาะสัมพัทธ์ (Relative Primes)
(โดยที่ m และ n ไม่จําเป็นต้องเป็นจํานวนเฉพาะ)
การหา ห.ร.ม. หรือ ค.ร.น. ของจํานวนเต็มมากกว่าสองจํานวน สามารถหาจากสองจํานวน
ใดก็ได้ แล้วนําผลที่ได้ไปหา ห.ร.ม. หรือ ค.ร.น. ร่วมกับจํานวนที่เหลือต่อไป
แบบฝึกหัด 2.5
(57) เศษของการหาร
(19)3(288)2
ด้วย 5 เป็นเท่าใด
(58) ให้หา ห.ร.ม. ของ 252 กับ 34 และเขียนในรูปผลรวมเชิงเส้น
เมื่อ x, y เป็นจํานวนเต็ม
d = 252 x + 34 y
(59) ให้หา ห.ร.ม. ของ –504 กับ –38 และเขียนในรูปผลรวมเชิงเส้นด้วย
(60) ถ้า ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ x กับ 128 เป็น 16 และ 384 แล้วค่า x เป็นเท่าใด
(61) [Ent’37] ให้ x, y เป็นจํานวนเต็มบวก โดยที่ x < y ถ้า
จํานวนเฉพาะที่หาร x ลงตัวมี 3 จํานวน แล้ว x, y มีค่าเท่าใด
(x, y) = 9 , [x, y] = 28215
(62) [Ent’38] ให้ x, y เป็นจํานวนเต็มบวก โดยที่ 80 < x < 200
และ x = p q เมื่อ p, q เป็นจํานวนเฉพาะซึ่งไม่เท่ากัน
ถ้า x, y เป็นจํานวนเฉพาะสัมพัทธ์ และมี ค.ร.น. เป็น 15015 แล้วค่า y เป็นเท่าใดได้บ้าง
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
และ
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
50
เฉลยแบบฝึกหัด (คําตอบ)
(1) ผิดทุกข้อ
(2) ข้อ (2.3) ถูก นอกนั้นผิด
(3) ง.
(4) ข้อ (4.1) และ (4.3) ถูก
(5) ถูกทุกข้อ (6) ง.
(7) 6 + 5 และ 1
(8) ค. (9) ง. (10) เท่ากัน
(11.1) ผิด (11.2) ถูก
(12) 1 (13) –3 (14) –81
(15) 4+3 (16) –155/9
(17) (x − 1)(x − 2)
(18) (x − 1)(x − 2)(x − 3)(x + 2)(x + 4)
(19) (x − 2)(x − 4)(x + 5)(3x + 1)(x + 1)
(20.1) {b, −b} (20.2) {0}
(20.3) {0, −2b}
(20.4) {−a − 1, −a + 1}
(21) ข้อ (21.1) และ (21.2) ผิด
(22) ข้อ (22.4) ผิด นอกนั้นถูก
(23.1) (−6, 46)
(23.2) (−252, 180)
(24.1) (−18, −4)
(24.2) (−9, −4)
(24.3) (−3, −2/3)
2
(25) อยู่ในช่วง [7.5, 10) ซม.
(26) 2, 4 (27) 2
(28) ถูกทุกข้อ
(29) (−1 + 0 + 1 + 2) + (0)
(30) ถูกทุกข้อ
(31) a ∈ (−∞, −2) ∪ (3, ∞)
(32.1) (−∞, −1) ∪ (0, 1)
(32.2) [−4, ∞) − {1}
(32.3) 11
(33) [−2, 1] ∪ [2, ∞)
(34) –5
(35.1) (−∞, −1) ∪ (1/3, 1)
(35.2) (2, 8] (36) 0
(37) 5 (38.1) 7
(38.2) ไม่มี (38.3) 8
(38.4) ไม่มี (39) 0
(40) 5/2 (41) ผิดทุกข้อ
(42.1) 3.5 (42.2) 17/3
(42.3) 96 (43) [0, 12)
(44.1) 2, −2, 4, −4
(44.2) [−1, 1]
(44.3) [3, 4]
(45) [−2/3, 0) (46) –8
(47) 90 (48) 1, 6
(49.1) (−1/5, ∞)
(49.2) (−4, −1) ∪ (5, 8)
(49.3) (−1, 2) − {0}
(49.4)
(−1, 3) ∪ [
3 + 21
, ∞)
2
(49.5) (−∞, −2] ∪ (−1, 1) ∪ [2, ∞)
(50) (2, ∞) (51) ถูกทุกข้อ
(52) 7 (53.1) 2, 3, 5
(53.2) 1, 1, 9
(54.1) (−∞, −3/7) ∪ (1, ∞)
(54.2) (−∞, −4) ∪ (0, ∞)
(54.3) (2, 4) ∪ (6, 12)
(54.4) (−1, 3)
(54.5) (−∞, −1] ∪ [−1/ 3, 3] − {1, −2}
(55) (−∞, −1/2) ∪ (5/2, ∞)
(56.1) (−∞, −1) ∪ (−1, 1)
(56.2) (1, ∞) (57) 1
(58) 2 = (252)(5) + (34)(−37)
(59) 2 = (−504)(−4) + (−38)(53)
(60) 48 (61) 495, 513
(62) 105, 165
เฉลยแบบฝึกหัด (วิธีคดิ )
(1.1) ผิด ทศนิยมไม่ซ้ํา เป็นจํานวนอตรรกยะ
(1.2) ผิด ทศนิยมซ้ํา เป็นจํานวนตรรกยะ
(1.3) ผิด เช่น a = 2
(1.4) ผิด เช่น a = 3
(2.1) ผิด เช่น a=0 แล้ว b จะเป็นเท่าใดก็ได้
(2.2) ผิด ต้องเป็น a=0 หรือ b=0 (ไม่จําเป็นต้อง
เป็น 0 พร้อมกันทั้งคู)่
(2.3) ถูก (ตามกฎการคูณเข้าทั้งสองข้าง เอา b
คูณ จะได้ a = c )
(2.4) ผิด เช่น a=0 แล้ว b กับ c ไม่จําเป็นต้อง
เท่ากัน
(3) ก. มีการบวก แต่ไม่มีการคูณ
(เพราะ ลบคูณลบ ได้บวก)
ข. ไม่มีการบวก (เช่น 3 + 5 = 8 → 8 ไม่อยู่ใน
เซตนี้) และไม่มกี ารคูณ (เช่น 3 ⋅ 5 = 15 )
ค. ไม่มีการบวกและคูณเลย (เช่น
และ
3 4
⋅
= 1)
4 3
3
−3
+( ) = 0
4
4
ง. ถูก (เพราะ บวกกันแล้วย่อมยังหาร 4 ลงตัว,
คูณกันก็ยงั หาร 4 ลงตัว)
(4.1) ถูก (จํานวนจริงลบกัน ย่อมเป็นจํานวนจริง)
(4.2) ผิด เพราะ (a − b) − c ≠ a − (b − c)
(4.3) ถูก (นําจํานวนจริงที่ไม่ใช่ 0 มาหารกัน ย่อม
เป็นจํานวนจริง) ... (แต่ถ้ารวม 0 ด้วย ข้อนีจ้ ะผิด
เพราะส่วนเป็น 0 นัน้ ไม่นิยาม)
(4.4) ผิด เพราะ [ a ] ÷ c ≠ a ÷ [b ]
b
c
(5) A = {x | x เป็นจํานวนนับ และ x เป็น
จํานวนตรรกยะ } = {1, 4, 9, 16, 25, 36, ...} หรือ
มองว่า A เป็นเซตของจํานวนนับยกกําลังสองก็ได้..
B = N - A = { จํานวนนับอืน
่ ๆ ที่ไม่อยู่ใน A}
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
51
(5.1) A มีสมบัตปิ ิดการคูณ เพราะจํานวนนับ2
คูณกัน ย่อมยังเป็นจํานวนนับ2
B ไม่มีสมบัติปด
ิ การคูณ เช่น
2 × 2 = 4 → 4 ∉ B ... ดังนัน
้ ข้อนีถ้ ูก
(5.2) A ไม่มีสมบัติปิดการบวก เช่น
(14) เศษ
1+ 1 = 2 → 2∉ A
B
ไม่มีสมบัติปดิ การบวก เช่น
2 + 2 = 4 → 4 ∉ B ... ดังนัน
้ ข้อนี้ถกู
(6) ก. ไม่จริง เช่น ถ้า x = 2 จะไม่มี y ที่เป็น
จํานวนเต็ม ที่ xy = 1
ข. ไม่จริง เช่น ถ้า x = 0 จะไม่มี y ที่เป็นจํานวน
จริง ที่ xy = 1
ค. ไม่จริง เพราะถ้า xy = 1 นั้น xy ∉ A แน่นอน
( 1 ไม่ใช่จํานวนอตรรกยะ)
ง. จริง ไม่วา่ x เป็นจํานวนตรรกยะใด y จะเป็น
จํานวนตรรกยะเสมอ (x, y ≠ 0)
(7) อินเวอร์สการคูณของ a คือ 1/a ... ดังนัน้
1
อินเวอร์สการคูณของ
คือ 6 + 5
6+
5
เอกลักษณ์การคูณของจํานวนจริงใดๆ คือ 1 เสมอ
(8) ก. (a ∗ b) ∗ a = b ∗ a = b → ผิด
ข. (b ∗ c) ∗ b = a ∗ b = b → ผิด
ค. (a ∗ b) ∗ (c ∗ b) = b ∗ a = b → ถูก
ง. (c ∗ a) ∗ (b ∗ a) = c ∗ b = a → ผิด
(9) ตอบ ง. เพราะ x − y ≠ y − x
(10) จะมองแค่วา่ a * b มีสมบัติการสลับทีก่ ็ได้
หรือคิดจาก x ∗ (y ∗ z) = x ∗ (3yz + y + z)
= 3x(3yz + y + z) + x + 3yz + y + z
และ
(z ∗ y) ∗ x = (3zy + z + y) ∗ x
= 3(3zy + z + y)x + 3zy + z + y + x
ก็ได้ ... คําตอบข้อนี้คอื “เท่ากัน”
(11.1) A ไม่มีสมบัติปิดภายใต้ ⊕ เช่น
5+7
= 6 แต่ 6 ∉ A )แต่มีสมบัติการสลับที่
2
เพราะ
(11.2)
3×3
2
a+b
b+a
=
2
2
เสมอ) ... ดังนั้นข้อนี้ผิด
ระบบจํานวนจริง
(5)4 − (5)3 + 3(5)2 − (5) − 1
= 2(5)3 + (5)2 + 75(5) + a
... ดังนัน้ a = −81
(15) เป็นตัวประกอบ แสดงว่า หารแล้วเหลือเศษ 0
a
(2)3 − a(2)2 + (2) + 2b = 0 .... (1)
4
1 2
(2) + (2) − b = 0
a
.... (2)
แก้ระบบสมการ ได้ a = 4, b = 3 → a + b
(16) จาก (x2 − 2x − 3) = (x − 3)(x + 1)
แสดงว่า
จะได้
= 7
⎧(3)4 + a(3)3 + b(3)2 + 3(3) + 4 = 0
⎨( 1)4 a( 1)3 b( 1)2 3( 1) 4 0
⎩− + − + − + − + =
a =
−19
−37
,b =
9
9
และจาก
(x2 + x − 2) = (x + 2)(x − 1)
แสดงว่า
⎧(−2)3 + 10(−2)2 + c(−2) + d = 0
⎨ 3
2
⎩(1) + 10(1) + c(1) + d = 0
จะได้ c = 7, d = −18
ดังนัน้ a + b + c + d = −155
9
(17) แยกตัวประกอบแต่ละพหุนามก่อน
(โดยการหารสังเคราะห์)
จะได้ (x3 − 7x + 6) = (x − 1)(x − 2)(x + 3)
และ (3x3 − 7x2 + 4) = (x − 1)(x − 2)(3x + 2)
และ (x − 3x + 6x − 4) = (x − 1)(x − 2)(x − 2)(x +
ดังนัน้ ห.ร.ม. = (x − 1)(x − 2) = x2 − 3x + 2
(18) แยกตัวประกอบแต่ละพหุนามก่อน
จะได้ (x3 − 2x2 − 5x + 6) = (x − 1)(x − 3)(x + 2)
และ (x3 + x2 − 10x + 8) = (x − 1)(x − 2)(x + 4)
ค.ร.น. = (x − 1)(x − 2)(x − 3)(x + 2)(x + 4)
4
3
= x5 − 17x3 + 12x2 + 52x − 48
(19) (3x + 1)(x − 2)(x − 4)(x + 5)(x2 + 1)
(20.1) a = 0 → x2 − b2 = 0 →
(x − b)(x + b) = 0 → {−b, b}
(20.2)
(20.3)
2
b = 0 → x2 = 0 → {0}
a = 1 → x2 + b2 + 2bx − b2 = 0
→ x + 2bx = 0 → x(x + 2b) = 0 → {0, −2b}
(20.4) b = 1 → x2 + a2 + 2ax − 1 = 0
ไม่มีสมบัติปิดภายใต้ ⊗ เช่น
→ (x + a)2 − 1 = 0 → (x + a − 1)(x + a + 1) = 0
= 4.5 แต่ 4.5 ∉ A และ A มีสมบัติการ
→ {−a + 1, −a − 1}
A
สลับที่ เพราะ
ab
ba
=
2
2
เสมอ ... ดังนัน้ ถูก
(12) a = 4(4)3 − 21(4)2 + 26(4) − 17 = 7
และ b = 3(−3)3 + 13(−3)2 + 11(−3) + 5 = 8
ดังนัน้ b − a = 8 − 7 = 1
(13) เศษ (1)2 + 2a = (−2) + a ดังนัน้ a = −3
(21.1) ผิด เช่น c > b > a และ c > d
แบบนี้ก็ยังได้ (−)(−)(+) > 0 อยู่
(21.2) ผิด เช่น −2 < 1 แต่ (−2)2 < 12
(21.3) ถูก ... พิสจู น์ จาก (a + b) / 2 >
→ a + b > 2 ab
2
2
2
→ a + 2ab + b > 4ab
2
→ a − 2ab + b > 0 → (a − b)2 > 0
(เป็นจริงเสมอ เมื่อ
Math E-Book Release 2.2.04
ab
a ≠ b)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
2)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(21.4) ถูก ... พิสจู น์ จาก
→ b3 + a3 > ab(b + a)
b3 + a3
b+a
>
ab
a2b2
→ (b + a)(b2 − ab + a2) > ab(b + a)
→ b2 − 2ab + a2 > 0 → (b − a)2 > 0
y
2
h +x
h
x
จึงต้องใช้สูตร −b ± b − 4ac
2a
หรืออาจจัดกําลังสองสมบูรณ์ก็ได้ ดังนี้
(x + 3 −
2)(x + 3 +
+
-
−3 − 2
∴m−n = 2
(2x − 5)(x + 4) < 0
(28) ก.
+
ผลบวกที่ตอ้ งการคือ
h2 + x2
-
−4
+
5/2
ถูก
ข. แยกตัวประกอบไม่ออก อาจใช้สูตรหรือจัดกําลัง
สองสมบูรณ์ดังนี้ x2 + 7 x − 10 < 0 →
3
7
49 409
7
409
(x + x +
)−
< 0 → (x + )2 −
<0
3
36
36
6
36
2
→
−7 −
6
409
−7 +
< x <
ประมาณค่าได้เป็น −27/6 <
ค่าสมบูรณ์ที่ตอ้ งการคือ
6
409
x < 13/6
ถูก
2
6x − 5x − 21 < 0 → (3x − 7)(2x + 3) < 0
+
-
+
−3/2
7/ 3
∴ m = −1 + 0 + 1 + 2 = 2
6x2 − x − 2 > 0 → (3x − 2)(2x + 1) > 0
+
0 < h<5 → 0 <
+
−3 + 2
|− 4|+|− 3|+ |− 2|+ |− 1|+ |0|+ |1|+ |2| = 13
2
100 − h
h
= 5−
20
20
15
h2
<5−
→
< 5
4
20
2) < 0
จากเส้นจํานวน ได้ −3 − 2 < x < −3 + 2
ดังนัน้ จํานวนเต็ม m=-3+1=-2 และ n=-3-1=-4
หาค่า x ในเทอมของ h ก่อน
2
แยกตัวประกอบไม่ออก
2
(29)
→ 100 − 20x + x2 = h2 + x2 →
จากโจทย์
x2 + 6x + 7 < 0
| −4 − 3 − 2 − 1 + 0 + 1 + 2 | = 7
2
20 = 2x + 2 h2 + x2 → 10 − x =
∴x =
(27)
(x2 + 6x + 9) − 2 < 0 → (x + 3)2 − 2 < 0
(เป็นจริงเสมอ เมื่อ a ≠ b )
(22.1) และ (22.2) ถูก ... (เป็นสมบัตขิ อง
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตด้วย → xmin < X < xmax )
(22.3) ถูก (เพราะ x3 เป็นฟังก์ชนั เพิ่มเสมอ) →
แต่ถ้าเปลี่ยนเป็นยกกําลังเลขคู่ ข้อนีจ้ ะผิด
(22.4) ผิด เช่น ถ้า b = 0 จะได้ ab = bc
(23.1) จาก −7 < x < 5 → 0 < x2 < 49
และ 3 < y < 6 → −6 < −y < −3
จะได้ −6 < x2 − y < 46 ดังนั้นตอบ (−6, 46)
(23.2) จาก 9 < y2 < 36 จะได้
−252 < xy2 < 180 ดังนั้นตอบ (−252, 180)
(24.1) xy อยู่ในขอบเขตของ
−12, −18, −4, −6 → ตอบ (−18, −4)
(24.2) x − y อยู่ในขอบเขตของ
−8, −9, −4, −5 → ตอบ (−9, −4)
(24.3) x อยู่ในขอบเขตของ −3, −2, −1, −2 / 3 →
ตอบ (−3, −2/ 3)
(25)
ระบบจํานวนจริง
52
h2
5
<
20
4
...ดังนั้น
15
<x <5
4
นั่นคือ ความยาวฐาน 2x อยู่ในช่วง [7.5, 10) ซม.
(26) A ; 6 < 3x < 15 → 2 < x < 5
∴n = 0
(30)
ดังนั้น
และ 4x + 1 < 2x + 7 → 2x < 6 → x < 3
∴ B = (2, 3]
ดังนัน้ A ∩ B ' = A − B = {2} ∪ (3, 5)
จํานวนเต็มใน A ∩ B ' คือ 2 กับ 4
+
2/ 3
m+n = 2
2
2x + 4x − 5 > 0 → x2 + 2x −
→ (x2 + 2x + 1) −
(x + 1 −
∴ A = [2, 5)
B ; 11 − x < 4x + 1 → 10 < 5x → x > 2
−1/2
7
7
> 0 → (x + 1)2 − > 0 →
2
2
3.5)(x + 1 +
+
3.5) > 0
-
−1 − 3.5
เนื่องจาก 3.5 ≈ 1.8 ดังนัน้
ก. {0} ⊂ {0, −2} ถูก
ข. {−2} ⊂ {0, −2} ถูก
Math E-Book Release 2.2.04
5
> 0
2
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
+
−1 + 3.5
a = 0, b = −2
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(31)
−x2 + 8x
x2 − 8x
>
<0
→
0
(x − 2)2(x + 1)
(x − 2)2(x + 1)
x(x − 8)
<0
→
(x − 2)2(x + 1)
(1)3 + a2(1) − a − 2 > 5
→ a2 − a − 6 > 0 → (a − 3)(a + 2) > 0
+
-
−2
+
3
ดังนัน้ a ∈ (−∞, −2) ∪ (3, ∞)
(32.1)
- + - + - +
-1
0
ตอบ (−∞, −1) ∪ (0, 1)
+
(32.2)
A
B
-
1
2 2
- + - +
+
-2 1
-4 -2
-
1 3
3
+
- + - + - +
-1
[−4, ∞) − {1}
รวมแล้วจึงตอบเพียง (2, 8]
(36) A ; 2x − 5 > 0
ผลบวกค่าสมบูรณ์ตามต้องการคือ
(x − 1)(x − 2)(x + 2) > 0
+
-2
-
1
+
2
ตอบ [−2, 1] ∪ [2, ∞)
(34) x3 + 2x2 − 5x − 6 < 0
-
+
B = (−5, ∞)
∴A∩B
คือ
-5
-3 -1
-
-3 -1
2
+
2
ดังนัน้ ตอบ −4 − 3 − 1 + 0 + 1 + 2 = −5
(35.1) ห้ามคูณไขว้เพราะตัวส่วนอาจติดลบ แล้ว
เครื่องหมายจะผิด ควรทําดังนี้ 1 − 2 < 0
x − 1 3x − 1
3x − 1 − 2x + 2
(x + 1)
→
< 0 →
< 0
(x − 1)(3x − 1)
(x − 1)(3x − 1)
-
+
-1
1/3
+
1
5/2
+
-
คือ
+
[−2, 5/2)
ผลบวกที่ตอ้ งการคือ 2 + (−2) = 0
(37) x − 1 − 2 > 0 → x − 1 − 2x − 4
x +2
x+2
−x − 5
x+5
→
> 0 →
< 0
x+2
x +2
+
+
-
2x − 1
2x − 1 − x − 5
−1< 0 →
< 0
x+5
x+5
x−6
→
< 0
x+5
-5
6
→ (x − 2)(x + 1)(x + 3) < 0
A คือ
-2
B;
∴B∩ A' = B − A
| −3 | + | −2 | + | 0 | + | 1 | + | 5 | = 11
-
+
ก็ได้
+ - + - + - +
2 2 8
x−2
x+2
-4 -1 0 2 5 5
(33)
0
แต่ในโจทย์มี x + 1
จึงต้องเพิ่มเงือ่ นไขว่า x + 1 > 0 → x > −1
และนอกจากนั้น 4 > 0 ด้วย → x > 2
(A '∩ B ') ' = A ∪ B = [−4, 1) ∪ (1, ∞)
หรือตอบในรูป
(32.3)
ระบบจํานวนจริง
53
−5
-
−2
> 0
+
ดังนัน้ a = −2 → a2 + 1 = 5
(38.1) ได้ x ∈ (− 7, 7) ตอบ 7
(38.2) ไม่มีขอบเขตบน
(38.3) ตอบ 8
(38.4) {..., −6, −4, −2, 0, 2, 4, ...} ไม่มีขอบเขตบน
(39) A = { 1 , 2 , 3 , ...} จะได้ a = 1
2 3 4
1
1
B = {−1, − , − , ...}
2
3
จะได้
b = −1
ดังนัน้ a + b = 1 − 1 = 0
(40) ยกกําลังสองได้เพราะเป็นบวกทั้งสองข้าง
→ 2x2 − 5x + 2 < 5 → 2x2 − 5x − 3 < 0
→ (2x + 1)(x − 3) < 0
+
-
+
ตอบ (−∞, −1) ∪ ( 1 , 1)
-1/2
3
3
(35.2) การยกกําลังสองทั้งสองข้าง ข้อนีท้ ําได้
2
แต่อย่าลืมเช็คเงือ่ นไขของรู้ท ว่า 2x − 5x + 2 > 0
เพราะขวามือเป็นบวกเสมอ และซ้ายมือนัน้ โจทย์บอก → (2x − 1)(x − 2) > 0
ว่ามากกว่าหรือเท่ากับขวามือ จึงเป็นบวกเสมอด้วย
+
+
(แต่ถ้าโจทย์เป็นเครื่องหมาย < จะห้ามยกกําลัง)
1/2 2
16
4
4
1
>
>0
→
−
ดั
ง
นั
น
้
คํ
า
ตอบคื
อ
2
2
x +1
x+1
(x − 2)
(x − 2)
4x + 4 − x2 + 4x − 4
>0 →
→
(x − 2)2(x + 1)
-1/2 1/2
ผลบวกที่ตอ้ งการคือ
Math E-Book Release 2.2.04
2
1
5
3 + (− ) =
2
2
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
3
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(41.1) ผิด
n
(45) เซต
⎧ a , n = จํานวนคู่
an = ⎨
⎩ a , n = จํานวนคี่
(41.2) ผิด เช่น a = 0, b = −1
จะได้ |a − b| = 1 , |a| − |b| = −1
(42.1) −3 < 2x − 1 < 0.5 → −2 < 2x
→ −1 < x < 0.75
ก. เมื่อ
< 1.5
1
2
<
< 1→
3
x
2
1
2
17
−1 < − < − → 5 < − + 6 <
x
3
x
3
x−2
2
2
+5 = 1− +5 = − +6
แสดงว่า
x
x
x
17
ในช่วง (5, )
3
x −2
17
∴|
+ 5| <
x
3
(42.3)
เซต
-1
1
x > 1 จะได้
x − 1 + x + 1 = 2 → 2x = 2 → x = 1 → {1}
∴
ค.
ข.
3
4
x < 3 จะได้
−x + 4 − x + 3 = 1 → −2x = − 6 → x = 3 → ∅
ก. เมื่อ
3 < x < 4 จะได้
−x + 4 + x − 3 = 1 → 1 = 1 → [3, 4)
ข. เมื่อ
x > 4 จะได้
x − 4 + x − 3 = 1 → 2x = 8 → x = 4 → {4}
ค. เมื่อ
∴
ตอบ
B;
แบ่งช่วงย่อยดังนี้
ก.
ข.
-2/3
ก. เมื่อ
x < −2/ 3
จะได้
−2 + 3x = 2 + 3x → −2 = 2 → ∅
ข. เมื่อ
x > −2/3
จะได้
2 + 3x = 2 + 3x → 0 = 0 → [−2/ 3, ∞)
∴ B = [−2/ 3, ∞)
ดังนัน้ ตอบ
(46)
B ∩ A ' = B − A = [−
2
2
, 0)
3
8 x + 2 − 14 x + 2 + 3 = 0
→ (2 x + 2 − 3)(4 x + 2 − 1) = 0
→ x +2 =
3
2
→ x ∈ {−2 +
หรือ
1
4
3
3
1
1
, −2 − , − 2 + , − 2 − }
2
2
4
4
ผลบวกคําตอบคือ −8
(47) ** เนือ่ งจากทัง้ สองข้างเป็นบวกเสมอ จึง
สามารถยกกําลังสองทั้งสองข้างได้
A; ยกกําลังสอง 2 ข้างแล้วย้ายมาลบกัน
∴
(x2 + 3x + 3)2 − (2x + 3)2 = 0 →
(x2 + x)(x2 + 5x + 6) = 0 →
ค. เมื่อ
ก.
จะได้
(x2 + 3x + 3 − 2x − 3)(x2 + 3x + 3 + 2x + 3) = 0 →
−1 < x < 1 จะได้
−x + 1 + x + 1 = 2 → 2 = 2 → [−1, 1)
ข. เมื่อ
ตอบ [−1, 1]
(44.3) ข้อนี้แบ่งช่วงย่อยดังนี้
−2/ 3 < x < 0
อยู่
(43) −5 < x − 1 < 5 → −4 < x < 6
และ −4 < y − 2 < 4 → −2 < y < 6
ดังนัน้ −6 < x + y < 12 → ∴ |x + y| ∈ [0, 12)
(44.1) |x|2 − 6|x| + 8 = 0 →
(|x | − 4)(| x | − 2) = 0 → |x | = 2 หรือ 4
ตอบ {2, −2, 4, −4}
(44.2) ข้อนี้แบ่งช่วงย่อยดังนี้
x < −1 จะได้
−x + 1 − x − 1 = 2 → −2x = 2 → x = − 1 → ∅
0
จะได้
∴ A = [0, ∞)
→ ∴ | x2 − 25 | < 96
ก. เมื่อ
-2/3
x > 0 จะได้
2 + 3x = 2 + 3x → 0 = 0 → [0, ∞)
→ 0 < x2 < 121 → −25 < x2 − 25 < 96
ข.
x < −2/ 3
ค.
ข.
ค. เมื่อ
−6 < x + 5 < 6 → −11 < x < 1
ค.
แบ่งช่วงย่อยดังนี้
ก.
2 + 3x = 2 − 3x → 6x = 0 → x = 0 → ∅
2 < x < 6 →
ก.
A;
−2 − 3x = 2 − 3x → −2 = 2 → ∅
ข. เมื่อ
∴ −4 < 4x < 3 → −3.5 < 4x + 0.5 < 3.5
→ | 4x + 0.5 | < 3.5
(42.2)
ระบบจํานวนจริง
54
x(x + 1)(x + 2)(x + 3) = 0
∴ A = {0, −1, −2, −3}
ต่อมาคิด B; |5 − 3x| = |2x + 4|
(การย้ายส่วนขึน้ มาคูณ อย่าลืมเงือ่ นไขว่าส่วนห้าม
เป็น 0 นัน่ คือ x ห้ามเป็น -2 ด้วย)
ยกกําลังสอง 2 ข้างแล้วย้ายมาลบกัน เหมือนเดิม
(5 − 3x)2 − (2x + 4)2 = 0 →
(5 − 3x − 2x − 4)(5 − 3x + 2x + 4) = 0 →
(1 − 5x)(9 − x) = 0 → ∴ B = {9}
(โจทย์บอกให้เป็นจํานวนเต็มเท่านั้น)
จะได้ A ∪ B = {0, −1, −2, −3, 9} →
a = 9, b = −3 → a2 + b2 = 90
[3, 4]
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
55
(48) ถอดค่าสัมบูรณ์ได้ 2 กรณีคอื x < 0 กับ (49.4) แยกช่วงย่อย ก. เมือ่ x < 1 จะได้
3
3
x > 0 แต่พบว่า x < 0 ไม่ได้ เพราะขวามือจะติด
<x →
<x →
−
x
+
1
−
2
−
x
−1
ลบ ... จึงเหลือแค่กรณี x > 0 เท่านัน้
3
3 + x2 + x
(โดยที่จริงแล้ว x ≠ 0 เพราะ 00 ไม่นิยาม)
<0 →
−x<0 →
1
2
→ ( x)x = x3 → x 2
x2
ก. มองเฉพาะเลขชี้กําลัง
x2 = 6 → x =
6
−x − 1
−x − 1
x2 + x + 3
> 0 → x + 1 > 0 → x > −1
x +1
→ (−1, 1)
= x3
1 2
x = 3 →
2
ข. มองว่าฐานของเลขยกกําลัง x = 1 ก็ได้ เพราะ
1 ยกกําลังอะไรก็ได้ 1 เท่ากัน ∴ ตอบ {1, 6}
(หมายเหตุ โจทย์ข้อนี้ควรจะใช้เรือ่ ง log ช่วยคิด)
(49.1) แยกช่วงย่อยเหมือนข้อ 44, 45 ก็ได้
ก. เมื่อ x < 1/2 จะได้
−2x + 1 < 3x + 2 → −1 < 5x → x > − 1/5
→ (−1/5, 1/2)
ข. เมื่อ
x > 1/2
x > 1 จะได้
3
3
<x →
−x <0 →
x − 1−2
x −3
3 − x2 + 3x
x2 − 3x − 3
0 →
0 →
x−3
x−3
3 + 21
3 − 21
(x −
)(x −
)
2
2
> 0 (แยกด้วยสูตร)
(x − 3)
ข. เมื่อ
จะได้
2x − 1 < 3x + 2 → −3 < x → x > − 3 → [1/2, ∞)
แล้วเขียนเส้นจํานวน โดยคิดว่า 21 ≈ 4 กว่าๆ
จะได้ [ 3 − 21 , 3) ∪ [ 3 + 21 , ∞) อินเตอร์เซคกับ
2
2
เงื่อนไขช่วง ได้เป็น [1, 3) ∪ [ 3 + 21 , ∞)
ตอบ (−1/5, ∞)
2
[ หมายเหตุ ข้อนี้ใช้วิธียกกําลังสอง 2 ข้างเหมือนข้อ
3 + 21
47 ก็ได้ จะไวกว่า.. แต่จะต้องไม่ลืมเงื่อนไขว่า ฝั่ง ∴ ตอบ (−1, 3) ∪ [ 2 , ∞)
ขวาต้อง > 0 เสมอ (คือ x > -2/3) ]
(49.5) ให้ A แทน x จะได้อสมการกลายเป็น
(49.2) นอกค่าสัมบูรณ์เป็นตัวเลข จึงแก้แบบนี้ได้
A
A
<2 →
−2<0 →
A −1
A−1
−6 < x − 2 < −3 หรือ 3 < x − 2 < 6
∴
−4 < x < −1
A − 2A + 2
A−1
5 < x < 8
ตอบ (−4, −1) ∪ (5, 8)
(49.3) จาก x + 1 > 0 แยกช่วงย่อยคิด
∴
|x|
ก. เมื่อ
x < 0
จะได้
1
x2 − 1
> 0 →
> 0
x
x
(x − 1)(x + 1)
> 0 เขียนเส้นจํานวนได้เป็น
x
x−
(−1, 0) ∪ (1, ∞)
ข. เมื่อ
x+
x >0
1
> 0 →
x
นําไปอินเตอร์เซคเงื่อนไขได้
จะได้
x2 + 1
> 0
x
(−1, 0)
(ด้านบนแยกตัวประกอบไม่ออก) เขียนเส้นจํานวนได้
เป็น (0, ∞) นําไปอินเตอร์เซคเงื่อนไขได้ (0, ∞)
ฉะนั้น คําตอบในส่วนนีค้ ือ (−1, 0) ∪ (0, ∞)
ต่อมา จาก x2 − x − 2 < 0 → (x − 2)(x + 1) < 0
เขียนเส้นจํานวนได้คําตอบเป็น (−1, 2)
สรุปคําตอบของข้อนี้
x ∈ (−1, 0) ∪ (0, ∞) และ x ∈ (−1, 2)
เชื่อมด้วยคําว่า “และ” แปลว่า อินเตอร์เซค
ได้คําตอบ x ∈ (−1, 0) ∪ (0, 2)
0 →
A−2
A −1
0
เขียนเส้นจํานวนได้เป็น A ∈ (−∞, 1) ∪ [2, ∞)
แต่ A จะต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0 เท่านั้น
นั่นคือ A ∈ [0, 1) ∪ [2, ∞) เท่านั้น
และจะได้ x ∈ (−∞, −2] ∪ (−1, 1) ∪ [2, ∞) นั่นเอง
∴ ตอบ (−∞, −2] ∪ (−1, 1) ∪ [2, ∞)
[ หมายเหตุ อสมการนี้จะคิดโดยแยก 2 ช่วงย่อยก็
ได้ คือ x > 0 และ x < 0 แต่ไม่จําเป็นต้องทํา
แบบนั้นเพราะในโจทย์มีคา่ สัมบูรณ์เพียงแบบเดียว ]
(50) A; แยกช่วงย่อย ก. เมื่อ x < −2 จะได้
−x − 2
+ x − 4 < 0 → −x − 2 + 2x − 8 < 0 →
2
x − 10 < 0 → x < 10 → (−∞, −2)
x > −2 จะได้
x +2
+ x − 4 < 0 → x + 2 + 2x − 8 < 0 →
2
3x − 6 < 0 → x < 2 → [−2, 2]
ข. เมื่อ
ดังนัน้ A = (−∞, 2]
[ หมายเหตุ อสมการนี้ถ้าย้าย x ไปลบทางขวา ก็จะ
เห็นว่าใช้วธิ ียกกําลังสองทัง้ 2 ข้าง แบบข้อ 47 ได้ ]
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
B; แยกช่วงย่อย ก. เมือ่
x < 7
จะได้
7
7
x < −x + 7 → 2x < 7 → x <
→ (−∞, )
2
2
x > 7 จะได้
x < x − 7 → 0 < −7 → ∅
ข. เมื่อ
ดังนัน้
7
B = (−∞, )
2
A ∩ B = (−∞, 2]
... ตอบ (A ∩ B) ' = (2, ∞)
(51) คิดทีละซีก คือ
2x < |4x + 5| และ |4x + 5| < 10
จาก 2x < |4x + 5| ใช้วิธีแยกช่วงย่อย
ก. เมื่อ x < −5/ 4 จะได้
2x < − 4x − 5 → 6x < − 5 → x < − 5/6
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไขช่วงแล้วได้
ข. เมื่อ x > −5/4 จะได้
(−∞, −5/ 4)
2x < 4x + 5 → −5 < 2x → x > − 5/2
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไขช่วงแล้วได้ [−5/ 4, ∞)
ดังนัน้ ซีกแรกได้คําตอบรวมกันเป็น x ∈ R
ต่อมา จาก |4x + 5| < 10 จะได้
−10 < 4x + 5 < 10 → −15 < 4x < 5
−15/ 4 < x < 5/4
ดังนัน้ สองซีกอินเตอร์เซคได้เป็น
(51.1) ถูกเสมอ เพราะ
( a + b ∈ A เสมอ)
2
(51.2)
(52)
B;
A
A = [−
15 5
, ]
4 4
เป็นช่วงต่อเนือ่ ง
5
15
10
+ (− ) = −
∈A
4
4
4
ถูก
A ; − 14 < x2 − 2 < 14
−12 < x2 < 16
∴− 4 < x < 4
0 < x2 < 16
→ A = (−4, 4)
คือ
1
1− x
x−1
−1> 0 →
> 0 →
< 0
x
x
x
เขียนเส้นจํานวนได้คําตอบเป็น
B = (0, 1)
∴ A ∩ B ' = A − B = (−4, 0] ∪ [1, 4)
คําตอบคือ มีจาํ นวนเต็มอยู่ 7 จํานวน
(53.1) เทคนิคการคิดคือ
นํา −4 + 1 = − 3 ลบออกทุกส่วนของอสมการ
2
2
เพื่อให้ตวั เลขทางซ้ายและทางขวาเป็นเลขเดียวกัน
จะได้ −4 + 3 < x + 3 < 1 + 3 →
2
2
2
5
3
5
− < x+
<
→ − 5 < 2x + 3 < 5
2
2
2
→ | 2x + 3 | < 5
ระบบจํานวนจริง
56
นั่นคือ
a = 2, b = 3, c = 5
(53.2) คิดเช่นเดียวกับข้อทีแ่ ล้ว คือ
นํา −10 + 8 = −1 ลบออก
2
หรือ x + 1 > 9
→ | x + 1 | > 9 นั่นคือ a = 1, b = 1, c = 9
(54.1) เนื่องจากเป็นบวกทั้งสองข้าง ไม่จาํ เป็นต้อง
ใช้วิธีแยกช่วงย่อย แต่สามารถยกกําลังสองได้เลย
ดังนี้
จะได้
x + 1 < −9
(3x + 2)2 < (4x + 1)2 → (3x + 2)2 − (4x + 1)2 < 0
→ (3x + 2 − 4x − 1)(3x + 2 + 4x + 1) < 0 →
(−x + 1)(7x + 3) < 0 → (x − 1)(7x + 3) > 0
เขียนเส้นจํานวนได้คําตอบเป็น (−∞, − 3) ∪ (1, ∞)
7
(54.2) เนื่องจากตัวส่วนมีค่าสัมบูรณ์จึงเป็นบวก
เสมอ สามารถคูณย้ายไปไว้ทางขวาได้ทันที และ
จากนั้นยังสามารถยกกําลังสองได้ (เหมือนข้อที่แล้ว)
(แต่ต้องไม่ลืมเงือ่ นไขตัวส่วน คือ x ห้ามเป็น -1)
(x − 2)2 < (2x + 2)2 → (x − 2)2 − (2x + 2)2 < 0 →
(x − 2 − 2x − 2)(x − 2 + 2x + 2) < 0 →
(−x − 4)(3x) < 0 → 3(x + 4)(x) > 0
เขียนเส้นจํานวนได้คําตอบเป็น (−∞, −4) ∪ (0, ∞)
(54.3) คิดทีละซีก คือ
|x − 7| < 5
และ |5x − 25| > 5
ก. จาก |x − 7| < 5 จะได้ −5 < x − 7 < 5
นั่นคือ 2 < x < 12
ข. จาก |5x − 25| > 5 จะได้
5x − 25 > 5 หรือ 5x − 25 < −5
x < 4
นั่นคือ x > 6 หรือ
นํา ก. อินเตอร์เซค ข. ได้คําตอบ (2, 4) ∪ (6, 12)
(54.4) แยกช่วงย่อยเป็น 4 ช่วง
ก. เมื่อ x < 1 จะได้
−x + 1 − x + 3 < −x + 5 → −1 < x → (−1, 1)
1 < x < 3 จะได้
x − 1 − x + 3 < −x + 5 → x < 3 → [1, 3)
ข. เมื่อ
ค. เมื่อ
3< x < 5
ง. เมื่อ
x >5
จะได้
x − 1 + x − 3 < −x + 5 → x < 3 → ∅
จะได้
x − 1 + x − 3 < x − 5 → x < −1 → ∅
∴ รวมกันทุกช่วงย่อยแล้วได้คาํ ตอบ (−1, 3)
(54.5) ข้อนี้สามารถย้ายส่วนขึน้ ไปคูณทางขวาแล้ว
ยกกําลังสองทั้ง 2 ข้าง เพือ่ ทําผลต่างกําลังสอง แบบ
ข้อ 54.1, 54.2 ได้เลย.. โดยต้องไม่ลืมเงื่อนไขตัว
ส่วน คือ x ห้ามเป็น -2 กับ 1
แต่ถ้าต้องการคิดแบบตรงๆ จะได้แบบนี้ครับ..
x2 − 5x − 4
x2 − 5x − 4
> 1 หรือ
< −1
2
2
x +x−2
Math E-Book Release 2.2.04
x +x−2
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
57
x2 − 5x − 4
> 1 จะได้
x2 + x − 2
x2 − 5x − 4 − x2 − x + 2
>0 →
x2 + x − 2
(−6x − 2)
(3x + 1)
>0 →
<0
(x + 2)(x − 1)
(x + 2)(x − 1)
(57) พิจารณาจากเลขหลักหน่วย คือ
93 ⋅ 82 → 9 ⋅ 4 → 6 ดังนั้น เศษ = 1
หรือจะคิดจากทฤษฎีเศษก็ได้ คือ
เราพบว่า (4x − 1)3(58x − 2)2 หารด้วย x ย่อม
เหลือเศษเท่ากับ (−1)3 ⋅ (−2)2 = −4 เสมอ
→ ถ้าแทน x ด้วย 5 ก็จะได้ว่า (19)3(288)2
เขียนเส้นจํานวนได้คําตอบ (−∞, −2) ∪ [−1/ 3, 1)
หารด้วย 5 เหลือเศษ −4 ด้วย ... และเศษ −4
2
ข. จาก x 2 − 5x − 4 < −1 จะได้
สําหรับตัวหารเป็น 5 ก็จะหมายถึงเศษ 1
x +x −2
(58) การเขียนผลรวมเชิงเส้น ต้องหา ห.ร.ม. ด้วย
2
2
x − 5x − 4 + x + x − 2
<0 →
วิธีของยุคลิดก่อน ดังนี้
2
x +x−2
252=34(7)+14 .....(ก) 34=14(2)+6 .....(ข)
2(x − 3)(x + 1)
<0
14=6(2)+2 .....(ค) 6=2(3) (ห.ร.ม. เท่ากับ 2)
(x + 2)(x − 1)
จากนั้นย้ายข้างสมการ ก,ข,ค ให้อยู่ในรูป เศษ=.......
เขียนเส้นจํานวนได้คําตอบ (−2, −1] ∪ (1, 3]
ดังนี้ (ก) 14=252+34(-7) (ข) 6=34+14(-2)
ข้อ ก. และ ข. เชื่อมด้วยคําว่า “หรือ” คือยูเนียน
2=14+6(-2) แล้วแทน (ข) ใน (ค) จะได้
(ค)
ดังนัน้ คําตอบคือ (−∞, −1] ∪ [−1/ 3, 3] − {−2, 1}
2
=14+(34+14(-2))(-2)
=14(5)+34(-2)
(55) มีค่าสัมบูรณ์ซอ้ นกัน พิจารณาชัน้ ในสุดก่อน
แทนด้
ว
ย
(ก)
ลงไปอี
ก
จะได้
ก. เมื่อ x < 0 จะได้สมการโจทย์กลายเป็น
2 =(252+34(-7))(5)+34(-2) =252(5)+34(-37)
|− x − 3| < |x − 2|
ดังนัน้ ตอบว่า 2 = 252(5) + 34(-37)
ยกกําลังสองทั้ง 2 ข้างแล้วย้ายมาลบกัน
(59) วิธีเดียวกับข้อที่แล้ว หา ห.ร.ม.ก่อน
(− x − 3)2 < (x − 2)2 → (− x − 3)2 − (x − 2)2 < 0 →
-504=-38(14)+28...(ก) จะได้ 28=-504+(-38)(-14)
(− x − 3 − x + 2)(− x − 3 + x − 2) < 0 →
-38=28(-2)+18....(ข)
จะได้ 18=-38+28(2)
(−2x − 1)(−5) < 0 → (2x + 1)(5) < 0
28=18(1)+10....(ค)
จะได้ 10=28+18(-1)
ได้เป็น x < − 1/2 อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไขได้ช่วงเดิม 18=10(1)+8....(ง)
จะได้ 8=18+10(-1)
ข. เมื่อ x > 0 จะได้สมการโจทย์กลายเป็น
10=8(1)+2.... (จ)
จะได้ 2=10+8(-1)
|x − 3| < |x − 2|
และ 8=2(4) (ห.ร.ม. คือ 2)
ยกกําลังสองทั้ง 2 ข้างแล้วย้ายมาลบกัน
จากนั้นแทน (ง) ใน (จ) ได้ 2=10+(18+10(-1))(-1)
(x − 3)2 < (x − 2)2 → (x − 3)2 − (x − 2)2 < 0 →
=10(2)+18(-1) ... แทน (ค) ลงไป
(x − 3 − x + 2)(x − 3 + x − 2) < 0 →
2 =(28+18(-1))(2)+18(-1) =28(2)+18(-3) ...
(−1)(2x − 5) < 0 → (1)(2x − 5) > 0
แทน (ข) ลงไป 2 =28(2)+(-38+28(2))(-3)
ได้เป็น x > 5/2 อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไขได้ช่วงเดิม =28(-4)+(-38)(-3) ... สุดท้ายแทน (ก) ลงไป
สรุปรวมข้อนี้คาํ ตอบคือ (−∞, − 1/2) ∪ (5/2, ∞)
2 =(-504+(-38)(-14))(-4)+(-38)(-3)
ตอบ 2 = (-504)(-4) + (-38)(53)
(56.1) ก. เมื่อ x < 0 จะได้
2
(60) x ⋅ 128 = 16 ⋅ 384 → x = 48
(1 + x)(1 + x) > 0 → (x + 1) > 0
(61)
ห.ร.ม. คือ 9 = 3 × 3
ซึ่งเป็นจริงเสมอยกเว้นที่ x = −1
ค.ร.น.
คือ 28,215 = 3 × 3 × 5 × 11 × 57
(จะเขียนเส้นจํานวนเพื่อหาคําตอบก็ได้)
ทั้ง x และ y ต้องหาร 9 ลงตัว ดังนั้น
ดังนัน้ คําตอบของช่วงนีค้ ือ (−∞, −1) ∪ (−1, 0)
x = 3 × 3 × 5 × 11 = 495
ข. เมื่อ x > 0 จะได้
ก. จาก
(1 − x)(1 + x) > 0 → (x − 1)(x + 1) < 0
เขียนเส้นจํานวนได้คําตอบเป็น (−1, 1)
และนําไปรวมกับเงื่อนไขช่วง ได้เป็น [0, 1)
สรุปรวมข้อนีต้ อบว่า (−∞, −1) ∪ (−1, 1)
(56.2) คิดวิธีเดียวกันกับข้อที่แล้วก็ได้ หรือจะใช้
คําตอบเดิมมาคิดก็จะรู้ว่า คําตอบคือ (1, ∞)
(จุด x = −1 และ 1 เราไม่นํามาตอบ
เพราะเป็นจุดทีท่ าํ ให้ (1 − |x|)(1 + x) เป็นศูนย์)
y = 3 × 3 × 57 = 513
(62) จํานวนเฉพาะสัมพัทธ์ แสดงว่า ห.ร.ม.
∴ x y = 1 ⋅ 15,015 = 3 × 5 × 7 × 11 × 13
= 1
x มีตัวประกอบ 2 ตัว และ 80 < x < 200
ดังนัน้ x = 13 × 7 หรือ x = 13 × 11 เท่านั้น
ก็จะได้ y = 3 × 5 × 11 = 165 หรือ
y = 3 × 5 × 7 = 105
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ระบบจํานวนจริง
58
eÃ×èo§æ¶Á
ถ้าไม่มีเครื่องคํานวณ จะหาค่ารากที่สองได้อย่างไร..
(1)
5 14 . 00 00
(1) สมมติว่า จะถอดรากที่สองของ 514
เริ่มต้น ให้แบ่งตัวเลขในจํานวน 514 ออกเป็นกลุ่มๆ ทีละ 2 ตัว โดยวัดจาก
จุดทศนิยมมาทางซ้าย ได้แก่ 14 และ 5 (หลักหน่วยอยู่กับสิบ หลักร้อยอยู่กับพัน
หลักหมื่นอยู่กับแสน ไปเรื่อยๆ) และวัดทศนิยมไปทางขวากลุ่มละ 2 ตัวเช่นกัน
(โจทย์ข้อนี้ไม่มีทศนิยมจึงใส่ 00 และ 00 ไปเรื่อยๆ)
(2)
2
(3)
(2) หาจํานวนนับที่คูณตัวเองแล้วได้ใกล้เคียงกลุ่มแรก (คือ 5) ที่สุด
2
(แต่ไม่เกิน 5) นั่นคือ 2 คูณ 2 ... ก็ใส่ 2 ไว้ที่ช่องตัวหาร กับช่องผลลัพธ์
(3) จาก 2 คูณ 2 ได้ 4 ... ใส่ผลคูณคือ 4 ไว้ใต้เลข 5 แล้วนํามาลบกัน เหลือ 1
(4)
2
(4) นําผลลัพธ์ที่ได้ในขณะนี้ (บรรทัดบนสุด) คือ 2 มาคูณสองกลายเป็น 4
ใส่ไว้ที่ช่องตัวหารด้านหน้า ... แล้วดึงเลขกลุ่มถัดไปลงมา (คือ 14) กลายเป็น 114
(5) ต่อมาให้หาค่า x ซึ่งทําให้ 4x คูณ x ได้ใกล้เคียง 114 ที่สุด (แต่ไม่เกิน 114)
... เช่น 41 คูณ 1 ได้ 41, 42 คูณ 2 ได้ 84, 43 คูณ 3 ได้ 129 (เกิน)
ดังนั้น ต้องใช้ 42 คูณ 2 ... ใส่ 2 ไว้ที่ตัวหาร (ต่อท้าย 4) และใส่ 2 ไว้ช่อง
ผลลัพธ์ด้วย จากนั้น 42 คูณ 2 ได้ 84 เอาไปตั้งลบออกจาก 114 (เหลือ 30)
(6) ทําเช่นเดียวกับข้อ (4) และ (5) ไปเรื่อยๆ
คือ เอาผลลัพธ์ในขณะนี้ (22) มาคูณสองกลายเป็น 44 ใส่ไว้ช่องตัวหาร
และดึงกลุ่มถัดไป (คือ 00) ลงมาต่อท้าย 30 กลายเป็น 3000
(7) หาค่า x ซึ่งทําให้ 44x คูณ x ได้ใกล้เคียง 3000 ที่สุด
(แต่ไม่เกิน 3000) ... พบว่า ต้องใช้ 446 คูณ 6
ใส่ 6 ไว้ที่ตัวหาร (ต่อท้าย 44) และใส่ 6 ไว้ช่องผลลัพธ์
จากนั้น 446 คูณ 6 ได้ 2676 เอาไปตั้งลบออกจาก 3000 (เหลือ 324)
4
(5)
(6)
2 2 .
5 14 . 00 00
4
42 1 14
84
44
30 00
2
(7)
2 2 . 6
5 14 . 00 00
4
42 1 14
84
446
30 00
26 76
3 24
2
Math E-Book Release 2.2.04
2 2 . 6 7
5 14 . 00 00
4
42 1 14
84
446
30 00
26 76
4527
3 24 00
3 16 89
.... ....
2
อ่านแล้วทดลองถอดรากที่สองเองดูสิครับ
อย่างเช่น หารากที่สองของ 225, รากที่สองของ 3000, รากที่สองของ 214.7
ตรวจสอบคําตอบกับเครื่องคํานวณ ถ้าตรงกันแสดงว่ารู้หลักในการคิดแล้ว :]
2
5 14 . 00 00
4
1 14
2 2 .
5 14 . 00 00
4
42 1 14
84
30
(8)
ข้อสังเกต จํานวนหลักของคําตอบ จะเท่ากับจํานวนกลุ่มที่แบ่งในโจทย์
เช่น 514 แบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ 5,14 ดังนั้นคําตอบจะมี 2 หลัก (ไม่รวมทศนิยม)
หรือถ้าเป็น 903601 แบ่งได้ 3 กลุ่ม คือ 90,36,01 คําตอบก็จะมี 3 หลัก...
2
5 14 . 00 00
4
1
2
(8) เอาผลลัพธ์ในขณะนี้ (226) มาคูณสองเป็น 452 ใส่ไว้ช่องตัวหาร
และดึงกลุ่มถัดไป (คือ 00) ลงมาต่อท้าย 324 กลายเป็น 32400
หาค่า x ซึ่งทําให้ 452x คูณ x ได้ใกล้เคียง 32400 ที่สุด (แต่ไม่เกิน 32400) ...
พบว่า ต้องใช้ 4527 คูณ 7 ... ใส่ 7 ไว้ที่ตัวหาร (ต่อท้าย 452) และใส่ 7 ไว้
ช่องผลลัพธ์ จากนั้น 4527 คูณ 7 ได้ 31689 เอาไปตั้งลบออกจาก 32400 ...
ทําไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้คําตอบที่มีจาํ นวนทศนิยมเท่าที่ต้องการ
สรุปว่า รากที่สองของ 514 มีค่าประมาณ 22.67...
2
5 14 . 00 00
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
59
lgc
~ ∧ →
º··Õè
3 µÃáÈÒʵÃ
ตรรกศาสตร์ (Logic) เป็นวิชาเกี่ยวกับการใช้
เหตุผลเพื่อวิเคราะห์ค่าความจริง (จริงหรือเท็จ) ของ
ประโยคต่างๆ ความเข้าใจในตรรกศาสตร์เบื้องต้นจะ
ช่วยให้ศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผล
ประโยคทุกประโยคที่มี ค่าความจริง (Truth Value) เป็นจริงหรือเป็นเท็จอย่างใดอย่างหนึ่ง
เราจะเรียกว่า ประพจน์ (Proposition หรือ Statement) ดังนั้นประพจน์อาจเป็นประโยคบอกเล่า,
ประโยคปฏิเสธ เช่น “เมื่อวานฝนตกที่บางกะปิ”, “1 มากกว่า 2”, “เก่งไม่ใช่คนร้าย” เหล่านี้ถือเป็น
ประพจน์ เพราะสามารถให้ค่าความจริงกํากับว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จได้
แต่ประโยคคําถาม ประโยคคําสั่ง ขอร้อง ประโยคแสดงความปรารถนา ประโยคอุทาน
เหล่านี้ไม่ใช่ประพจน์เพราะไม่สามารถให้ค่าความจริงได้ เช่น “กรุณางดใช้เสียง”, “ใครเป็นคนทําแก้ว
แตก”, “อยากไปเที่ยวหัวหินจังเลย” หรือ “โอ้โห วิเศษไปเลยจอร์จ”
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
»Ãao¤·Õè´ÙeËÁ×o¹e»¹»Ãa¾¨¹ ºÒ§¤Ãaé§¡çäÁe»¹»Ãa¾¨¹ ... eª¹
1. ÊÁÈÃÕÊÇ·ÕèÊu´ã¹«o eÃ×èo§¤ÇÒÁÊǹaé¹e»¹eªi§¨iµÇiÊa äÁÊÒÁÒö¿¹¸§ä´ÇÒ¨Ãi§ËÃ×oe·ç¨ ¨Ö§äÁe»¹»Ãa¾¨¹!
2. e¢Ò¡íÒÅa§¡i¹¢ÒÇ oa¹¹Õé¡çäÁe»¹»Ãa¾¨¹ e¾ÃÒaäÁä´e¨Òa¨§ÇÒ e¢Ò ËÁÒ¶֧ã¤Ã ´a§¹aé¹oÒ¨¨a¨Ãi§ËÃ×oe·ç¨¡çä´ äÁ湪´a
(eÃÕ¡»Ãao¤·Õèµi´µaÇæ»Ã溺¹ÕéÇÒ »Ãao¤e»´ ¨aä´ÈÖ¡ÉÒã¹ËaÇ¢o 3.4 ¤Ãaº..)
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประพจน์ต่างๆ เป็นตัวอักษรเล็ก เช่น p, q, r โดยแต่ละประพจน์จะมีค่า
ความจริงที่เป็นไปได้ 2 แบบเท่านั้น คือเป็น จริง (True; T) หรือเป็น เท็จ (False; F)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
60
3.1 ตัวเชื่อมประพจน์ และตารางค่าความจริง
ในชีวิตประจําวันรวมทั้งในวิชาคณิตศาสตร์ เรามักพบการเชื่อมประโยค (ประพจน์) ด้วย
ตัวเชื่อม (Connectives)... และ (and), หรือ (or), ถ้า-แล้ว (if-then), ก็ต่อเมื่อ (if and only if)
และยังพบการเติมคําว่า ไม่ (not) ด้วย... ซึ่งการเชื่อมแต่ละแบบ ส่งผลต่อค่าความจริงดังตาราง
เครื่องหมาย ~ เรียกว่า นิเสธ (Negation) ใช้เพื่อกลับค่าความจริงให้เป็นตรงข้าม
p
q
p และ q
(p ∧ q )
p หรือ q
(p ∨ q )
T
T
T
T
ถ้า p แล้ว q
(p → q )
p ก็ต่อเมื่อ q
(p ↔ q )
ไม่ p
(~p )
T
T
F
T
F
F
T
F
F
F
F
T
F
T
F
T
F
F
F
T
F
T
T
T
การเชื่อมด้วย และ มีกรณีเดียวที่เป็นจริง คือ T ∧ T
การเชื่อมด้วย หรือ มีกรณีเดียวที่เป็นเท็จ คือ F ∨ F
การเชื่อมด้วย ถ้า-แล้ว มีกรณีเดียวที่เป็นเท็จ คือ T → F
ส่วนการเชื่อมด้วย ก็ต่อเมื่อ ถ้าค่าความจริงเหมือนกันจะให้ผลเป็นจริง ต่างกันจะให้ผลเป็นเท็จ
ข้อสังเกต ตัวเชื่อมทั้งสี่นี้ มีเพียง ถ้า-แล้ว ที่ไม่สามารถสลับที่ประพจน์ได้
ตารางที่แสดงค่าที่เป็นไปได้ครบทุกแบบดังนี้ เรียกว่า ตารางค่าความจริง (Truth Table)
จํานวนแบบที่เกิดขึ้นเท่ากับ 2n เมื่อ n คือจํานวนประพจน์ ... เช่น ถ้ามี 1 ประพจน์จะเป็นไปได้ 2
แบบ, ถ้ามี 2 ประพจน์ เป็นไปได้ 4 แบบ (ดังตารางนี้), ถ้ามี 3 ประพจน์จะเป็นไปได้ 8 แบบ
รูปแบบประพจน์ 2 รูปแบบใดๆ ที่ให้ค่าความจริงตรงกันทุกๆ กรณี จะกล่าวว่ารูปแบบทั้ง
สอง สมมูลกัน (Equivalent) (แปลว่า สามารถใช้แทนกันได้) สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงการสมมูลกัน คือ
≡ (ขีดสามขีด)
รูปแบบประพจน์ที่สมมูลกัน ที่ควรทราบได้แก่
• การแจกแจง
• การเติมนิเสธ
•
p ∨ (q ∧ r)
≡ (p ∨ q) ∧ (p ∨ r)
p ∧ (q ∨ r)
≡ (p ∧ q) ∨ (p ∧ r)
การเปลี่ยนตัวเชื่อม
p→q
≡
~p ∨ q
p↔q
≡ (p → q) ∧ (q → p)
≡
~q→~p
~ (p ∧ q)
≡
~p ∨ ~q
~ (p ∨ q)
≡
~p ∧~q
~ (p → q)
≡
p∧~q
~ (p ↔ q)
≡
~p ↔ q
สิ่งที่ควรทราบ
ตัวเชื่อม และ มีสมบัติคล้ายอินเตอร์เซคชันของเซต
ตัวเชื่อม หรือ มีสมบัติคล้ายยูเนียนของเซต
และ นิเสธ มีสมบัติคล้ายคอมพลีเมนต์ของเซต
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
≡
p↔~q
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
61
แบบฝึกหัด 3.1
(1) ให้เติมค่าความจริงหรือประพจน์ที่เหมาะสม ลงในช่องว่าง เมื่อ p เป็นประพจน์ใดๆ
T ∧p
≡
T∨p
≡
T →p
≡
T ↔p
≡
F∧p
≡
F∨p
≡
F→p
≡
F↔p
≡
p∧p
≡
p∨p
≡
p→T
≡
p↔p
≡
p →F
≡
p ↔~p
p→p
≡
p ∧ ~p
≡
p ∨ ~p
≡
p →~p
≡
≡
(2) กําหนดให้ p, r เป็นจริง และ q เป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ
(2.1) [(p ∧ s) ∨ (p ∧ r)] → (p ∨ s)
(2.2) [(q → s) ∨ r] ∨ [(q ↔ s) ∧ r]
(2.3) [(r ↔ q) ∨ (p → q)] → (p ∧ ~ q)
(2.4) [(p ↔ q) ∨ (q → r)] ∨ ~ s
(2.5) [(q → p) ∧ r] ↔ ~ (~ r)
(2.6) [(p ∧ q) → ~ r] → [(~ p ∨ q) ↔ r]
(2.7) [(p ∧ ~ q) ∨ ~ r] ↔ [(p → q) ∧ (~ q → r)]
(2.8) [(p ∧ q) ∧ ~ r] ∧ [(r ∨ ~ s) ∧ (~ p ∨ ~ q)]
(2.9) [p → (q ∧ r)] ∧ [(q → p) ∨ r]
(2.10) [q → (p ∨ r)] → [p → (q ∧ ~ r)]
(2.11) [(~ p → ~ q) ∧ (~ r → ~ s)] ∨ [(~ p → r) ∧ (s → ~ q)]
(3) จงหาค่าความจริงของรูปแบบประพจน์ต่อไปนี้
(3.1) (p ∨ ~ q) → (p → q)
เมื่อ q เป็นจริง
เมื่อ p เป็นเท็จ
(3.2) (p ∨ ~ q) → (p → q)
(3.3) (~ r ∧ p) ∨ (~ (r ∨ s) ∧ (r ∨ ~ q)) เมื่อ p, q เป็นจริง และ r, s เป็นเท็จ
เมื่อ p, r, r → q เป็นจริง
(3.4) (p → q) ∧ (s → p) ∧ (s → q)
เมื่อ p → q เป็นเท็จ, q ∨ r เป็นจริง
(3.5) (~ q ∧ (p ∨ r)) → (~ r)
เมื่อ q → n เป็นเท็จ
(3.6) n → [(m ∨ q) → ~ s]
เมื่อ p → q เป็นเท็จ, q ∨ r เป็นจริง
(3.7) (p ∨ r) ∧ q
เมื่อ (p → q) ∧ (r ∨ s) เป็นจริง, q ∨ s เป็นเท็จ
(3.8) (q ∨ p) → (r ∧ s)
เมื่อ (p ∨ r) → (q ∨ s) เป็นเท็จ, p → q เป็นจริง
(3.9) [Ent’25] r → s
เมื่อ (p ∧ ~ r) → (p → q) เป็นเท็จ
(3.10) (p ∨ r) → ~ q
(3.11) p, q, r
เมื่อ (p ∧ q) → (p → r) เป็นเท็จ
(3.12) r
เมื่อ p ∧ (p ↔ ~ r) ∧ (q → r) เป็นจริง
(3.13) ((p ∧ ~ q) → ~ p) → (p → q)
(3.14) ⎣⎡[p ∨ ~ (r ∧ s)] ∧ ~ p⎤⎦ → (~ r ∨ ~ s)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
62
(4) กําหนดให้ [(p → q) ∧ (p ∨ r)] → (s → r) เป็นเท็จ ข้อใดถูกหรือผิดบ้าง
ก. [(p ↔ q) ∧ (q ↔ r)] ∨ (r ↔ s) เป็นเท็จ
ข. [(~ p ∧ q) → (~ q ∧ r)] → (~ r ∧ s) เป็นจริง
(5) ถ้า [(p ↔ q) → (r ∨ ~ s)] มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงพิจารณาว่ารูปแบบประพจน์ในข้อใดมีค่า
ความจริงเหมือนกับ [(~ p ∧ r) → (q ∨ ~ s)] บ้าง
ข. r ↔ (p ∧ ~ q)
ค. (s → r) ∨ (p → q)
ก. ~ (p ∧ s) → ~ r
(6) ถ้า p สมมูลกับ q และ r ไม่สมมูลกับ s พิจารณาข้อความใดถูกหรือผิดบ้าง
ก. [(p ↔ ~ q) ∨ (r ↔ ~ s)] ↔ [(~ p ∧ q) ∨ (~ r ∨ ~ s)] เป็นเท็จ
ข. [(p ∨ r) ∧ (q ∨ s)] → [(p ∨ ~ q) ↔ (r → ~ s)] เป็นจริง
(7) จงหานิเสธของ
ก. (p → ~ q) ∧ (~ r → s)
ข.
(p ∧ ~ q) → ~ r
(8) กําหนดประพจน์ “ถ้าเดชาขยันและทําการบ้านสม่ําเสมอแล้วเขาจะสอบผ่าน” เป็นเท็จ แล้วข้อใด
เป็นจริง
ก. เดชาขยันแต่ไม่ทําการบ้านสม่ําเสมอ
ข. เดชาไม่ขยันแต่ทําการบ้านสม่ําเสมอ
ค. ถ้าเดชาสอบไม่ผ่านแสดงว่าเขาไม่ทําการบ้านสม่ําเสมอ
ง. เดชาขยันก็ต่อเมื่อเขาสอบไม่ผ่าน
(9) ข้อใดไม่สมมูลกัน
ก. p ∨ q กับ ~ (~ p ∧ ~ q)
ค. ~ p → (q → p) กับ ~ q → p
ข.
ง.
กับ ~ q → ~ p
กับ (~ p → q) ∧ (q → ~ p)
~ (p ∧ ~ q)
~p ↔ q
(10) รูปแบบประพจน์ต่อไปนี้สมมูลกับข้อใด
(10.1) p ↔ q
ข. (~ q → ~ p) ∧ (~ q ∨ p)
ก. (p → q) ∧ (q ∧ ~ p)
ง. (p ∧ ~ q) ∧ (~ p → ~ q)
ค. (p ∧ ~ q) ∧ (q → p)
(10.2) ⎣⎡[((q ∧ ~ t) ∧ p) ∨ ((q ∧ ~ t) ∧ ~ p)] ∨ ~ q⎦⎤ → r
ข. (t ∧ q) ∨ p
ก. q ∧ ~ t ∧ p
ง. (t ∧ q) ∨ r
ค. t ∧ q ∧ r
จ. (t ∧ r) ∨ p
(10.3) [(q ∨ r) ∧ (p ∧ s) ∧ (q ∨ ~ r)] ∨ [(q ∨ ~ r) ∧ (p ∧ ~ s) ∧ (q ∨ r)]
ข. p ∨ q
ก. p ∧ q
ง. p ↔ q
ค. p → q
(11) ข้อความใดสมมูลกับ “ถ้า a < 0 และ b < 0 แล้ว
ก. ถ้า a > 0 หรือ b > 0 แล้ว ab < 0
ข. ถ้า a > 0 และ b > 0 แล้ว ab > 0
ค. ถ้า ab < 0 แล้ว a > 0 หรือ b > 0
ง. ถ้า ab > 0 แล้ว a < 0 และ b < 0
ab > 0 ”
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
63
(12) ข้อความในข้อใดสมมูลกันบ้าง
ก. ถ้า a เป็นจํานวนเต็ม แล้ว a เป็นจํานวนคู่ หรือ a เป็นจํานวนคี่
ข. ถ้า a ไม่เป็นจํานวนคู่ และ a ไม่เป็นจํานวนคี่ แล้ว a ไม่เป็นจํานวนเต็ม
ค. a ไม่เป็นจํานวนเต็ม หรือ a เป็นจํานวนคู่ หรือ a เป็นจํานวนคี่
(13) ข้อใดถูกหรือผิดบ้าง
ก. ~ (p ∧ ~ r) ∨ ~ q สมมูลกับ q → (r ∨ ~ p)
ข. p → (q → r) สมมูลกับ q → (p → r)
ค. (p ∧ q) → r สมมูลกับ (p → ~ q) ∨ (p → r)
(14) กําหนดค่าความจริงของตัวเชื่อม ∗ ดังตาราง
(14.1) (p ∗ p) ∗ (q ∗ q) สมมูลกับข้อใด
ก. p ∧ q
ข. p ∨ q
ง. p ↔ q
ค. p → q
(14.2) [Ent’34] p ∗ q สมมูลกับข้อใด
ก. ~ (~ p → q)
ข. ~ p → q
ง. q → ~ p
ค. ~ (q → ~ p)
p
q
p ∗q
T
T
F
T
F
F
F
T
F
F
F
T
(15) กําหนดให้ p ∗ q ≡ ~ (p ∨ q) ถามว่าอัตราส่วนจํานวนกรณีที่
กรณีที่เป็นเท็จ เป็นเท่าใด
p ∗ (q ∗ r)
เป็นจริง ต่อจํานวน
3.2 สัจนิรันดร์
หากรูปแบบของประพจน์ใดให้ค่าความจริงเป็นจริงเสมอทุกๆ กรณี (สร้างตารางค่าความจริง
แล้วพบว่าเป็นจริงทุกแบบ) เราเรียกรูปแบบนั้นว่าเป็น สัจนิรันดร์ (Tautology)
•
ตัวอยาง ประพจนนี้เปนสัจนิรนั ดรหรือไม
ก. (r ∨ p) → (p → r)
ข. (r ∨ ~ p) ↔ (p → r)
วิธีคิด เขียนตารางแสดงคาความจริงของ p กับ r ใหครบทุกกรณีที่เปนไปได (4 กรณี)
p r r ∨ p p → r (r ∨ p) → (p → r)
p r r ∨ ~ p p → r (r ∨ ~ p) ↔ (p → r)
T
T
F
F
T
F
T
F
T
T
T
F
T
F
T
T
T
F
T
T
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
T
T
T
F
T
T
T
T
T
T
เราพบวา ขอ ก. เกิดกรณีที่เปนเท็จไดดวย จึงไมเปนสัจนิรันดร
แตขอ ข. ผลเปนจริงทุกกรณี จึงเปนสัจนิรันดร
การตรวจสอบรูปแบบประพจน์ว่าเป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ นอกจากจะใช้วิธีเขียนตารางค่าความ
จริงให้ครบทุกกรณีแล้ว โดยทั่วไปนิยมใช้ “วิธีพยายามทําให้เป็นเท็จ” คือถ้าหากรณีที่ทําให้รูปแบบนั้น
เป็นเท็จไม่ได้เลย รูปแบบนั้นก็จะเป็นสัจนิรันดร์ แต่ถ้าทําเป็นเท็จได้แม้เพียงกรณีเดียว รูปแบบนั้น
ย่อมไม่ใช่สัจนิรันดร์
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
64
โดยเฉพาะเมื่อมีประพจน์ย่อยมากๆ (เช่น p, q, r, s, ...) การเขียนตารางให้ครบทุกกรณี
จะทําได้ไม่สะดวก ควรใช้วิธีพยายามทําให้เป็นเท็จ
•
ตัวอยาง ประพจนนี้เปนสัจนิรนั ดรหรือไม
ก. (r ∨ p) → (p → r)
วิธีคิด ก. ใชวิธีพยายามทําใหเปนเท็จ
ข. (r ∨ ~ p) ↔ (p → r)
(r ∨ p) → (p → r)
T
F
F T
T F
ตัวเชื่อมหลักคือ “ถา-แลว” จะเปนเท็จได แสดงวาวงเล็บหนาตองเปนจริง และวงเล็บหลังตองเปนเท็จ
เทานั้น ... วงเล็บหลังเปนเท็จแสดงวา p ตองเปนจริง และ r ตองเปนเท็จ ... นําคาความจริงของ p
และ r ไปใสในวงเล็บหนา ไดคาเปนจริงตามที่ตองการพอดี ... แสดงวาตอนนี้เราทําใหผลเปนเท็จได
สําเร็จ (คือเปนเท็จเมื่อ p เปนจริง, r เปนเท็จ) ขอนี้จึงไมเปนสัจนิรันดร
ข. ตัวเชื่อมหลักคือ “ก็ตอเมื่อ” จะเปนเท็จได 2 แบบ คือ T ↔ F กับ F ↔ T ... การคิดดวยวิธีนี้
คอนขางยุงยาก เราควรเลี่ยงไปใชวิธีในตัวอยางถัดไป คือดูความสมมูลระหวางกอนหนาและหลัง ...
หากตัวเชื่อมหลักเป็น “หรือ”, “ถ้า-แล้ว” สามารถตรวจสอบการเป็นสัจนิรันดร์ได้โดย
พยายามทําให้เป็นเท็จ ดังกล่าวไปแล้ว แต่หากตัวเชื่อมหลักเป็น “ก็ต่อเมื่อ” ควรตรวจสอบการเป็น
สัจนิรันดร์โดยหลักการต่อไปนี้
“ , ↔ + เป็นสัจนิรันดร์ เมื่อ , ≡ + เท่านั้น”
(และถ้า , ≡ + ก็จะได้ว่า , ↔ + ไม่เป็นสัจนิรันดร์)
ตัวอยาง ประพจนนี้เปนสัจนิรนั ดรหรือไม (r ∨ ~ p) ↔ (p → r)
วิธีคิด เนื่องจากตัวเชื่อมหลักเปน “ก็ตอเมื่อ” จึงตรวจสอบวาซายกับขวาสมมูลกันหรือไม
พบวา วงเล็บขวาคือ p → r ≡ ~ p ∨ r ≡ วงเล็บซาย ... ดังนัน้ เปนสัจนิรันดร
•
แบบฝึกหัด 3.2
(16) ประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
(16.1) (p ∧ q) → [(p ∨ q) → r]
(16.2) (p ∨ q) → [(p ∧ q) → r]
(16.3) [Ent’29] [(p → q) ∧ (q → r)] → (p → r)
(16.4) [(p → r) ∧ (q → r)] → [(p ∧ q) → r]
(16.5) [(p → r) ∧ (q → r)] → [(p ∨ q) → r]
(16.6) [(p → r) ∧ (q → s) ∧ (p ∧ q)] → (r ∨ s)
(16.7) [Ent’29] ⎡⎣[(p ∧ q) → r ] ∧ (p → q)⎤⎦ → (p → r)
(17) ประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
(17.1) [Ent’23] ~ (p → ~ q) ↔ (p ∧ q)
(17.2) [(~ p ∧ q) ∨ p] ↔ (p ∧ q)
(17.3) [(p ∨ q) ∧ ~ p] ↔ (~ p ∧ q)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
65
(17.4) (p ↔ q) ↔ [(q ∨ ~ p) ∧ (p ∨ ~ q)]
(17.5) [(p ∧ q) → (p ∨ q)] ↔ [(~ p ∧ ~ q) → (~ p ∨ ~ q)]
(17.6) [p → (q ∧ r)] ↔ [(p → q) ∧ (p → r)]
(17.7) [Ent’29] [p → (q → r)] ↔ [(p → q) → r]
(17.8) [Ent’29] [p ↔ (q ↔ r)] ↔ [(p ↔ q) ↔ r]
(18) ประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
(18.1) [(p ∨ r) → (q ∨ r)] ∨ (p ∨ q)
(18.2) [(~ p ∧ q) → ~ p] ∨ (p → q)
(19) ประพจน์ต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่
(19.1) นิเสธของ (p ∧ ~ p) → (q ∧ ~ q)
(19.2) นิเสธของ [p ∧ (q ∨ ~ q)] ↔ [~ p ∨ (q ∧ ~ q)]
(19.3) นิเสธของ ~ (p ↔ q) ∧ (~ p ↔ ~ q)
(20) เมื่อ p, q, r เป็นประพจน์ใดๆ ถามว่าประพจน์ในข้อใดเป็นจริงบ้าง
ก. (p → q) → (~ p ∧ ~ q)
ข. (p → q) ↔ (~ p ∨ q)
ค. ~ ((p ∨ q) ∨ r) → (~ (p ∧ q) ∧ ~ r)
ง. ((p → r) ∧ (q → r)) ↔ ((p ∧ q) → r)
จ. ((p → q) ∨ (p → r)) ↔ (p → (q ∧ r))
(21) ตัวเชื่อมในกรอบสี่เหลี่ยม ที่ทําให้
คืออะไร
[(p → ~ q) ∧ (p → ~ r)]
[p → ~ (q ∨ r)]
เป็นสัจนิรันดร์
3.3 การอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผล คือการกล่าวว่าถ้ามีเหตุเป็นข้อความ p1, p2 , p3 , ..., pn ชุดหนึ่ง แล้ว
สามารถสรุปผลเป็นข้อความ q อันหนึ่งได้ การอ้างเหตุผลมีทั้งแบบที่ สมเหตุสมผล (valid) และ ไม่
สมเหตุสมผล (invalid) ซึ่งเราสามารถตรวจสอบความสมเหตุสมผลได้โดยหลายวิธี คือ
1. ตรวจสอบสัจนิรันดร์
การอ้างเหตุผลจะสมเหตุสมผล ก็เมื่อ (p1 ∧ p2 ∧ p3 ∧ ... ∧ pn) → q เป็นสัจนิรันดร์
หรือกล่าวว่า จะไม่สมเหตุสมผลเพียงกรณีเดียวเท่านั้น คือเมื่อ “เหตุเป็นจริงทุกข้อแต่ผลเป็นเท็จ”
2. เทียบกับรูปแบบที่พบบ่อย
การอ้างเหตุผลทุกรูปแบบต่อไปนี้ สมเหตุสมผล
(1) เหตุ p → q
(2) เหตุ p → q
p
ผล
~ q
q
ผล
ข้อนี้เป็นรูปแบบมาตรฐาน
เพราะ
~ p
(3) เหตุ
ผล
p→q
q→r
p∨r
ผล
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
p→q
r→s
p→r
p → q ≡~q→~p
Math E-Book Release 2.2.04
(4) เหตุ
q∨ s
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(5) เหตุ
ผล
p∧q
p
เชื่อมด้วย “และ”
สามารถแยกเป็นประพจน์
เดี่ยวได้
ตรรกศาสตร
66
(6) เหตุ
ผล
p
p∨q
สามารถเติมประพจน์ใดๆ ได้
แต่ต้องเชื่อมด้วย“หรือ”
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
¶ÒµÃǨÊoº¡ÒÃoÒ§e˵u¼Å´ÇÂÇi¸Õ·èÊÕ o§ ¤×oe·Õº¡aº
Ãٻ溺 æÅa¾ºÇҼŷÕèä´ÁÒ¨Ò¡Ãٻ溺eËÅÒ¹ÕéäÁµÃ§¡aº·Õè
ãËÁÒã¹o¨·Â oÂÒe¾iè§ÊÃu»ÇÒäÁÊÁe˵uÊÁ¼Å¹a¤Ãaº! ...
¨aµo§Ëa¹¡Åaºä»ãªÇi¸ÕæÃ¡µÃǨÊoº¡o¹¨Ö§ÊÃu»ä´ (e¾ÃÒa
oÒ¨¨aÊÁe˵uÊÁ¼Å¡çä´)
แบบฝึกหัด 3.3
(22) [Ent’39] การอ้างเหตุผลดังต่อไปนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่
(22.1) เหตุ 1. p → q
(22.2) เหตุ p → (r ∨ s)
2. q → s
ผล ~ p ∨ (r ∨ s)
3. ~ s
ผล ~ p
(23) การอ้างเหตุผลดังต่อไปนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่
(23.1) เหตุ 1. ถ้า x เป็นจํานวนคู่แล้ว 2 | x
2. ถ้า x เป็นจํานวนคู่และ 2 | x แล้ว x เป็นจํานวนเต็ม
3. ไม่จริงที่วา่ “x เป็นจํานวนเฉพาะและ x เป็นจํานวนเต็ม”
4. x เป็นจํานวนคู่
ผล x เป็นจํานวนเฉพาะ
(23.2) เหตุ 1. ถ้า a เป็นจํานวนตรรกยะแล้ว a ไม่เป็นจํานวนอตรรกยะ
2. a2 = 2 หรือ a2 = −1
3. ถ้า a2 = 2 แล้ว a เป็นจํานวนอตรรกยะ
4. a2 ≠ −1
ผล a เป็นจํานวนตรรกยะ
(24) จงเติมข้อความที่ทําให้การอ้างเหตุผลนี้สมเหตุสมผล
(24.1) เหตุ 1. p → (q → r)
(24.2) เหตุ 1. ~ p → q
2. ~ s ∨ p
2. q → ~ r
3. q
3.
ผล
ผล
p
(25) จงเติมข้อความที่ทําให้การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล
เหตุ 1. ถ้าฉันขยัน ฉันจะไม่ตกคณิตศาสตร์
2. ฉันตกคณิตศาสตร์
ผล
(26) กําหนดเหตุให้ดังนี้
เหตุ 1. ถ้าฉันขยันแล้วฉันจะสอบได้
2. ถ้าฉันไม่ขยันแล้วพ่อแม่จะเสียใจ
3. ถ้าฉันเรียนในมหาวิทยาลัยแล้วพ่อแม่จะไม่เสียใจ
4. ฉันสอบไม่ได้
ให้หาว่าผลในข้อใดทําให้การอ้างเหตุผลสมเหตุสมผล
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ผล
ตรรกศาสตร
67
ก. ฉันไม่ได้เรียนในมหาวิทยาลัย หรือฉันขยัน
ข. ฉันเรียนในมหาวิทยาลัย และฉันขยัน
ค. พ่อแม่ฉันไม่เสียใจ และฉันไม่ได้เรียนในมหาวิทยาลัย
ง. ฉันขยัน แต่ฉันสอบไม่ได้
3.4 ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ประโยค “x มากกว่า 2” (หรือ “เขาไม่ใช่คนร้าย”) ไม่ใช่ประพจน์ เนื่องจากยังไม่ทราบแน่
ชัดว่ามีค่าความจริงเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ค่าความจริงขึ้นอยู่กับว่า x เป็นจํานวนใด (หรือ “เขา” เป็น
ใคร) เช่น ถ้า x เป็น 3 ประโยคนี้จะเป็นจริง แต่ถ้า x เป็น 2 ประโยคนี้จะเป็นเท็จ เราเรียก
“ประโยคที่ยังคงติดค่าตัวแปร และเมื่อแทนค่าตัวแปรแล้วจึงกลายเป็นประพจน์” ว่า ประโยคเปิด
(Open Sentence)
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยคเปิดใดๆ (ที่ติดค่าตัวแปร x) ได้แก่ P (x), Q (x), R (x) ฯลฯ ซึ่ง
ประโยคเปิดเหล่านี้สามารถใช้ตัวเชื่อมได้เช่นเดียวกับประพจน์ p, q, r ทั่วๆ ไป
ตัวบ่งปริมาณ (Quantifier) คือข้อความที่ใช้บ่งบอกความมากน้อยของค่าตัวแปร x
มี 2 แบบได้แก่ สําหรับ x ทุกตัว (For All x; ∀x ) และ สําหรับ x บางตัว (For Some x; ∃x )
ซึ่งตัวบ่งปริมาณทั้งสองนี้เมื่อใช้ร่วมกับเอกภพสัมพัทธ์แล้ว จะทําให้ประโยคเปิดกลายเป็นประพจน์
(คือมีค่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ) ได้ เช่น
ให้ P (x) แทนประโยคเปิด “x มากกว่า 2”
จะได้ว่า ∀x [P (x)] แทนประโยค “สําหรับ x ทุกตัว... x มากกว่า 2”
และ ∃x [P (x)] แทนประโยค “สําหรับ x บางตัว... x มากกว่า 2”
ซึ่งถ้า U = {1,2,3} ก็จะพบว่า ∀x [P (x)] เป็นเท็จ, ∃x [P (x)] เป็นจริง
แต่ถ้า U = {3,4} แล้วจะพบว่า ∀x [P (x)] เป็นจริง, ∃x [P (x)] เป็นจริง
หมายเหตุ
1. หากไม่มีการระบุเอกภพสัมพัทธ์ ให้ถือว่าเอกภพสัมพัทธ์คือเซตจํานวนจริง R
2. สามารถแจกแจงตัวบ่งปริมาณได้เพียงสองรูปแบบนี้เท่านั้น
∀x [P (x) ∧ Q (x)] ≡ ∀x [P (x)] ∧ ∀x [Q (x)]
∃x [P (x) ∨ Q (x)] ≡ ∃x [P (x)] ∨ ∃x [Q (x)]
ประโยคเปิดที่มีสองตัวแปร เมื่อใช้ตัวบ่งปริมาณก็จะมีสองตัวเช่นกัน และการอ่านต้อง
คํานึงถึงลําดับก่อนหลัง ดังตัวอย่างนี้
ให้ P (x) แทน “x มากกว่า 2” และ Q (x, y) แทน “x+y เป็นจํานวนเฉพาะ”
จะได้ว่า ∀x∃y [P (x) ∧ Q (x, y)] แทนประโยค “สําหรับ x ทุกตัว จะมี y บางตัวที่ทาํ ให้... x
มากกว่า 2 และ x+y เป็นจํานวนเฉพาะ”
ส่วน ∃y∀x [P (x) ∧ Q (x, y)] นั้น แทนประโยค “สําหรับ y บางตัว จะมี x ทุกตัวที่ทําให้...
x มากกว่า 2 และ x+y เป็นจํานวนเฉพาะ”
ซึ่งสองประโยคนี้คนละความหมายกัน ไม่สามารถใช้แทนกันได้
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
68
การหานิเสธของประโยคเปิดที่มีตัวบ่งปริมาณ นอกจากจะใส่นิเสธที่ประโยคเปิด (ภายใน
เครื่องหมายวงเล็บ) แล้ว ยังต้องเปลี่ยนตัวบ่งปริมาณ จาก ∀ เป็น ∃ และจาก ∃ เป็น ∀ ด้วย
เช่น นิเสธของ ∀x∃y [P (x) → Q (x, y)] คือ ∃x∀y [P (x) ∧ ~ Q (x, y)]
แบบฝึกหัด 3.4
(27) ให้
ข้อใดเป็นจริง
∀x [x เป็นจํานวนเต็ม และ x2 > 0]
∃x [x3 > x2 และ x < x2 ]
∀x [ ถ้า x เป็นจํานวนเต็มบวก แล้ว x เป็นจํานวนเฉพาะ ]
∃x [x เป็นจํานวนเฉพาะ และ x เป็นจํานวนคี่ ]
U = {−2, −1, 0, 1, 2}
ก.
ข.
ค.
ง.
(28) กําหนด P (x) แทน “x เป็นจํานวนอตรรกยะ”, Q (x) แทน “x เป็นจํานวนตรรกยะ”
ข้อใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ
ก. ∀x [P (x) → Q ( 2)]
ข. ∃x [Q (x) → P (0.5)]
ง. ∃x [Q (x) ∧ ~ P (22/7)]
ค. ∀x [P (x) ∨ ~ Q (π)]
(29) กําหนดประโยคเปิด P (x) , Q (x) ดังนี้ P (x) = x > x2 , Q (x) =
ตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 3 กับ x เป็น 1 ข้อความใดถูกหรือผิดบ้าง
ก. ∀x [P (x)] เป็นจริง เมื่อ U เป็นช่วงเปิด (0, 1)
ข. ∀x [Q (x)] เป็นเท็จ เมื่อ U = {2, 3, −5, 8}
(30) จงหาค่าความจริงของ
x
เป็นจํานวนเฉพาะ หรือ
∃x (x3+5x − 1 < 4) ∧ ∀x ( x2− 1 < 0 → x > −2)
(31) ให้เอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจํานวนนับ N ถามว่าประพจน์ต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นอย่างไร
2
[∃x (x2− 1 เป็นจํานวนนับ ) ∧ ∀x (x + 1 > 0)] → ∀x ⎜⎛ < 0 ⎟⎞
⎝x
(32) จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้
หากกําหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็น U = {−1, 0, 1}
(32.1) ∃x (x2 ≠ 1) → ∀x (x2 ≠ 1)
(32.2) ∃x (x + 1 > 0) ∧ ∃x (x2 ≠ 1)
(32.3) ∃x (x + 1 > 0 ∧ x2 ≠ 1)
(32.4) ∀x (x2 > 0) ∨ ∀x (x = 0)
(32.5) ∀x (x2 > 0 ∨ x = 0)
(33) จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้
หากกําหนดเอกภพสัมพัทธ์เป็น U = {−1, 0, 1}
(33.1) ∃x∃y (x2+ y > 2)
(33.2) ∃x∀y (x2+ y > 2)
(33.3) ∀x∃y (x2+ y > 2)
(33.4) ∀x∀y (x2+ y > 2)
Math E-Book Release 2.2.04
⎠
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
溺½¡Ëa´¢o 32.2 ¡aº 32.3 Çi¸¤Õ i´äÁeËÁ×o¹¡a¹¹a¤Ãaº
e¾ÃÒa ËÒÁ¡Ãa¨Ò some e¢Òä»ã¹ æÅa
ã¹¢o 32.2 eÃÒ¤i´¤Ò¤ÇÒÁ¨Ãi§æÂ¡«Ò·չ֧ ¢ÇÒ·Õ¹Ö§
æÅǤoÂeoÒÁÒeª×èoÁ¡a¹´Ç æÅa
æµã¹¢o 32.3 eÃÒµo§¤i´ã¹Ç§eÅçºÃÇ´e´ÕÂÇ ËÁÒ¶֧ÇÒ
¤Ò x ·Õèãªã¹Ç§eÅ纷a§é Ë¹ÒæÅaËÅa§ µo§e»¹µaÇe´ÕÂÇ¡a¹...
æÅa¢o 32.4 ¡aº 32.5 ¡ç¤i´äÁeËÁ×o¹¡a¹
e¾ÃÒaËÒÁ¡Ãa¨Ò all e¢Òä»ã¹ ËÃ×o
ÊÃu»Êiè§·Õè¡Ãa¨ÒÂä´oÕ¡¤Ãaé§¹Ö§¹a¤Ãaº
all ¤Ù¡aº æÅa, some ¤Ù¡aº ËÃ×o
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
69
(34) [Ent’21] จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้ หากกําหนดเอกภพสัมพัทธ์
(34.1) ∀x∀y (x2− y = y2− x)
(34.2) ∀x∃y (x2− y = y2− x)
(34.3) ∃x∀y (x2− y = y2− x)
(34.4) ∃x∃y (x2− y = y2− x)
(34.5) ∃x∀y (x2− y ≠ y2− x)
(35) จงหาค่าความจริงของ
(35.1) ∃x∀y (x − y ≠ y − x)
(35.2) ∀x∃y (x + y = 0)
เมื่อ
เมื่อ
= {−1, 0, 1}
U = {−2, 0, 2}
U = {−2, 2}
(36) ประพจน์ ∀x∃y (xy = 1) ↔ ∃x∀y (xy = y) เป็นจริง เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็นเท่าใด
ก. จํานวนเต็ม
ข. จํานวนเต็มบวก
ค. จํานวนจริง
ง. จํานวนจริงบวก
(37) ให้เอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตจํานวนจริงบวก
ก. ∀x∀y [x + y > xy]
ค. ∃x∀y [x < y]
R+
ข้อใดมีค่าความจริงเป็นจริง
ข. ∃x∃y [x + y < 0]
ง. ∀x∃y [y > x]
(38) จงหานิเสธของ
(38.1) ∀x [P (x) → ~ Q (x)]
(38.2) ∀x [P (x) → (Q (x) → R (x))]
(38.3) ~ ⎡⎣∀x [P (x)] → ∃x [Q (x)]⎤⎦
(38.4) ∃x∃y [(x + y = 5) → (x − y = 1)]
(38.5) ∃x∃y [x > 0 ∧ y ≠ 0 ∧ xy < 0]
(38.6) [Ent’39] ∃x∀y (xy > 0 → x < 0 ∨ y < 0)
(38.7) ∃x∃y [(P (y) ∧ ~ R (x)) → (~ Q (x) ∨ ~ P (y))]
(38.8) ∀x∃y∀z (x + y > z และ xy < z)
(39) ข้อความใดถูกหรือผิดบ้าง
ก. นิเสธของ ∀x [x + 5 = 0] ∧ ∃y [22 < π] คือ
y
ข. [Ent’38] นิเสธของ
∃x [x < 6] → ∀x [x > 8]
∃x [x + 5 ≠ 0] ∨ ∀y [
คือ
22
> π]
y
∀x [x > 6] ∧ ∃x [x < 8]
3.5 การให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย
การให้เหตุผล (Reasoning) เป็นการกระทําเพื่อหาข้อสรุปหรือข้อสนับสนุนความเชื่อ ซึ่งถือ
เป็นอีกกระบวนการที่สําคัญในทางตรรกศาสตร์ การให้เหตุผลมีอยู่ 2 ลักษณะ ได้แก่ การให้เหตุผล
แบบอุปนัย และแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (ย่อย → ใหญ่)
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เป็นการใช้ความจริงจากส่วนย่อยนําไป
สรุปความจริงของส่วนรวม หรือกล่าวว่า เป็นการสรุปผลทั่วไปซึ่งมาจากการสังเกตหรือการทดลองใน
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
70
กรณีย่อยๆ หลายครั้ง ... เช่น เราสังเกตเห็นว่าในทุกเช้าพระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก ดังนั้นเรา
จึงสรุปแบบขยายผลว่าพระอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกเสมอ, เราสังเกตเห็นว่าลายนิ้วมือของหนึ่ง
พันคนมีลักษณะต่างกัน จึงสรุปเอาแบบขยายผลว่า คนทุกคนบนโลกมีลายนิ้วมือไม่เหมือนกันเลย,
เพื่อนบ้านทุกคนล้วนบอกว่าหมอคนนี้รักษาดีมาก เมื่อสมชายไม่สบายจึงไปหาหมอคนนี้ เพราะสรุป
เอาแบบอุปนัยว่าตนเองจะได้รับการรักษาให้หายดีเช่นกัน
•
ตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัย ในคณิตศาสตร
1. ในเซต A = {2, 4, 6, 8, 10, ...} เมือ่ สังเกตลักษณะของสมาชิกทั้งหาตัว พบวาเกิดจาก
การบวกทีละ 2 เราจึงสรุปผลวา สมาชิกตัวที่เหลือที่ละไวคือ 12, 14, 16, ... (จํานวนนับคู)
2. จาก 1 = 1 , 1 + 3 = 4 , 1 + 3 + 5 = 9 , 1 + 3 + 5 + 7 = 16 , 1 + 3 + 5 + 7 + 9 = 25
เราจึงสรุปไดวา จํานวนนับคี่ n จํานวนแรก มีผลบวกเทากับ n
2
3. ลําดับ 1, 3, 7, 15, 31, ... สังเกตไดวา ผลตางของแตละพจนติดกัน เปน
ดังนั้นพจนถัดไปของลําดับคือ 63 (เพราะผลตางเทากับ 32 )
4. จาก 11 × 11 = 121 , 111 × 111 = 12321 ,
จึงสรุปไดวา 11111 × 11111 = 123454321
1111 × 1111 = 1234321
2, 4, 8, 16
…
5. เมือ่ ยกตัวอยางจํานวนนับที่หารดวย 3 ลงตัว เชน 12 , 51 , 96 , 117 , 258 , 543 , 2930 ,
5022 , 7839 … พบวาผลบวกของเลขโดดเปนจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว
จึงสรุปวาถาผลบวกของเลขโดดเปนจํานวนที่หารดวย 3 ลงตัวแลว จํานวนนับนัน้ จะหารดวย 3 ลงตัว
ข้อควรระวังในการให้เหตุผลแบบอุปนัยคือ ข้อสรุปที่ได้ไม่จําเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง
เนื่องจากเป็นการสรุปผลเกินขอบเขตที่เราพิจารณาออกไป
สิ่งที่มีผลต่อความน่าเชื่อถือ ได้แก่
1. จํานวนข้อมูลที่มีเพียงพอหรือไม่ ... (ไม่ควรพิจารณาข้อมูลปริมาณน้อยๆ แล้วสรุปทันที)
เช่น – สุ่มหยิบลูกบอลได้สีแดงติดกัน 4 ครั้ง จึงสรุปเอาว่าบอลทุกลูกมีสีแดง ซึ่งอาจผิดก็ได้
– สมมติฐาน (n+ 1)2 > 2(n − 1) สําหรับจํานวนนับ n ใดๆ
พบว่าเมื่อแทน n = 1, 2, 3, 4 จะได้ 4 > 1, 9 > 2, 16 > 4, 25 > 8 ซึ่งล้วนเป็นจริง
แต่ที่แท้สมมติฐานนี้จะเป็นเท็จ เมื่อแทน n = 7, 8, 9, ... เป็นต้นไป
– สมมติฐาน n2 − n + 5 เป็นจํานวนเฉพาะ สําหรับจํานวนนับ n ใดๆ
พบว่าเมื่อแทน n = 1, 2, 3, 4 จะได้ n2 − n + 5 = 5, 7, 11, 17 ซึ่งเป็นจํานวนเฉพาะจริงๆ
แต่เมื่อแทน n = 5 จะได้ n2 − n + 5 = 25 ซึ่งไม่ใช่จํานวนเฉพาะ
2. ข้อมูลที่ใช้นั้นเป็นตัวแทนที่ดีแล้วหรือไม่ ... (อาจมีข้อมูลที่ไม่ตรงกับข้อสรุปอยู่ แต่นึกไม่
ถึง) เช่น สุ่มถามคน 100 คนในบริเวณสยามสแควร์ พบว่าอายุไม่เกิน 22 ปีถึง 70 คน จึงสรุปเอา
ว่าในกรุงเทพฯ มีประชากรวัยรุ่นจํานวนมากกว่าวัยทํางานอยู่เท่าตัว ซึ่งอาจเป็นข้อสรุปที่ผิด
3. ข้อสรุปที่ต้องการมีความซับซ้อนเกินไปหรือไม่ ... (บางเรื่องสรุปได้ยาก โดยเฉพาะที่
เกี่ยวกับความนึกคิดของมนุษย์ เช่น ความเชื่อ ความพึงพอใจ มักจะขึ้นกับเหตุผลต่างๆ กัน)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
71
การให้เหตุผลแบบนิรนัย (ใหญ่ → ย่อย)
การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning) เป็นการใช้ความจริงที่เป็นที่ยอมรับ
โดยทั่วไป เพื่อนําไปสู่ข้อสรุปย่อยใดๆ ... เช่น เป็นความจริงที่ว่าจํานวนที่หารด้วย 2 ลงตัวเป็น
จํานวนคู่ และ 10 นั้นหารด้วย 2 ลงตัว เราจึงสรุปว่า 10 เป็นจํานวนคู่
•
ตัวอยางการใหเหตุผลแบบนิรนัย
1. เหตุ (1) นักเรียนทุกคนตองทําการบาน ... (2) สุดาเปนนักเรียน ผล สุดาตองทําการบาน
2. เหตุ (1) นกเทานั้นที่บินได ... (2) คนบินไมได ผล คนไมใชนก
* 3. เหตุ (1) สัตวปกทุกตัวบินได ... (2) แมวบางตัวเปนสัตวปก ผล แมวบางตัวบินได
* ข้อสรุปนี้เป็นข้อสรุปที่ สมเหตุสมผล
(valid) แม้ว่าผลจะขัดแย้งกับความจริง
ในโลกก็ตาม
ข้อควรระวังในการให้เหตุผล
แบบนิรนัยคือ ในบางครั้งเมื่อเราใช้ความ
รู้สึกเพียงผิวเผินตัดสิน อาจจะคิดว่าการ
อ้างเหตุผลนั้นสมเหตุสมผล ทั้งที่จริงๆ
แล้วไม่ใช่ ... ยกตัวอย่างเช่น
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
¹o§ºÒ§¤¹oҨʧÊaÂÇÒ æÁǨaºi¹ä´ä´oÂÒ§äÃ..
¡ÒÃãËe˵u¼Å溺¹iùa¹aé¹eÃÒ¡ÅÒÇã¹Ãٻ溺¢o§ ¡ÒÃoÒ§e˵u¼Å
(eËÁ×o¹ËaÇ¢o 3.3) «Ö觤Ç÷íÒ¤ÇÒÁe¢Òã¨ÇÒ ¡ÒÃÊÁe˵uÊÁ¼Å¹aé¹
äÁä´æ»ÅÇҼŨae»¹¨Ãi§·a¹·Õ¹a¤Ãaº æµæ»ÅÇÒ eÁ×èoã´·Õèe˵u·u¡¢o
e¡i´e»¹¨Ãi§¢Öé¹ÁÒ ¼Å¨Ö§¨ae»¹¨Ãi§µÒÁ´Ç ...
eÇÅÒeÃÒµÃǨÊoºÇÒ¡ÒÃãËe˵u¼Å¹ÕéÊÁe˵uÊÁ¼ÅËÃ×oäÁ
ãËeÃÒÂÖ´¨Ò¡e˵u·èãÕ ËÁÒe·Ò¹aé¹ ËÒÁeoÒ¤ÇÒÁ¨Ãi§ã¹oš仵a´Êi¹¹a¤Ãaº!
1. เหตุ (1) นกทุกตัวบินได้ ... (2) ยุงบินได้
ผล ยุงเป็นนก (ไม่สมเหตุสมผล เพราะอาจจะมีสิ่งอื่นที่ไม่ใช่นก แต่บินได้)
2. เหตุ (1) นกทุกตัวบินได้ ... (2) คนไม่ใช่นก
ผล คนบินไม่ได้ (ไม่สมเหตุสมผล เพราะอาจจะมีสิ่งอื่นที่ไม่ใช่นก แต่บินได้)
3. เหตุ (1) นักเรียนบางคนเป็นนักกีฬา ... (2) นักกีฬาบางคนแข็งแรง
ผล นักเรียนบางคนแข็งแรง (ไม่สมเหตุสมผล เพราะนักกีฬาที่แข็งแรงอาจไม่ใช่นักเรียนก็ได้)
การตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผลแบบนิรนัย สามารถทําได้อย่างรอบคอบ
โดยใช้แผนภาพของเซต (แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์) ช่วยในการคิด
นก
นก
สิ่งที่บินได้
ไม่มีนกตัวใดบินได้
(หรือ นกทุกตัวบินไม่ได้)
นก
สิ่งที่บินได้
นกบางตัวบินได้
(หรือ นกบางตัวบินไม่ได้)
หากในข้อความมีการระบุถึงสมาชิกของเซต (เช่น สมชายบินได้)
จะเขียนเป็น จุด อยู่ภายในบริเวณเซตนั้น
สิ่งที่บินได้
นกทุกตัวบินได้
สมชาย
ถ้าพบว่าแผนภาพเป็นไปตามที่สรุป ได้เพียงแบบเดียวเท่านั้น
จะถือว่า สมเหตุสมผล แต่ถ้าเป็นแบบอื่นได้ด้วย จะถือว่า ไม่สมเหตุสมผล
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
สิ่งที่บินได้
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
72
ดังนั้นในการตรวจสอบ เราจะต้องพยายามทําให้เหตุเป็นจริงทุกข้อแต่ผลสรุปเป็นเท็จ (ถ้าทําได้ ก็
แสดงว่าไม่สมเหตุสมผล ถ้าทําไม่ได้แสดงว่าสมเหตุสมผล)
ตัวอย่างเช่น
1. เหตุ (1) นักเรียนชายทุกคนลงแข่งกีฬา
(2) สมศักดิ์เป็นนักเรียนชาย
ผล สมศักดิ์ลงแข่งกีฬา ... สมเหตุสมผล
ผู้ลงแข่งกีฬา
นร.ชาย
สมศักดิ์
2. เหตุ (1) นักเรียนชายทุกคนลงแข่งกีฬา
(2) สมศรีไม่ได้เป็นนักเรียนชาย
ผล สมศรีไม่ได้ลงแข่งกีฬา ... ไม่สมเหตุสมผล (เป็นไปได้ 2 แบบ)
3. เหตุ (1) นักเรียนชายทุกคนลงแข่งกีฬา
(2) สมเสร็จลงแข่งกีฬา
ผล สมเสร็จเป็นนักเรียนชาย ... ไม่สมเหตุสมผล
สมศรี
สมศรี
ผู้ลงแข่งกีฬา
นร.ชาย
สมเสร็จ
4. เหตุ (1) นักเรียนชายบางคนลงแข่งกีฬา
(2) สมศักดิ์เป็นนักเรียนชาย
ผล สมศักดิ์ลงแข่งกีฬา ... ไม่สมเหตุสมผล
สมเสร็จ
สมศักดิ์
สมศักดิ์
นร.ชาย
ผู้ลงแข่งกีฬา
หมายเหตุ บางตําราเขียนแผนภาพในรูปทั่วไป ดังรูปด้านล่างนี้
และใช้การแรเงาเพื่อบ่งบอก
ว่าชิ้นส่วนนั้นไม่มีสมาชิกเลย
A
B
B
A
ผู้ลงแข่งกีฬา
นร.ชาย
C
2 เซต
เช่น
3 เซต
นก
สิ่งที่บินได้
ไม่มีนกตัวใดบินได้
หากมีประโยคว่า “เพนกวินเป็นนก”
จะต้องจุดแทน “เพนกวิน” ลงในช่อง “นก” ทางซ้ายเท่านั้น
เนื่องจากช่องกลางถูกแรเงาทึบไปแล้ว
* แต่บางตําราก็ใช้การแรเงาเพื่อบ่งบอกว่าชิ้นส่วนนั้นต้องมีสมาชิกอยู่!
แบบฝึกหัด 3.5
(40) ให้บอกค่าของ a ที่ปรากฏในลําดับต่อไปนี้
(40.1) −1, −3, −5, −7, a
(40.2) 2, 7, 12, 17, a
(40.3) 1, −2, 3, −4, a
(40.4) 3, 6, 12, 24, a
(40.9) [พื้นฐานวิศวะ มี.ค.47]
(40.5)
(40.6)
3, 1, −1, −3, a
(40.7)
(40.8)
1, 4, 9, 16, a
1 2 3 4
, , , ,a
2 3 4 5
3, 3 3, 3 3 3 , 3 3 3 3 , a
125, 726, a, 40328, 362889
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
73
(41) ให้หาสมการ 2 สมการ ต่อจากรูปแบบที่กําหนดให้ โดยอาศัยการให้เหตุผลแบบอุปนัย
(และคํานวณหรือใช้เครื่องคํานวณ เพื่อตรวจสอบคําตอบที่ได้)
(41.1)
(41.2)
(41.3)
(41.4)
37 × 3 = 111
37 × 6 = 222
37 × 9 = 333
9 × 9 = 81
9 × 99 = 891
9 × 999 = 8991
1 × 9 = 11 − 2
12 × 9 = 111 − 3
123 × 9 = 1111 − 4
9 × 9 + 7 = 88
9 × 98 + 6 = 888
9 × 987 + 5 = 8888
(41.5)
(41.6)
(41.7)
(41.8)
11 × 11 = 121
11 × 12 = 132
11 × 13 = 143
1089 × 1 = 1089
1089 × 2 = 2178
1089 × 3 = 3267
2 (3) = 3 (3 − 1)
2 (3) + 2 (9) = 3 (9 − 1)
2 (3) + 2 (9) + 2 (27) = 3 (27 − 1)
3 × 4 = 2 (1 + 2 + 3)
4 × 5 = 2 (1 + 2 + 3 + 4)
5 × 6 = 2 (1 + 2 + 3 + 4 + 5)
(42) ให้ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
โดยอาศัยการให้เหตุผลแบบนิรนัย ประกอบกับแผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์
(42.1) เหตุ – คนบางคนว่ายน้าํ ได้
– สมชายเป็นคน
ผล สมชายว่ายน้ําได้
(42.2) เหตุ – คนบางคนว่ายน้าํ ได้
– สมชายเป็นคน
ผล สมชายว่ายน้ําไม่ได้
(42.3) เหตุ – ไม่มีเด็กดีคนใดคุยในเวลาเรียน
– นักเรียนห้องนี้ทุกคนเป็นเด็กดี
ผล ไม่มีนักเรียนคนใดในห้องนี้คุยในเวลาเรียน
(42.4) เหตุ – นักเรียนบางคนทําการบ้านไม่เสร็จ
– นักเรียนบางคนชอบเล่นฟุตบอล
ผล นักเรียนที่เล่นฟุตบอลบางคนทําการบ้านไม่เสร็จ
(42.5) เหตุ – วันนี้ฉันเงินหมด
– ไม่มีใครที่เงินหมดแล้วโดยสารรถเมล์ได้
ผล วันนี้ฉันไม่สามารถโดยสารรถเมล์ได้
(42.6) เหตุ – ไม่มีสัตว์น้ําตัวใดบินได้
– นกแก้วเป็นสัตว์น้ํา
ผล นกแก้วบินไม่ได้
(42.12) เหตุ – ไม่ใช่ปลาทุกตัวที่มีสองตา
– กุ้งไม่ได้เป็นปลา
ผล กุ้งมีสองตา
(42.7) เหตุ – คนที่มีความสุขทุกคนยิ้มแย้ม
– ฉันยิ้มแย้ม
ผล ฉันมีความสุข
(42.13) เหตุ – ไม่มีช่างคนใดที่ขยัน
– สมนึกเป็นช่าง
ผล สมนึกไม่ขยัน
(42.8) เหตุ – นักเรียนทุกคนสวมแว่นตา
– ผู้ร้ายบางคนสวมแว่นตา
ผล นักเรียนบางคนเป็นผู้ร้าย
(42.14) เหตุ – ไม่มีช่างคนใดที่ขยัน
– สมนึกไม่ขยัน
ผล สมนึกเป็นช่าง
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
74
(42.9) เหตุ – ไม่มีนางแบบคนใดเป็นผู้ชาย
(42.15) เหตุ – สัตว์ทุกตัวต้องหายใจ
– พระเอกหนังทุกคนเป็นผู้ชาย
– สุนัขทุกตัวต้องหายใจ
ผล ไม่มีนางแบบคนใดเป็นพระเอกหนัง
ผล สุนัขทุกตัวเป็นสัตว์
(42.10) เหตุ – สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องกินอาหาร (42.16) เหตุ – แอปเปิ้ลไม่มีพิษ
– สัตว์ทุกตัวเป็นสิ่งมีชีวิต
– องุ่นไม่มีพิษ
ผล คนทุกคนต้องกินอาหาร
ผล ผลไม้ที่ทานได้ไม่มีพิษ
(42.11) เหตุ – ครูบางคนชอบดื่มกาแฟ
– ผู้ชายทั้งหมดชอบดื่มกาแฟ
ผล ครูบางคนเป็นผู้ชาย
(42.17) เหตุ – นกทุกตัวมีปีก
– สัตว์ที่มีปีกบางตัวบินได้
– เพนกวินเป็นนก
ผล เพนกวินบินได้
เฉลยแบบฝึกหัด (คําตอบ)
(40.1) –9 (40.2) 22 (40.3) 5
(21) → หรือ ↔
(40.4) 48 (40.5) –5 หรือ 3
(22) สมเหตุสมผลทัง้ สองข้อ
T|p|p|T
(40.6)
5/6 (40.7) 25
(23) ไม่สมเหตุสมผลทั้งสองข้อ
p | T | T |~ p | T |~ p
(24.1) s → r (24.2) r
(40.8) 3 3 3 3 3 (40.9) 5047
p |~ p | T | F
(25) ฉันไม่ขยัน (26) ก.
(41.1) 37 × 12 = 444 , 37 × 15 = 555
(2) ข้อ 2.6 ถึง 2.10 เท็จ
(27) ข. (28) ก.
(41.2) 9 × 9999 = 89991 ,
นอกนั้นจริง
(29) ก. ถูก ข. ผิด
9 × 99999 = 899991
(3) ข้อ 3.5, 3.7, 3.9,
(30) จริง (31) เท็จ
(41.3) 1234 × 9 = 11111 − 5 ,
3.12 เท็จ นอกนัน้ จริง
(32) ข้อ 32.1, 32.4 เป็นเท็จ
12345 × 9 = 111111 − 6
(3.11) T, T, F
นอกนั้นจริง
(4) ก. ถูก ข. ถูก
(41.4) 9 × 9876 + 4 = 88888 ,
(33) ข้อ 33.1 จริง นอกนั้นเท็จ
(5) ถูกทุกข้อ
9 × 98765 + 3 = 888888
(34) ข้อ 34.2, 34.4 จริง
(6) ก. ผิด ข. ถูก
(41.5) 11 × 14 = 154 , 11 × 15 = 165
นอกนั้นเท็จ (35.1) เท็จ
(7) ก. (p ∧ q) ∨ (~ r ∧ ~ s) (35.2) จริง (36) ง. (37) ง. (41.6) 1089 × 4 = 4356 ,
ข. p ∧ ~ q ∧ r
1089 × 5 = 5445
(38.1) ∃x [P (x) ∧ Q (x)]
2 (3) + 2 (9) + 2 (27)
(41.7)
(8) ง. (9) ค.
(38.2) ∃x [P (x) ∧ Q (x) ∧ ~ R (x))]
(10.1) ข. (10.2) ง.
+ 2 (81) = 3 (81 − 1) ,
(38.3) ∀x [P (x)] → ∃x [Q (x)]
(10.3) ก. (11) ค.
2 (3) + 2 (9) + 2 (27) + 2 (81)
(38.4) ∀x∀y [(x + y = 5) ∧ (x − y ≠ 1)]
(12) สมมูลกันทุกข้อ
+ 2 (243) = 3 (243 − 1)
(38.5) ∀x∀y [x 0 ∨ y = 0 ∨ xy 0] (41.8) 6 × 7 = 2 (1 + 2 + 3 +
(13) ถูกทุกข้อ
(14.1) ก. (14.2) ก.
(38.6) ∀x∃y (xy > 0 ∧ x > 0 ∧ y > 0) 4 + 5 + 6) , 7 × 8 = 2 (1 +
(15) 3:5
(38.7) ∀x∀y [P (y) ∧ ~ R (x) ∧ Q (x)]
2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7)
(16 ถึง 19) เป็นทุกข้อ ยกเว้น (38.8) ∃x∀y∃z (x + y < z หรือ xy > z)
(42) ข้อทีส่ มเหตุสมผลได้แก่
16.1, 16.2, 17.2, 17.7, 19.1
(42.3),
(42.5), (42.6),
(39)
ก.
ถู
ก
ข.
ผิ
ด
(20) ข. และ ค. เป็นจริง
(42.9), (42.13)
(1)
p|F|p|F
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
75
เฉลยแบบฝึกหัด (วิธีคดิ )
(1) ก. เครื่องหมาย “และ”
T ∧ p ≡ p ... จริง “และ” อะไร ก็จะได้ตามตัวนัน
้
(หมายความว่า T ∧ T ≡ T, T ∧ F ≡ F )
F ∧ p ≡ F ... เท็จ “และ” อะไร จะได้เท็จเสมอ
p ∧ p ≡ p ... เหมือนกันเชือ
่ มด้วย “และ” ได้ตัวเดิม
p ∧ ~ p ≡ F ... ตรงข้ามกันเชื่อมด้วย “และ” จะได้
เท็จเสมอ (เพราะต้องมีตัวใดตัวหนึ่งเป็นเท็จ)
ข. เครื่องหมาย “หรือ”
(วิธีคิดลักษณะเดียวกับ “และ”)
T ∨ p ≡ T, F ∨ p ≡ p, p ∨ p ≡ p, p ∨ ~ p ≡ T
ค. เครือ่ งหมายถ้า-แล้ว
T → p ≡ p, F → p ≡ T, p → T ≡ T, p → F ≡ ~ p
(เพราะ
T → F ≡ F, F → F ≡ T
)
p → p ≡ T, p → ~ p ≡ ~ p
ง. เครือ่ งหมาย “ก็ต่อเมื่อ”
T ↔ p ≡ p, F ↔ p ≡ ~ p,
p ↔ p ≡ T, p ↔ ~ p ≡ F
(หมายเหตุ ข้อ 1 นี้จะทําได้ก็เมือ่ คุ้นเคยลักษณะของ
ตัวเชือ่ มทั้งสี่แล้ว)
(2.1) [(p ∧ s) ∨ (p ∧ r)] → (p ∨ s) ≡ T
T
T
(2.2) [(q → s) ∨ r] ∨ [.....] ≡ T
T
(2.3) [(r ↔ q) ∨ (p → q)] → [.....] ≡ T
F
F
(2.4) [(p ↔ q) ∨ (q → r)] ∨ ~ s ≡ T
T
(2.5) [(q → p) ∧ r] ↔ r ≡ T
T
T T
(2.6) [(p ∧ q) → ~ r] → [(~ p ∨ q) ↔ r] ≡ F
F
F
T
T
F
(2.7) [(p ∧ ~ q) ∨ ~ r] ↔ [(p → q) ∧ .....] ≡ F
T
F
.
T
F
(2.8) (p ∧ q) ∧ ~ r ∧ [... ∧ ...] ≡ F
F
(2.9) [p → (q ∧ r)] ∧ [.....] ≡ F
F
(2.10) [q → (....)] → [p → (q ∧ ~ r)] ≡ F
F
T F
.
T
F
(2.11) [(~ p → ....) ∧ (~ r → ....)] ∨ [.....] ≡ T
T
T
(3.1)
(3.2)
(3.3)
(....) → (p → q) ≡ T
T
T
(....) → (p → q) ≡ T
F
T
.
(~ r ∧ p) ∨ (....) ≡ T
(3.4) r
แสดงว่า
T
→ q ≡ T
q
r
โดย
เป็นจริงด้วย
เป็นจริง
(p → q) ∧ (s → p) ∧ (s → q) ≡ T
T T
(3.5) p
T
T
≡ T, q ≡ F, r ≡ T
ดังนั้น
(~ q ∧ (p ∨ r)) → (~ r) ≡ F
T
(3.6)
(3.7)
(3.8)
T
n ≡ F
q ≡ F
F
ดังนั้น
ดังนั้น
n → [....] ≡ T
(....) ∧ q ≡ F
q ≡ F, s ≡ F, r ≡ T, p ≡ F
ดังนั้น
(q ∨ p) → (....) ≡ T
F
(3.9) p ∨ r ≡ T, q ∨ s ≡ F
(แสดงว่า q ≡ F, s ≡ F )
้ r≡T
p → q ≡ T แสดงว่า p ≡ F ดังนัน
และจะได้ r → s ≡ T → F ≡ F
(3.10) p → q ≡ F แสดงว่า p ≡ T, q ≡ F
ดังนัน้ (....) → ~ q ≡ T
T
(3.11) p ∧ q ≡ T แสดงว่า
p ≡ T, q ≡ T
p → r ≡ F แสดงว่า r ≡ F
(3.12) p ≡ T, p ↔ ~ r ≡ T แสดงว่า r ≡ F
(3.13) และ (3.14) ไม่บอกค่าของ p, q, r, s มา
เลย แสดงว่า น่าจะเป็นสัจนิรนั ดร์ (คือเป็นจริงทุก
กรณี ไม่ว่า p, q, r, s จะเป็นอย่างไร)
ซึ่งตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นสัจนิรนั ดร์จริงๆ จึงตอบว่า
เป็นจริงทัง้ สองข้อ ... วิธตี รวจสอบเป็นดังนี้
(3.13) พยายามทําให้เป็นเท็จ แสดงว่า
ก้อนหน้าต้องเป็นจริง ก้อนหลังต้องเป็นเท็จ
(เนื่องจากเชื่อมด้วย “ถ้า-แล้ว”)
((p ∧ ~ q) → ~ p) → (p → q)
F
F
T F
ซึ่งถ้าก้อนหลังเป็นเท็จ แปลว่า p จะต้องเป็นจริง
เท่านั้น และ q จะต้องเป็นเท็จเท่านั้น ... เอาค่าความ
จริงของ p กับ q ไปใส่ในก้อนหน้า พบว่าก้อนหน้า
Math E-Book Release 2.2.04
T
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
76
ไม่ได้เป็นจริง ... นั่นคือ เราพยายามทําให้ประโยคนี้ (9) ก. ~ (~ p ∧ ~ q) คือ p ∧ q ... สมมูล
เป็นเท็จ แต่ไม่มวี ิธีใดที่ทาํ ได้ ข้อนี้จึงเป็นสัจนิรันดร์ ข. (~ p ∨ q) กับ (q ∨ ~ p) ... สมมูล
(3.14) ใช้วิธีเดียวกับข้อที่แล้ว คือพยายามทําให้กอ้ น ค. p ∨ (~ q ∨ p) ≡ ~ q ∨ p เทียบกับ q ∨ p ...
หน้าจริง ก้อนหลังเท็จ (เพราะเชือ่ มด้วย “ถ้า-แล้ว”)
ไม่สมมูล
⎡⎣[p ∨ ~ (r ∧ s)] ∧ ~ p ⎤⎦ → (~ r ∨ ~ s)
ง. สมมูล ตามกฎการกระจาย ↔
ตอบ ค.
F
T
F
(10.1) ข. ถูก เพราะ ข. คือ (p → q) ∧ (q → p)
T T
ซึ่งถ้าก้อนหลังเป็นเท็จ แปลว่า r กับ s จะต้องเป็น (10.2) {[(q ∧ ~ t) ∧ (p ∨ ~ p)] ∨ ~ q} → r
จริงทั้งคู่เท่านัน้ ... เอาค่าความจริงของ r กับ s ไปใส่ ≡ [(q ∧ ~ t) ∨ ~ q] → r T
ก้อนหน้า พบว่าเหลือเพียง [p ∧ ~ p] ซึ่งจะเป็นเท็จ
≡ [(q ∨ ~ q) ∧ (~ t ∨ ~ q)] → r
เสมอ ไม่มีทางเป็นจริงได้ ... สรุปว่าเราไม่มีทางทําให้
T
ข้อนีเ้ ป็นเท็จได้ ข้อนีจ้ ึงเป็นสัจนิรนั ดร์
≡ (~ t ∨ ~ q) → r
≡ (t ∧ q) ∨ r
ข้อ ง.
(4) s → r ≡ F แสดงว่า s ≡ T, r ≡ F
(10.3) [(q ∨ r) ∧ (q ∨ ~ r)] ∧ [(p ∧ s) ∨ (p ∧ ~ s) ]
p ∨ r ≡ T แสดงว่า p ≡ T
≡ [q ∨ (r ∧ ~ r) ∧ (p ∧ (s ∨ ~ s)] ≡ q ∧ p
p → q ≡ T แสดงว่า q ≡ T
F
T
ก. [(....) ∧ (q ↔ r)] ∨ (r ↔ s) ≡ F ถูก
ข้อ ก.
F
F
(11) ข้อ ข. กับ ง. ไม่ใช่แน่นอน เพราะกลายเป็น
ข. [....] → (~ r ∧ s) ≡ T ถูก
ab > 0, a < 0, b < 0 ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับโจทย์ ...
T
ดังนัน้ พิจารณาเฉพาะ ก. กับ ค.
(5) p ↔ q ≡ T แสดงว่า p ≡ q
โจทย์ (p ∧ q) → r
r ∨ ~ s ≡ F แสดงว่า r ≡ F, s ≡ T
ก. (~ p ∨ ~ q) → ~ r ผิด
ดังนัน้ [(~ p ∧ r) → ....] ≡ T
ค. ~ r → (~ p ∨ ~ q) ถูก
F
(12) ก. p → (q ∨ r) ข. (~ q ∧ ~ r) → ~ p
พิจารณา ก. ~ (....) → ~ r ≡ T ถูก
T
ค. ~ p ∨ q ∨ r ข้อ ก. และ ข. กระจายแล้วจะ
ข. r ↔ (p ∧ ~ q) ≡ T ถูก
เหมือนข้อ ค. ดังนั้นสมมูลกันหมดทุกข้อ
F
F
(13)
ก. ~ (p ∧ ~ r) ∨ ~ q ≡ ~ p ∨ r ∨ ~ q
ค. (s → r) ∨ (p → q) ≡ T ถูก
≡ q → (r ∨ ~ p) ถูก
T
(6) p ≡ q , r ≡ ~ s ดังนัน้
ข. p → (q → r) ≡ ~ p ∨ (~ q ∨ r)
ก. [.... ∨ (r ↔ ~ s)] ↔ [.... ∨ (~ r ∨ ~ s)] ≡ T
และ q → (p → r) ≡ ~ q ∨ ( ~ p ∨ r) ถูก
T
T
ค. (p ∧ q) → r ≡ ~ p ∨ ~ q ∨ r และ
ดังนัน้ ก. ผิด
(p → ~ q) ∨ (p → r) ≡ ~ p ∨ ~ q ∨ ~ p ∨ r ถูก
ข. [....] → [(p ∨ ~ q) ↔ (r → ~ s)] ≡ T ถูก
(14.1) ลองทําตารางค่าความจริง
T
T
(7) ก. ~ [(~ p ∨ ~ q) ∧ (r ∨ s)] ≡
p q p*p q*q (p*p)*(q*q)
(p ∧ q) ∨ (~ r ∧ ~ s)
ข. ~ [~ (p ∧ ~ q) ∨ ~ r] ≡ (p ∧ ~ q) ∧ r
(8) ให้ p แทน “เดชาขยัน”, q แทน “เดชาทํา
การบ้านสม่าํ เสมอ”, r แทน “เดชาสอบผ่าน”
ดังนัน้ โจทย์บอกว่า (p ∧ q) → r เป็นเท็จ
แสดงว่า p ≡ q ≡ T, r ≡ F
ก. p ∧ ~ q ≡ F
ข. ~ p ∧ q ≡ F
ค. ~ r → ~ q ≡ F ง. p ↔ ~ r ≡ T ตอบ ง.
T
T
F
F
T
F
T
F
F
F
T
T
F
T
F
T
T
F
F
F
พบว่าผลลัพธ์ที่ได้นี้เหมือนกับ p ∧ q จึงตอบ ก.
(14.2) จากตารางในโจทย์ มี F*F เท่านัน้ ที่ให้ผล
เป็นจริง คล้ายๆ ตัวเชือ่ ม “หรือ” ... แต่ผลตรงกัน
ข้าม (ตัวเชือ่ ม “หรือ” จะได้ผลเป็น T,T,T,F
ตามลําดับ)
ดังนัน้ p ∗ q ≡ ~ (p ∨ q) ... ตอบข้อ ก.
เพราะ ~ (~ p → q) ≡ ~ (p ∨ q)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
77
(15) ทําตารางค่าความจริงเพื่อนับจํานวนกรณี
p q r q*r p*(q*r)
(17.2)
T
T
T
T
F
F
F
F
T
T
F
F
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
T
F
F
F
F
T
F
F
F
T
F
F
F
F
T
T
T
F
คําตอบคือ จริง:เท็จ เท่ากับ 3:5
(16.1) (p ∧ q) → [(p ∨ q) → r]
F
T
F
T T
T T F
ทําเป็นเท็จได้ แสดงว่าไม่เป็นสัจนิรันดร์
(16.2) (p ∨ q) → [(p ∧ q) → r]
F
T
F
T T
T T F
ทําเป็นเท็จได้ แสดงว่าไม่เป็นสัจนิรันดร์
(16.3) [(p → q) ∧ (q → r)] → (p → r)
F
T
T
F
T T F F T F
ทําเป็นเท็จไม่ได้ เพราะค่า q ขัดแย้งกัน
แสดงว่า เป็นสัจนิรันดร์
(16.4) [(p → r) ∧ (q → r)] → [(p ∧ q) → r]
F
T
T
F
T T F
T T T T
ทําเป็นเท็จไม่ได้ เพราะค่า r ขัดแย้งกัน
แสดงว่า เป็นสัจนิรันดร์
(16.5) [(p → r) ∧ (q → r)] → [(p ∨ q) → r]
F
T
T
F
T
F
F F F F
F F
ทําเป็นเท็จไม่ได้ เพราะค่า p กับ q ต้องเป็นเท็จ
เท่านั้น ทําให้ p ∨ q เป็นจริงไม่ได้
แสดงว่า เป็นสัจนิรนั ดร์
(16.6) [(p → r) ∧ (q → s) ∧ (p ∧ q)] → (r ∨ s)
F
T
T
T
F
F F F F T T F F
ทําเป็นเท็จไม่ได้ เพราะค่า p ขัดแย้งกัน, q ก็ขัดแย้ง
กัน ... แสดงว่า เป็นสัจนิรันดร์
(16.7) ⎣⎡[(p ∧ q) → r ] ∧ (p → q)⎦⎤ → (p → r)
F
T
T
F
T F F T T T F
ทําเป็นเท็จไม่ได้ เพราะค่า q ขัดแย้งกัน
แสดงว่า เป็นสัจนิรันดร์
(17.1) ~ (p → ~ q) ≡ ~ (~ p ∨ ~ q) ≡ p ∧ q
ดังนัน้ เป็นสัจนิรนั ดร์
ตรรกศาสตร
≡ q∨p
(17.3)
(~ p ∧ q) ∨ p ≡ (~ p ∨ p) ∧ (q ∨ p)
T
ดังนั้นไม่เป็นสัจนิรันดร์
(p ∨ q) ∧ ~ p ≡ (p ∧ ~ p) ∨ (q ∧ ~ p)
F
ดังนัน้ เป็นสัจนิรันดร์
≡ q∧ ~ p
(17.4)
(p ↔ q) ≡ (p → q) ∧ (q → p)
≡ (~ p ∨ q) ∧ (~ q ∨ p)
(17.5)
ดังนั้น เป็นสัจนิรันดร์
(p ∧ q) → (p ∨ q) ≡ ~ (p ∨ q) → ~ (p ∧ q)
≡ (~ p ∧ ~ q) → (~ p ∨ ~ q)
(17.6)
เป็นสัจนิรนั ดร์
~ p ∨ (q ∧ r) ≡ (~ p ∨ q) ∧ (~ p ∨ r)
≡ (p → q) ∧ (p → r) เป็นสัจนิรน
ั ดร์
(17.7) ซ้ายมือ ~ p ∨ ~ q ∨ r
ขวามือ ~ (~ p ∨ q) ∨ r ≡ (p ∧ ~ q) ∨ r
ดังนัน้ ไม่เป็นสัจนิรันดร์
(17.8) ข้อนี้แจกแจงยาก
ใช้วิธีพจิ ารณาความสมมูลแต่ละกรณีดกี ว่า
p q r ซ้าย ขวา
T
T
T
T
F
F
F
F
T
T
F
F
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
T
F
T
F
F
T
F
T
T
F
T
F
F
T
F
T
T
F
ซ้ายกับขวามีค่าตรงกันเสมอ ดังนัน้ เป็นสัจนิรันดร์
(18.1) [(p ∨ r) → (q ∨ r)] ∨ (p ∨ q)
F
F
F
F F
นําค่า p และ q เป็นเท็จไปใส่ดา้ นหน้า จะลดรูป
หายไปเหลือเพียง r → r ซึ่งพบว่าเป็นจริงเสมอ ไม่มี
ทางทําให้ด้านหน้าเป็นเท็จได้เลย ดังนัน้ ข้อนี้
เป็นสัจนิรันดร์
(18.2) [(~ p ∧ q) → ~ p] ∨ (p → q)
F
F
F
T T F
F T
ทําเป็นเท็จไม่ได้ เพราะค่า q ขัดแย้งกัน
แสดงว่า เป็นสัจนิรันดร์
(19.1) (p ∧ ~ p) → (q ∧ ~ q) ≡ F → F ≡ T
เสมอ (เป็นสัจนิรันดร์) ดังนั้น นิเสธของประพจน์นี้
ไม่เป็นสัจนิรนั ดร์ (แต่จะเป็นเท็จทุกกรณี)
(19.2) [p ∧ T] ↔ [~ p ∨ F] ≡ p ↔ ~ p ≡ F
เสมอ ดังนั้น นิเสธของประพจน์นี้ เป็นสัจนิรันดร์
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
78
ตรรกศาสตร
(19.3) เนื่องจาก p ↔ q สมมูลกับ ~ p ↔ ~ q
ดังนัน้ ~ (p ↔ q) ∧ (~ p ↔ ~ q) ≡ ~ , ∧ , ≡ F
เสมอ ... นิเสธของประพจน์นจี้ ึงเป็นสัจนิรันดร์
(20) p, q, r เป็นประพจน์ใดๆ รูปแบบที่จะเป็นจริง
เสมอก็คือ “สัจนิรันดร์” นั่นเอง
ก. (p → q) → (~ p ∧ ~ q)
F
T
F
F T
F T
ทําเป็นเท็จได้ แสดงว่าไม่เป็นสัจนิรันดร์
ข. (p → q) ↔ (~ p ∨ q) เนื่องจากซ้ายกับขวา
สมมูลกัน จึงเป็นสัจนิรันดร์
ค. ~ ((p ∨ q) ∨ r) → (~ (p ∧ q) ∧ ~ r)
F
F
T
F F T
F F F
ทําเป็นเท็จไม่ได้ เพราะค่า r ขัดแย้งกัน
แสดงว่า เป็นสัจนิรันดร์
ง. จากด้านซ้าย (~ p ∨ r) ∧ (~ q ∨ r)
(23.2)
1.
2.
3.
4.
2. q → s
p → s
3. ~ s
~p
1. p → (q → r)
≡ q → (p → r)
3. q
p → r
2. s → p
1. ~ p → q
2. q → ~ r
~p →~r
≡ r→ p
3.
ผล
(25)
ผล
s
ไม่สมเหตุสมผล
p
แสดงว่า
ผล
~p
∴
4. p
ได้ q
2. (p ∧ q) → r
ได้ r
3. ~ s ∨ ~ r
≡ r→~s
ได้ ~ s
คือ
r
ตอบว่า ฉันไม่ขยัน
วิธีคดิ
1. p → q
4. ~ q
~p
2. ~ p → r
r
3. s → ~ r
?
ผล
1. p → q
3.
1. p → ~ q
2. q
ผล
สมเหตุสมผล
(22.2) p → (r ∨ s)
2. (p ∧ q) → r
3. ~ (s ∧ r)
4. p
s → r
ผล
(24.2)
1.
p → q
2. ~ p → r
3. s → ~ r
4. ~ q
สมเหตุสมผล
(23.1) แปลงจากประโยคคําพูด
ให้เป็นสัญลักษณ์ได้ว่า
วิธีคดิ
เหตุ 1. p → q
q
1. p → ~ q
~p
(26)
~p∨r∨s
r
3. r → q
ไม่สมเหตุสมผล
(24.1)
ไม่เหมือนด้านขวา ดังนัน้ ไม่เป็นสัจนิรันดร์
จ. จากด้านซ้าย (~ p ∨ q) ∨ (~ p ∨ r)
ไม่เหมือนด้านขวา ดังนัน้ ไม่เป็นสัจนิรันดร์
สรุปว่า ข้อ ข. และ ค. ที่เป็นจริง
(21) เนื่องจากซ้ายและขวาสมมูลกัน ดังนัน้
เครื่องหมายที่ใช้ได้คือ → กับ ↔
(22.1) 1. p → q
2. r ∨ s
4. ~ s
p
ผล
≡ (~ p ∧ ~ q) ∨ r ≡ (p ∨ q) → r
≡ ~ p ∨ (q ∨ r) ≡ p → (q ∨ r)
วิธีคดิ
p →~ q
r∨s
r → q
~ s
~ s
ดังนัน้ ต้องตอบว่า ~ s เป็นจริง
แต่ในตัวเลือกเป็นดังนี้
ก. ~ s ∨ p ข้อที่ใช้ได้คอื ก. (เพราะเชือ่ มด้วย ∨ )
ข. s ∧ p
ค. ~ r ∧ ~ s ใช้ไม่ได้ เพราะเชือ่ มด้วย ∧ ซึง่ เรา
ทราบว่า ~ r เป็นเท็จ (เพราะในเหตุนั้น r เป็นจริง)
ง. p ∧ ~ q
(27) ก. เท็จ เพราะมี x ที่ x2 > 0 คือเมื่อ x = 0
ข. จริง เช่น x = 2 จะได้ 8 > 4, 2 < 4
ค. เท็จ เพราะถ้า x = 1 จะไม่เป็นจํานวนเฉพาะ
ง. เท็จ เพราะไม่มี x ใด ตรงตามเงื่อนไขเลย
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
79
(28) ก. “สําหรับทุกๆ x ถ้า x เป็นจํานวนอตรรก
ยะแล้ว 2 เป็นจํานวนตรรกยะ”
... เท็จ (เช่น x = 3 )
ข. “มีบาง x ซึ่ง...ถ้า x เป็นจํานวนตรรกยะแล้ว
0.5 เป็นจํานวนอตรรกยะ”
... จริง (เช่น x = 2 จะได้ F → F เป็น T )
ค. “สําหรับทุกๆ x ... x เป็นจํานวนอตรรกยะ หรือ
π ไม่เป็นจํานวนตรรกยะ”
... จริง เพราะ π ไม่เป็นจํานวนตรรกยะ จริงเสมอ
(, ∨ T ≡ T )
ง. “มีบาง x ซึ่ง... x เป็นจํานวนตรรกยะ และ
22
ไม่เป็นจํานวนอตรรกยะ”
หรือ x = 0) จริง (ไม่วา่
x = −1, 0, 1 ก็จะจริงอันใดอันหนึ่งเสมอ) T
(33.1) มี x บางตัวและ y บางตัว ที่ทาํ ให้
x2 + y > 2 จริง เช่น x = 1, y = 1
(33.2) มี x บางตัว ใช้ y ได้ทุกตัว เท็จ
เข่น x = −1 → y = 0 ไม่ได้
x = 0 → y = 0 ไม่ได้
x = 1 → y = 0 ไม่ได้
(33.3) x ทุกตัว ใช้ y ได้บางตัว เท็จ
เช่น x = 0 จะใช้ y ไม่ได้เลย
(33.4) x ทุกตัว y ทุกตัว เท็จ แน่นอน
เช่น x = 0, y = 0 ก็ไม่ได้แล้ว
(34.1) เท็จ เช่น x = 1, y = −1 จะได้วา่ 2 ≠ 0
(34.2) ทุกๆ x จะใช้ y ได้บางตัว จริง เช่น
7
... จริง เพราะ 22 ไม่เป็นจํานวนอตรรกยะ จริง
7
เสมอ และลองแทนด้านหน้าให้จริงด้วย เช่น x = 1
หมายเหตุ ∀x พิสจู น์ให้เท็จง่าย
∃x พิสจ
ู น์ให้จริงง่าย
(29) ก. “สําหรับทุก x ... x > x2 ”
ใน U = (0, 1) ... จริง
ข. “สําหรับทุก x ... x เป็นจํานวนเฉพาะ หรือ
ห.ร.ม. ของ 3 กับ x เป็น 1 ” ... จริง เพราะ
2, 3, −5 เป็นจํานวนเฉพาะ, และ 8 มี ห.ร.ม. กับ
3 เป็น 1
ดังนัน้ ก. ถูก ข.ผิด
(30) ∃x (x3 + 5x − 1 < 4) เป็นจริง เช่น x = −1
จะได้ −7 < 4 จริง
∀x(|x2 − 1| < 0 → x > − 2) เป็นจริง
เพราะส่วนที่ขีดเส้นใต้เป็นเท็จเสมอ
และ F → , ≡ T
สรุปข้อนีต้ อบ T ∧ T ≡ T
2
(31) ∃x(x − 1 เป็นจํานวนนับ) จริง เช่น x = 2
จะได้ 22 − 1 = 3 เป็นจํานวนนับ
∀x(x + 1 > 0) จริง (จํานวนนับใดๆ + 1 ย่อม
มากกว่า 0 )
2
2
∀x( < 0) เท็จ เช่น x = 1 จะได้
<0
x
1
ดังนัน้ ข้อนี้ตอบ (T ∧ T) → F ≡ F
(32.1) ∃x(x2 ≠ 1) จริง เช่น x = 0 ,
∀x(x2 ≠ 1) เท็จ เช่น x = 1 , ดังนัน
้ T→F≡F
(32.2) ∃x(x + 1 > 0) จริง เช่น x = 0
∃x(x2 ≠ 1) จริง ดังนั้น T ∧ T ≡ T
(32.3) ∃x(x + 1 > 0 และ x2 ≠ 1) จริง
เช่น x = 0 ดังนัน้ T
(32.4) ∀x(x2 > 0) เท็จ เช่น x = 0
้ F∨F ≡F
∀x(x = 0) เท็จ เช่น x = 1 ดังนัน
ตรรกศาสตร
(32.5)
∀x(x2 > 0
x = 0, y = 0
x = 0, y = 1
x = − 1, y = − 1
(34.3) บาง x ใช้ y ได้ทุกตัว เท็จ
เช่น x = −1 ใช้ y = 1 ไม่ได้
x = 0 ใช้ y = 1 ไม่ได้
x = 1 ใช้ y = −1 ไม่ได้
(34.4) บาง x บาง y จริง
(34.5) บาง x ใช้ y ได้ทุกตัว เท็จ
เช่น x = 0, y = 0 ไม่ได้ x = 1, y = 1 ไม่ได้
x = −1, y = −1 ก็ไม่ได้
(35.1) บาง x ใช้ y ได้ทุกตัว เท็จ
( y = x ไม่ได้)
(35.2) x ทุกตัว ใช้ y ได้บางตัว จริง
คือ x = 2, y = −2 ได้, x = −2, y = 2 ได้
(36) ก. ∀x∃y(xy = 1) เท็จ
เช่น x = 2 จะไม่มี y ∈ I ที่ใช้ได้เลย
∃x∀y(xy = y) จริง
ถ้า x = 1 จะได้วา่ xy = y เสมอทุกๆ y
ดังนัน้ สรุปข้อนี้ F ↔ T ≡ F
ข. ∀x∃y(xy = 1) เท็จ ∃x∀y(xy = y) จริง
(เหตุผลเดียวกับข้อ ก.) ข้อนีจ้ ึงได้ F ↔ T ≡ F
ค. ∀x∃y(xy = 1) เท็จ เช่น x = 0 จะไม่มี
y ∈ R ที่ใช้ได้เลย
∃x∀y(xy = y) จริง (เหตุผลเดิม)
ดังนัน้ ข้อนี้ F ↔ T ≡ F
ง. ∀x∃y(xy = 1) จริง ไม่วา่ x ∈ R+ ใด
จะมี y ∈ R+ ใช้ได้เสมอ
∃x∀y(xy = y) จริง (เหตุผลเดิม)
... ตอบ ง.
ดังนัน้ ข้อนี้ T ↔ T ≡ T
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
80
(37) ก. เท็จ เช่น x = 10, y = 5 จะได้ 15 > 50
ข. เท็จ ไม่มี x, y ใดเลย ที่บวกกันแล้ว < 0 ได้
ค. เท็จ ไม่มี x ใด ที่ใช้ y ได้ทุกตัว
(ไม่ว่า x ใด เราจะหา y ที่ > x ได้เสมอ)
ง. จริง ทุกๆ x จะมีบาง y ซึ่ง y > x เสมอ
ดังนัน้ ตอบ ง.
(38.1) ∃x [P (x) ∧ Q (x)]
(38.2) ∃x [P (x) ∧ Q (x) ∧ ~ R (x))]
(38.3) ∀x [P (x)] → ∃x [Q (x)]
(38.4) ∀x∀y [(x + y = 5) ∧ (x − y ≠ 1)]
(38.5) ∀x∀y [x 0 ∨ y = 0 ∨ xy 0]
(38.6) ∀x∃y (xy > 0 ∧ x > 0 ∧ y > 0)
(38.7) ∀x∀y [P (y) ∧ ~ R (x) ∧ Q (x)]
(38.8) ∃x∀y∃z (x + y < z หรือ xy > z)
(39) ก. ถูกแล้ว
แต่ ข. ผิด ต้องเป็น ∃x[x < 6] ∧ ∃x[x < 8]
(40.1) a = −9 (เป็นจํานวนคี่ ติดลบ เรียงกัน /
หรืออาจมองว่าลดลงทีละ 2 ก็ได้)
(40.2) a = 22 (ลงท้ายด้วยเลข 2 และขึ้นหลัก
ยี่สิบ / หรืออาจมองว่าเพิ่มทีละ 5 ก็ได้)
(40.3) a = 5 (จํานวนนับเรียงกัน โดยติดลบสลับ
กับไม่ติดลบ)
(40.4) a = 48 (บวกด้วยตัวมันเองกลายเป็นพจน์
ถัดไป / หรืออาจมองว่าคูณ 2)
(40.5) a = −5 (ลดลงทีละ 2)
(41.4)
หรือ
a = 3
(40.6)
a =
ก็ได้ (มองว่าหมุนเวียน)
5
6
3 → 1
↑
↓
−3 ← −1
(เศษส่วนของจํานวนนับเรียงติดกัน)
ตรรกศาสตร
9 × 9876 + 4 = 88888 ,
9 × 98765 + 3 = 888888
(41.5)
(41.6)
11 × 14 = 154 , 11 × 15 = 165
1089 × 4 = 4356 ,
1089 × 5 = 5445
(41.7)
2 (3) + 2 (9) + 2 (27) + 2 (81) = 3 (81 − 1) ,
2 (3) + 2 (9) + 2 (27) + 2 (81) + 2 (243) = 3 (243 − 1)
(41.8)
6 × 7 = 2 (1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6) ,
7 × 8 = 2 (1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7)
(42.1,42.2)
สมชาย
สมชาย
คน
สิ่งที่ว่ายน้ําได้
เป็นไปได้ทั้ง 2 แบบ จึงไม่สมเหตุสมผล
(42.3)
คนคุยใน
เวลาเรียน
นร.ห้องนี้
เด็กดี
สมเหตุสมผล
(42.4)
ผู้ทําการบ้าน นักเรียน
ไม่เสร็จ
อาจเป็นไปตามนีไ้ ด้
(42.5)
∴
ไม่สมเหตุสมผล
ฉัน
(40.7) a = 25 (กําลังสองของจํานวนนับ)
(40.8) a = 3 3 3 3 3 (มีเลข 3 อยู่ 5 ตัว)
ผู้เงินหมด
(40.9) หลักหน่วยควรเป็น 7 เนื่องจากหลักหน่วย สมเหตุสมผล
เรียงกันเป็นลําดับ 5, 6, _, 8, 9
(42.6)
ส่วนหลักทีเ่ หลือก็เป็นลําดับ
12,
36288
72
, _, 4032,
×6
1234 × 9 = 11111 − 5 ,
เป็นไปได้ 2 แบบ
Math E-Book Release 2.2.04
สิ่งที่บินได้
สัตว์น้ํา
คนมี
ฉัน
ความสุข
9 × 99999 = 899991
12345 × 9 = 111111 − 6
ผู้โดยสารรถเมล์ได้
นกแก้ว
×9
พบว่า 72 × 7 = 504 และ 504 × 8 = 4032 พอดี
ดังนัน้ ตอบว่า 5047
สมเหตุสมผล
(41.1) 37 × 12 = 444 , 37 × 15 = 555
(42.7)
(41.2) 9 × 9999 = 89991 ,
(41.3)
ผู้เล่นฟุตบอล
∴
ฉัน
คนยิ้มแย้ม
ไม่สมเหตุสมผล
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
81
(42.8)
(42.13)
สมนึก
นักเรียน
คนสวมแว่นตา
ผู้ร้าย
อาจเป็นตามนี้ได้
(42.9)
ตรรกศาสตร
∴
ไม่สมเหตุสมผล
คนขยัน
ช่าง
สมเหตุสมผล
(42.14)
สมนึก
นางแบบ
พระเอกหนัง
สมนึก
ผู้ชาย
ช่าง
สมเหตุสมผล
(42.10) ไม่สมเหตุสมผล
เพราะในเหตุไม่ได้ระบุว่า คนเป็นอะไร
(ไม่ได้พูดถึงคน, พูดถึงแต่สตั ว์)
“ไม่ได้บอกว่าคนเป็นสิง่ มีชีวติ ”
ห้ามใช้ความจริงบนโลกในการตัดสิน!
(42.11)
เป็นไปได้ 2 แบบ
(42.15)
∴
คนขยัน
ไม่สมเหตุสมผล
สุนัข
สัตว์
สิ่งที่ต้องหายใจ
ผู้ชาย
ผู้ชอบดื่มกาแฟ
ครู
อาจเป็นตามนี้ได้
(42.12)
∴
ไม่สมเหตุสมผล
กุ้ง
ปลา
อาจเป็นตามนี้ได้
∴
อาจเป็นตามนี้ได้ ∴ ไม่สมเหตุสมผล
(42.16) ไม่สมเหตุสมผล
เพราะในเหตุไม่ได้กล่าวว่าอะไรคือ “ผลไม้ทที่ านได้”
(คล้ายข้อ 42.10 คือห้ามใช้ความรู้สึกในการตัดสิน,
ห้ามใช้ความจริงบนโลกในการตัดสิน ให้ยดึ ถือเฉพาะ
เหตุที่ให้มาเท่านัน้ )
(42.17)
สิ่งที่มีสองตา
ไม่สมเหตุสมผล
นก
สิ่งที่บินได้
อาจเป็นตามนี้ได้
Math E-Book Release 2.2.04
∴
เพนกวิน
สิ่งที่มีปีก
ไม่สมเหตุสมผล
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ตรรกศาสตร
82
eÃ×èo§æ¶Á
มองตรรกศาสตร์ให้เป็นการคํานวณ จากพื้นฐานของดิจิตัล..
วิชาตรรกศาสตร์ถูกใช้เป็นพื้นฐานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบดิจิตัล ซึง่ ส่งสัญญาณด้วยค่าแรงดันไฟฟ้า
เป็นสัญญาณ “0” กับ “1” เท่านัน้ ...สัญญาณ “0” ใช้แรงดัน 0 โวลต์, เทียบได้กบั “False” ในตรรกศาสตร์
และสัญญาณ “1” ใช้แรงดัน 5 โวลต์ (หรือ 12 โวลต์ แล้วแต่อุปกรณ์), เทียบได้กับ “True” ในตรรกศาสตร์
ชิพที่ฝงั อยู่ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จะมีหลักการทํางานเสมือนเป็น
ตัวเชือ่ มทางตรรกศาสตร์ เรียกตัวเชื่อมเหล่านีว้ ่า เกต (Gate)
เกตที่นิยมใช้กนั ทั่วไปมีดงั นี้
เข้า
0
(1) INVERTER (เทียบได้กับ “นิเสธ”)
เปลี่ยน 0 เป็น 1 และเปลี่ยน 1 เป็น 0
ออก
1
inv
1
and
0
0
(2) AND (เทียบได้กับ “และ”)
จะเป็น 1 เพียงกรณีเดียวคือสัญญาณเข้าทั้งสองด้านเป็น 1
1
or
1
0
(3) OR (เทียบได้กับ “หรือ”)
จะเป็น 0 เพียงกรณีเดียวคือสัญญาณเข้าทั้งสองด้านเป็น 0
1
nand
1
0
(4) NAND กับ NOR (อ่านว่า แนนด์ กับ นอร์)
เป็นนิเสธของ AND กับนิเสธของ OR ตามลําดับ
คือนําผลที่ได้จาก AND กับ OR มากลับค่าให้เป็นตรงกันข้าม
1
nor
(5) XOR (อ่านว่า เอ๊กซ์-ออร์)
จะเป็น 1 เมือ่ สัญญาณเข้าด้านหนึ่งเป็น 0
และอีกด้านเป็น 1 เท่านัน้ (0 ทั้งคู่ กับ 1 ทั้งคู่ จะให้ผลเป็น 0)
จากความรู้ทางตรรกศาสตร์จะพบว่าเป็นนิเสธของ “ก็ต่อเมื่อ” นั่นเอง
0
0
1
xor
1
0
สิ่งทีน่ า่ สนใจของดิจติ ัลคือการมองตรรกศาสตร์เป็นแบบคํานวณ คือเมื่อเราให้ 0 แทน False และ 1 แทน
True แล้วจะพบว่าตัวเชือ่ ม AND มีลักษณะเหมือนการคูณ ส่วน OR นั้นมีลกั ษณะเหมือนการการบวก (โดย
ที่ 1+1 จะต้องเท่ากับ 1, จะเป็น 2 ไปไม่ได้นะครับ..) ดังตารางนี้
A
1
1
0
0
B
1
0
1
0
A and B
(AB)
1
0
0
0
A
1
1
0
0
B
1
0
1
0
A or B
(A+B)
1
1
1
0
เราสามารถนําพืน้ ฐานดิจติ ัลกลับไปประยุกต์ใช้กับวิชาตรรกศาสตร์ได้
เพียงแค่ทราบว่า “และคือคูณ”, “หรือคือบวก” เท่านี้เองครับ :]
Math E-Book Release 2.2.04
A
1
0
not A
(A )
0
1
หมายเหตุ
A nand B = AB = A + B
A nor B = A + B = A B
(แจกแจงนิเสธตามกฎตรรกศาสตร์)
A xor B ใช้สัญลักษณ์
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
A ⊕B
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
83
G (e,o)
º··Õè
4 eâҤ³iµÇie¤ÃÒaË
เรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry)
เป็นวิชาคํานวณเกี่ยวกับรูปเรขาคณิต โดยการเขียน
กราฟลงบนพิกัดฉาก เช่น การหาระยะระหว่างจุดสอง
จุด, ระหว่างเส้นตรงคู่ขนานสองเส้น, การหาพื้นที่รูป
หลายเหลี่ยม, หรือการหาความชันของเส้นตรง เป็น
ต้น ซึ่งจะใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ในบทถัดไปได้ นอกจากนี้
ความสัมพันธ์ที่พบบ่อยอาจมีกราฟเป็นเส้นโค้ง ได้แก่
วงกลม พาราโบลา วงรี และไฮเพอร์โบลา
y
ใน ระนาบ (Plane) หนึ่งๆ เราจะอ้างถึงตําแหน่งหรือจุดใดๆ
Q2
Q1
ได้ด้วยค่า พิกัด (Coordinate) โดยระบบที่นิยมใช้มากที่สุดคือระบบ
(−, +)
(+, +)
พิกัดฉาก (Cartesian Coordinate) ประกอบด้วยเส้นจํานวน 2 เส้น
x
ตั้งฉากกัน ณ จุดที่สมมติให้เป็น จุดกําเนิด (Origin; หรือจุด O)
Q3 O
Q4
เรียกชื่อเส้นนอนและเส้นตั้ง ว่าแกน x และแกน y ตามลําดับ
(−, −)
(+, −)
แกนทั้งสองนี้ตัดกัน แบ่งพื้นที่ในระนาบ xy ออกเป็น 4 ส่วน
เรียกแต่ละส่วนว่า จตุภาค (Quadrant; Q) ได้แก่ จตุภาคที่ 1, 2, 3, และ 4 ดังภาพ
การอ้างถึงพิกัดในระบบพิกัดฉาก นิยมเขียนในรูป คู่อันดับ (Ordered Pair) ที่สมาชิกตัว
แรกแทนระยะทางในแนว +x และตัวหลังแทนระยะทางในแนว +y เช่น คู่อันดับ (2, 4)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
84
4.1 เบื้องต้น : จุด
การเขียนชื่อจุดนิยมใช้ตัวอักษรใหญ่ เช่น จุด P, จุด Q และอาจเขียนกํากับด้วยคู่อันดับใน
พิกัดฉาก เป็น P (x, y) ใดๆ เช่น Q (2, 4) ใช้แทนจุดที่ชื่อ Q และมีพิกัดเป็น (2, 4)
[1] ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนระยะห่าง ระหว่างจุด P กับ Q คือ
PQ
Q (x2,y2)
PQ
=
พิสูจน์ได้จาก ทฤษฎีบทปีทาโกรัส
(Pythagorean Theorem)
(x2− x1) 2+ (y2− y1) 2
P (x1,y1)
[2] จุดกึ่งกลางระหว่างสองจุด
Q (x2,y2)
R(
x1+ x2 y1+ y2
,
)
2
2
เพิ่มเติม
สูตรระยะทางระหว่างจุดนี้จะได้นําไปใช้อีกครั้งและ
ขยายผลออกเป็นระยะทางในสามมิติ ในเรื่อง
เวกเตอร์ (บทที่ 10) และนอกจากนั้นยังใช้คํานวณ
ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนเชิงซ้อน (ในบทที่ 11) ด้วย
จุดที่แบ่งระยะทางเป็นอัตราส่วน m:n
Q (x2,y2)
m
n
P (x1,y1)
P (x1,y1)
mx + nx2 my1+ ny2
R( 1
,
)
m+n
m+n
[3] จุดตัดของเส้นมัธยฐานของสามเหลี่ยม
เส้นมัธยฐาน คือเส้นตรงที่เชื่อมจุดยอดจุดหนึ่งกับจุดกึ่งกลางของด้านตรงข้าม ซึ่งจุดตัดของ
เส้นมัธยฐาน (เรียกว่าจุด Centroid) จะแบ่งเส้นมัธยฐานแต่ละเส้นออกเป็นอัตราส่วน 2 : 1 เสมอ
R (x3,y3)
P (x1,y1)
x+x +x y+y +y
C ( 1 2 3 , 1 2 3)
3
3
C
Q (x2,y2)
[4] พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม
คํานวณได้โดย นําคู่อันดับของจุดยอดมาตั้งเรียงแบบทวนเข็มนาฬิกาให้ครบทุกจุด (โดยวนกลับมาที่
จุดแรกอีกครั้งด้วย) จากนั้น คูณลงเครื่องหมายเดิม คูณขึ้นเปลี่ยนเครื่องหมาย (วิธีการเดียวกับการ
หา det ในเรื่องเมตริกซ์ บทที่ 9) นําค่าที่ได้รวมกันแล้วหารสอง จะเป็นพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมนั้น
T (x5,y5)
พื้นที่
x1
x2
x
1
=
⋅ 3
x
2
4
x5
x1
y1
y2
y3
y4
y5
y1
S ¢o¤Ç÷ÃÒº! S
1. 㪡aºÃÙ»¡ÕèeËÅÕèÂÁ¡çä´ eª¹ 3 eËÅÕèÂÁ
eÃÒ¡çµo§¤Ù³Å§ 3 ¤Ãaé§ ¤Ù³¢Öé¹ 3 ¤Ãaé§
P (x1,y1)
S (x4,y4)
Q (x2,y2)
R (x3,y3)
2. ¶ÒäÁeÃÕ§¨u´µÒÁeʹÃoºÃÙ» ¤íÒµoº·Õè
ä´¨a¼i´ ... æµ¶ÒeÃÕ§µÒÁe¢çÁ¹ÒÌi¡Ò
¤íÒµoº·Õèä´¨ae»¹ µi´Åº¢o§¤Ò·Õè¶Ù¡µo§
1
=
(x1y2+ x2y3+ x3y4+ x4y5+ x5y1− x2y1− x3y2− x4y3− x5y4− x1y5)
2
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
85
แบบฝึกหัด 4.1
(1) กําหนดจุด
P1 (1, 7)
และ
P2 (−5, 2)
ให้หาค่า
PP
1 2
(2) ถ้า P, Q เป็นจุดกึ่งกลางของ AB , CD ตามลําดับ เมื่อกําหนด
C (−2, 5) , และ D (8, 1) ให้หาความยาวของ PQ
A (2, 7) , B (6, −3) ,
y
(3) กําหนดสี่เหลี่ยมด้านขนาน OBCD ดังภาพ, P เป็นจุดกึ่งกลาง
ของ BC , และ PC = PQ จงหาขนาดพื้นที่สามเหลี่ยม PQC
D (2,4) C
P
(4) กําหนดสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอดมุมอยู่ที่ A (5, −3) ,
B (−6, 1) , C (1, 8) แล้วสามเหลี่ยมรูปนี้เป็นสามเหลี่ยมชนิดใด
(5) สามเหลี่ยม ABC มีจุดกึ่งกลางด้านทั้งสามเป็น
เส้นรอบรูปสามเหลี่ยม ABC นี้
O
x
B (2,0)
P (−2, 1) , Q (5, 2) , R (2, −3)
(6) กําหนดสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีจุดยอดอยู่ที่ A (2, 8) , B (6, 12) ,
บนด้าน AB และ BC ตามลําดับ โดยมีอัตราส่วน AP : PB =
หา PQ
Q
ให้หาความยาว
C (−2, −4)
ถ้าจุด P และ Q อยู่
1 : 3 , BQ : BC = 3 : 4 ให้
(7) ข้อใดถูกหรือผิดบ้าง เมื่อกําหนด
ก. จุด A (10, 5) , B (3, 2) , C (6, −5) เป็นจุดมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ข. จุด D (1, 2) , E (−3, 10) , F (4, −4) อยูบ่ นเส้นตรงเดียวกัน
ค. จุด A (−2, 3) , B (−6, 1) , C (−10, −1) อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน
(8) จงหาจุด P บนแกน x ซึ่งอยู่ห่างจากจุด
P1 (1, −2)
(9) ให้หาจุดศูนย์กลางของวงกลม ซึ่งผ่านจุด
(1, 7) , (8, 6) , (7, −1)
และ
P2 (3, 5)
เป็นระยะเท่ากัน
(10) ให้หาผลบวกของความยาวเส้นมัธยฐาน ของสามเหลี่ยม
ที่มีจุดยอดอยู่ที่ A (2, −1) , B (4, 3) , และ C (−2, 5)
(11) ถ้า (m, n) เป็นจุดตัดของเส้นมัธยฐาน ของสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดอยู่ที่
(4, 1) แล้วจงหาค่า m − n
(12) สามเหลี่ยม ABC มีจุดยอดเป็น B (6, 7) , C (−4, −3) ถ้าจุด
มัธยฐานแล้ว เส้นมัธยฐานที่ลากจาก A มีความยาวเท่าใด
(4, 5) , (−4, 7) ,
P (4/3, 1)
และ
เป็นจุดตัดของเส้น
(13) P เป็นจุดกึ่งกลางระหว่าง (13, 2) และ (−13, −2) , Q เป็นจุดกึ่งกลางระหว่าง (6, 10) และ
(0, 14) , R เป็นจุดกึ่งกลางระหว่าง (8, 4) และ (16, −4) ให้หาพื้นที่และตําแหน่งจุดตัดของเส้นมัธย
ฐาน ของรูปสามเหลี่ยม PQR
(14) จงหาผลต่างของพื้นที่สามเหลี่ยม ABC และ PQR เมื่อกําหนดตําแหน่งจุดยอดให้ ดังนี้
A (1, 3) , B (−2, 0) , C (3, −5) , P (0, 0) , Q (8, 18) , และ R (12, 27)
(15) กําหนดจุด P (3, −2) , Q (−2, 3) , R (0, 4) แล้วข้อใดถูกหรือผิดบ้าง
ก. ความยาวเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม PQR เป็น 9 5 หน่วย
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
86
ข. พื้นที่รูปสามเหลี่ยม PQR เป็น 15 ตารางหน่วย
(16) ให้หาพื้นที่รูปห้าเหลี่ยมซึ่งมีจุดยอดอยู่ที่
A (1, 4) , B (−3, −2) , C (−1, −3) , D (−4, 5) ,
และ
E (−2, 7)
4.2 เบื้องต้น : เส้นตรง
เราสามารถสร้างเส้นตรงที่ผ่านจุดสองจุดที่กําหนดให้ เช่น จุด P กับ Q ใดๆ ได้เสมอ และ
เขียนแทน “ส่วนของเส้นตรง” ที่เชื่อมระหว่างจุด P กับ Q ด้วยสัญลักษณ์ PQ นอกจากนั้นนิยมตั้ง
ชื่อ “เส้นตรง” ด้วยอักษร L เช่น เส้นตรง L1 , เส้นตรง L2
[1] ความชัน (Slope; m) ของเส้นตรง ที่ทราบจุดผ่านสองจุด
เส้นตรงสองเส้น ขนานกัน (Parallel; ) ก็ต่อเมื่อ มีความชันเท่ากัน
และเส้นตรงสองเส้น ตั้งฉากกัน (Perpendicular; ⊥ ) ก็ต่อเมื่อ ความชันคูณกันเป็น -1
Q (x2,y2)
y −y
m = tan θ = 2 1
x2− x1
θ
ถ้า m > 0 (เป็นค่าบวก) แสดงว่า กราฟเฉียงขึ้นทางขวา
ถ้า m < 0 (ติดลบ) แสดงว่า กราฟเฉียงลงทางขวา
ถ้า m = 0 แสดงว่า เป็นเส้นนอนขนานแกน x
และถ้าเป็นเส้นตั้งขนานแกน y จะได้ว่า m หาค่าไม่ได้
P (x1,y1)
[2] สมการของเส้นตรง
[2.1] เมื่อทราบจุดผ่านจุดหนึ่ง (x1, y1) และค่าความชัน m
เราใช้ความสัมพันธ์ของความชัน คือ
m
หรือจัดรูปได้ว่า
P (x1,y1)
y − y1
= m
x − x1
y − y1 = m (x − x1)
[2.2] เมื่อทราบจุดผ่านสองจุด (x1, y1) , (x2 , y2)
ให้คํานวณค่าความชันจากสองจุดนี้ก่อน แล้วจึงทําตามข้อ (2.1)
โดยเลือกใช้จุดใดก็ได้จุดเดียว
Q (x2,y2)
สมการที่ได้จะเป็น y − y1 = ⎛⎜ y2 − y1 ⎞⎟ (x − x1)
⎝ x2 − x1 ⎠
P (x1,y1)
[2.3] เมื่อทราบ ระยะตัดแกน (Intercept) ทัง้ สองแกน
สามารถใช้สมการเส้นตรงในรูป Intercept Form
y
ได้แก่ x + y = 1
a
b
O
a
x
b
เมื่อ a, b คือ ระยะตัดแกน x และ y ตามลําดับ
หรือกล่าวว่าเส้นตรงตัดแกน x ที่จุด (a,0)
และตัดแกน y ที่จุด (0,b)
โดยที่ a, b อาจเป็นค่าติดลบก็ได้
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
87
ข้อควรทราบ
1. สมการเส้นตรงมีรูปทั่วไป (Common Form) เป็น A x + B y + C = 0
2. สมการเส้นตรงที่นิยมใช้ประโยชน์มีอยู่ 3 รูปแบบ ได้แก่
y = mx + c
เมื่อ c คือระยะตัดแกน y
Slope-Intercept Form
y − y1 = m (x − x1)
Slope-Point Form
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
x
y
Intercept-Intercept Form
+
= 1
a
b
3. เมื่อนํารูปทั่วไป มาจัดข้างตัวแปรใหม่ จะได้
ทําให้ทราบว่า ค่าความชัน
m = −
A
B
A
C
y = − x −
B
B
และระยะตัดแกนวาย
c = −
C
B
eÁ×èo¨aËÒ¤ÇÒÁªa¹o´Â –A/B ¹aé¹
¤ÇèíÒÇÒ µi´ÅºË¹Ò x Êǹ´ÇÂ
Ë¹Ò y e¾×èoäÁãË㪼i´µaÇ æÅaµo§
¨a´ÊÁ¡ÒÃãËoÂÙã¹ÃÙ» Ax+By+C
=0 ¡o¹eÊÁo ¹a¤Ãaº..
ตัวอยาง กําหนดพิกดั จุด P (1, 3) และ Q (5, 9)
ก. ความชันของเสนตรงทีผ่ านจุด P และ Q เทากับเทาใด
ตอบ m = 95 −− 31 = 3/2
ข. ใหหาสมการเสนตรง L ซึ่งตั้งฉากกับ PQ และผานจุดกึ่งกลางของ
วิธีคิด เนื่องจาก L ตั้งฉากกับ PQ ดังนั้น m = − 23 (ความชันคูณกันตองได
•
PQ
1
1
จุดกึ่งกลางของ
PQ
L1
PQ
−1
)
อยูทีพ่ ิกัด (1 +2 5 , 3 2+ 9) ... นั่นคือ (3, 6)
สราง L ไดจากความชันและจุดที่ผา น คือ (y − 6) = − 23 (x − 3) ... จัดรูปใหมใหสวยงาม
ไดเปน 3y − 18 = −2x + 6 ... และกลายเปน 2x + 3y − 24 = 0
1
ตัวอยาง เสนตรง L ตัดแกน y ที่ (0, 1/3) และมีระยะตัดแกน
เสนตรง L ผานจุด (−1, 2) และตั้งฉากกับ L
ก. เสนตรง L และเสนตรง L มีความชันเทาใด
ตอบ เมื่อวาดกราฟคราวๆ จะไดวา m = 1/3
= 2/3
1/2
•
5
6
x
ทางลบเทากับ
1/2
หนวย สวน
5
5
6
L5
เสนตรง L ตั้งฉากกับ L ดังนัน้ m = −3/2
หมายเหตุ : ระยะตัด “แกน x ทางลบ” เทากับ 1/2 หมายความวาตัดแกน x ที่จุด (−1/2, 0)
ข. จุดที่เสนตรงทั้งสองตั้งฉากกัน อยูท ี่พกิ ัดใด
วิธีคิด สรางสมการเสนตรง L และ L กอน ...
x
y
เสนตรง L อาจสรางไดโดยระยะตัดแกนทั้งสอง −1/2
+
= 1 จัดรูปเปน 2x − 3y = −1
1/3
6
5
L6
5
6
5
เสนตรง L สรางไดเปน (y − 2) = − 23 (x + 1) จัดรูปเปน 3x + 2y = 1
จุดที่เสนตรงทั้งสองตั้งฉากกัน ก็คือจุดตัดของสองเสนตรง หาไดจากการแกระบบสมการ
ไดคําตอบเปน (1/13, 5/13)
6
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
88
[3] ระยะห่างระหว่างเส้นตรงคู่ขนานสองเส้น
Ax+By+C1=0
d =
d
S ¢o¤ÇÃÃaÇa§! S
¨aµo§¨a´ÃÙ»ÊÁ¡ÒÃeʹµÃ§·a§é Êo§eʹãËoÂÙ
ã¹ÃÙ» Ax+By+C=0 eÊÁo... æÅa¶Ò¤Ò A,
B ¢o§Êo§ÊÁ¡ÒÃäÁeËÁ×o¹¡a¹ µo§ËÒ
¤Ò¤§·ÕèÁÒ¤Ù³ãËeËÁ×o¹¡a¹¡o¹¹a¤Ãaº
C2− C1
A2+ B2
Ax+By+C2=0
[4] ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง
P (x1,y1)
d
Ax+By+C=0
d =
ตัวอยาง กําหนดเสนตรง L : 2x + 3y − 24 = 0
ก. ระยะทางจากจุด S (−2, 5) ไปยังเสนตรง
•
A x1 + B y1 + C
A2+ B2
1
ตอบ
2(−2) + 3(5) − 24
dSL1 =
2
2
2 +3
13
=
13
=
13
L1
เทากับเทาใด
หนวย
ข. ใหหาสมการเสนตรงทีอ่ ยูหางจาก L เปนระยะ 2 13 หนวย
วิธีคิด สมการเสนตรงทีไ่ ด จะตองขนานกับ L (มีความชันเทากัน) จึงจะทําใหระยะหางคงที่ได
ดังนั้น ใหสมการที่ตองการ เปน 2x + 3y + C = 0 แลวหาคา C ที่ถูกตอง จากสมการระยะหาง
1
1
นั่นคือ
− 24 − C
2 13 =
22 + 32
... ยายขางและถอดคาสัมบูรณ ไดเปน
±26 = −24 − C
จึงตอบวา 2x + 3y + 2 = 0 และ 2x + 3y − 50 = 0
ค. ใหหาจุดบนเสนตรง L : 2x + y − 6 = 0 ซึ่งอยูหา งจาก L เปนระยะ
วิธีคิด สมมติวา จุดที่ตองการคือ (x , y ) จะไดสมการระยะหาง ดังนี้
จะไดคา
C = 2, −50
2
1
1
2 13 =
2x1 + 3y1 − 24
22 + 32
2 13
หนวย
1
ซึ่งจะพบวา ติดสองตัวแปร ... แตในทีน่ ี้เราสามารถแกไดเพราะโจทยกําหนด
มาดวยวาจุด (x , y ) อยูบนเสนตรง 2x + y − 6 = 0 ... ดังนัน้ 2x + y − 6 = 0
นําไปแทนทีใ่ นคาสัมบูรณแลวแกสมการตามปกติ ไดผลเปน x = −8, 5 ถา x = −8 ได y = 22 และถา
x = 5 ได y = −4 ... จึงตอบวาจุดที่ตองการ คือ (−8, 22) และ (5, −4)
หมายเหตุ ขอ ค. สามารถคิดไดอีกวิธี คือ หาจากจุดตัดระหวางเสนตรง L กับเสนตรงที่เปนคําตอบของ
ขอ ข. เพราะเสนตรงในขอ ข. ก็คือเสนที่หางจาก L อยู 2 13 หนวยแลว
1
1
1
1
1
1
1
1
1
2
1
ตัวอยาง กําหนดสมการเสนตรง L คือ 3x + y = 2 3 และ L คือ 3x + 3y = 18
ก. เสนตรงที่ขนานกับ L จะตองมีความชันเทาใด
ตอบ คิดจาก −A/B จะงายที่สุด เพราะไมตองจัดรูป ... ไดคําตอบเปน − 3 /1 = − 3
ข. มุมระหวาง L กับแกน x ที่เปนมุมแหลม มีขนาดกี่องศา
วิธีคิด หาความชันของ L กอน ไดเปน −3/ 3 = − 3
จากนั้นพิจารณาวาความชันคือ อัตราสวนแกนตัง้ ตอแกนนอน ( y : x ) ในที่นี้เทากับ 3
•
3
4
3
4
4
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
89
คิดจากตรีโกณมิติ จะพบวามุมทีท่ ํากับแกน x จะเทากับ 60°
(หมายเหตุ : มุมที่ได จะเทากันไมวาความชันเปนบวกหรือลบ เพียงแตเอียงคนละทิศกัน)
ค. วงกลมใดๆ ที่อยูระหวาง L กับ L จะมีรัศมีไดมากที่สุดหนวย
วิธีคิด เนื่องจากเสนตรง L กับ L ขนานกัน (จากความชันที่คํานวณได ในขอ ก. และ ข.)
ถาเราทราบระยะหางระหวางสองเสนนี้ ก็จะทราบวาวงกลมตรงกลางมีขนาดใหญทีส่ ดุ ไดเทาใด
3
3
4
4
C2− C1
d =
ระยะหางระหวางเสนตรง คิดจาก
A2+ B2
เหมือนกัน จึงตองปรับใหเทากัน เชน หารสมการ
ดังนั้น
dL3L4 =
6 3 −2 3
2
2
3 +1
=
4 3
= 2 3
2
... แตในขอนีค้ า
L4
ดวย
3
A, B
ของเสนตรงทั้งสองไม
กลายเปน
3x + y = 6 3
... สรุปวาวงกลมที่จะอยูระหวาง
L3
กับ
L4
ได
จะตองมีเสนผานศูนยกลางไมเกิน 2 3 หนวย หรือ รัศมีทีม่ ากทีส่ ุดเทากับ 3 หนวย
ง. พืน้ ที่ของรูปสามเหลี่ยมที่ปด ลอมดวย L , แกน x , และแกน y มีขนาดเทาใด
วิธีคิด เสนตรงใดๆ ที่ความชันหาคาไดและไมเทากับ 0 และไมผานจุด (0, 0) ยอมทําใหเกิดรูป
สามเหลี่ยมที่มีดา นประกอบมุมฉากเปน แกน x และแกน y ไดเสมอ ... ซึ่งขนาดของพื้นที่สามเหลีย่ มนี้
หาไดงายๆ ดวยระยะตัดแกน x และแกน y นัน่ เอง
ในขอนี้ ระยะตัดแกน x (แทน y = 0 ) เปน 2 และระยะตัดแกน y (แทน x = 0 ) เปน 2 3
... ดังนั้นขนาดพืน้ ที่สามเหลี่ยม เทากับ (1/2) × (2) × (2 3) = 2 3 ตารางหนวย
3
[5] ขนาดของมุมที่เกิดจากเส้นตรงสองเส้นตัดกัน
m1
m2
tan θ =
θ
m1 − m2
1 + m1m2
การหาเส้นตรงที่แบ่งครึ่งมุม θ นี้พอดี จะใช้ความสัมพันธ์ที่ว่า
“ระยะทางจากจุดบนเส้นตรงนี้ ไปยังเส้นตรงที่กําหนดให้ทั้งสองเส้น จะเท่ากันเสมอ”
นั่นคือ A1x + B2 1y +2 C1 = A2x + B22y +2 C2
A1 + B1
A2+ B2
ซึ่งคําตอบที่ได้จะมีสองคําตอบ (เป็นเส้นตรงที่แบ่งครึ่งมุมแหลม
และมุมป้าน) ที่ตั้งฉากกันดังภาพ
Ans1
Ans2
[6] ภาพฉาย (Projection) บนเส้นตรง
ภาพฉายของจุด P บนเส้นตรง L คือจุด Q
P (x1,y1)
Q
L: Ax+By+C=0
ภาพฉายของ PP
1 2 บนเส้นตรง L คือ Q1Q2
P2 (x2,y2)
L: Ax+By+C=0
P1 (x1,y1)
Q
Math E-Book Release 2.2.04
2
Q1
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
90
การคํานวณหาตําแหน่งภาพฉาย สามารถคํานวณได้หลายวิธี เช่น คํานวณจากความชัน
เป็นวิธีที่สะดวกที่สุด (โดยสร้างสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด P และตั้งฉากกับเส้นตรง L แล้วจึงแก้ระบบ
สมการหาจุดตัดของเส้นตรงสองเส้น) หรือคํานวณจากระยะทาง (โดยสร้างสมการเพื่อหาจุดที่ห่าง
จากจุด P เป็นระยะเท่าที่กําหนด ซึ่งจะได้เป็นสมการวงกลม แล้วจึงแก้ระบบสมการหาจุดตัดของ
วงกลมกับเส้นตรง)
ภาพฉายของจุด P (x1, y1) ใดๆ บนเส้นตรงที่มีสมการ “ y = x ” (คือเส้นตรงเฉียงขึ้น
ทางขวา ทํามุม 45° กับแกน x) ได้แก่ จุด Q (x1+ y1 , x1+ y1)
2
2
แบบฝึกหัด 4.2
(17) ถ้า
A (1, 2) , B (2, k) , C (3, 4)
อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ให้หาค่า k
(18) จุด
(1, y)
P (−2, 6)
อยู่บน
PR
ซึ่งมีพิกัด
และ
R (4, −2)
ให้หาค่า y
(19) AB ตัดแกน x และ y โดยมีระยะตัดแกน x ทางบวก 4 หน่วย และแกน y ทางบวก 3
หน่วย จุดตัดสองจุดนี้แบ่ง AB ออกเป็น 3 ส่วนเท่าๆ กันพอดี จงหาพิกัดของ A กับ B
(20) หากกําหนดพิกัด
A (4, 5) , B (1, 2) , C (2, 8) , D (−2, 4)
(21) จงหาจุด D ที่ทําให้ ABCD เป็นสี่เหลี่ยมด้านขนาน เมื่อ
(22) ถ้าเส้นตรงที่ผ่านจุด
เป็นเท่าใด
(k, 7) , (−3, −2)
(23) ถ้าเส้นตรงที่ผ่านจุด A (1, 5) และ
D (−1, −m) แล้ว จงหาค่า m
B (3, 6)
AB
ขนานกับ
CD
หรือไม่
A (−4, 1) , B (−5, −4) , C (1, −2)
ตั้งฉากกับเส้นตรงที่ผ่านจุด
C (5, 6)
(24) วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนย์กลางที่
เส้นตรง L
แล้ว
(3, 2) , (1, −4)
ตั้งฉากกับเส้นตรงที่ผ่านจุด
มีเส้นตรง L มาสัมผัสที่จุด
แล้ว ค่า k
C (m, 4)
(−3, 1)
และ
ให้หาความชันของ
(25) จงหาความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม ที่ล้อมรอบรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ซึ่งมีพิกัด
เป็น A (1, 7) , B (8, 6) , C (7, −1)
(26) ให้หาคําตอบของข้อ (7) โดยใช้ความรู้เรื่อง ความชันของเส้นตรง
(27) จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด
(3, 0)
(28) เส้นตรง L ผ่านจุด (−2, −5) และ
แกน x และแกน y มีพื้นที่เท่าใด
(29) จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด
และ
(0, 2)
(1, 3) ถามว่ารูปสามเหลี่ยมที่ปิดล้อมด้วยเส้นตรงเส้นนี้
(6, 8)
และจุดตัดแกน x ของ
3x + 4y = 12
(30) รูปสี่เหลี่ยม ABCD มีจุดมุมอยู่ที่ A (1, 2) , B (−2, −1) , C (−3, −6) ,
ถ้า P เป็นจุดตัดของเส้นทแยงมุม แล้ว P จะอยู่ห่างจากจุดกําเนิดกี่หน่วย
(31) จงหาสมการเส้นตรงที่ขนานกับ
2x + 3y + 10 = 0
และผ่านจุดที่
Math E-Book Release 2.2.04
กับ
D (2, −5)
x+y=1
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
ตัดกับ
2x + y = 5
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
91
(32) เส้นตรงสองเส้นตั้งฉากกันที่จุดตัดแกน x พอดี หากเส้นหนึ่งมีสมการเป็น
แล้ว ให้หาว่าอีกเส้นหนึ่งตัดแกน y ที่จุดใด
(33) หากเส้นตรง L ตั้งฉากกับ 2x + 3y + 5 = 0 และผ่านจุด
ถามว่าเส้นตรง L ตัดแกน x ที่จุดใด
3x − 4y + 5 = 0
(1, 5)
(34) ให้ M เป็นเส้นตรง 3x − 3y + 5 = 7 และ N เป็นเส้นตรง
เส้นตรง L ที่ขนานกับ M และมีระยะตัดแกน y เท่ากับ N
2x − 5y + 7 = 4
จงหาสมการ
(35) เส้นตรง L1 ผ่านจุด (2, 2) และ (−2, 0) , เส้นตรง L2 ตั้งฉากกับ L1 ที่จุด (−2, 0) และ
เส้นตรง L3 มีส่วนตัดแกน x เป็น 4/3 แกน y เป็น –4 จงหาพื้นที่สามเหลี่ยมที่ปิดล้อมด้วย
เส้นตรงสามเส้นนี้
(36) กําหนด L1 มีสมการเป็น 2x − 3y + 6 = 0 , L2 ผ่านจุด (−2, 3) และขนานกับ L1
หาก L3 ผ่านจุด (2/3, −1) และตั้งฉากกับ L1 แล้ว ถามว่า L2 กับ L3 ตัดกันที่จุดใด ใน
ควอดรันต์ใด
(37) สมมติว่า A (3, k) อยู่ในควอดรันต์ที่ 1 และเป็นจุดบนวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่จุดกําเนิด และ
รัศมี 4 หน่วย ถ้าเส้นตรง L สัมผัสวงกลมนี้ที่จุด A แล้ว ให้หาระยะตัดแกน x ของเส้นตรง L
(38) เส้นตรง L เป็นเส้นสัมผัสวงกลมซึ่งมีศูนย์กลางที่ A (−1, 2) โดยสัมผัสกันที่จุด B (2, −1) และ
ทําให้เกิดสามเหลี่ยม PQR ที่ปิดล้อมด้วยเส้นตรงเส้นนี้, แกน x, และแกน y พิจารณาข้อความ ข้อ
ใดถูกหรือผิดบ้าง
ก. ความยาวรอบรูปสามเหลี่ยม PQR คือ 6 + 3 2 หน่วย
ข. พื้นที่สามเหลี่ยม PQR มีขนาด 4.5 ตารางหน่วย
(39) หากสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอดที่ A (−2, 5) , B (4, 8) , C (2, −3) จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่าน
จุดกึ่งกลางด้านทั้งสองซึ่งสั้นกว่าด้านที่สาม และหาระยะตัดแกน x และ y ของเส้นตรงนี้
(40) ถ้าระยะที่เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดแกน x เป็นสองเท่าของระยะตัดแกน y และเส้นตรงนี้ผ่านจุด
(1, 3) แล้ว ให้หาเส้นตรงนี้
(41) เส้นตรงที่ผ่านจุด (−2, 4) และมีผลบวกของ X-intercept กับ Y-intercept เป็น 9 จะมีความ
ชันเท่าใด และตัดแกน x ที่ใด
(42) [Ent’24] เส้นตรง L มีความชันเป็น 0.5 และผ่านจุด C (−3, 0) ตัดแกน y ที่จดุ A
หากลาก AB ตั้งฉากกับ L โดยจุด B นั้นทําให้มีเส้นตรงขนานแกน y ผ่านจุด B ตัดแกน x ที่จุด
C ได้ ถามว่า BC มีค่าเท่าใด
(43) สามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ซึ่งมีมุม B เป็นมุมฉาก มีจุด A อยู่ที่
และมีความชันของ AB เป็น 3/2 นั้น มีขนาดกี่ตารางหน่วย
(44) เส้นตรง
2x − 3y = 6
และ
(45) จงหาค่า C ที่ทําให้เส้นตรง
4x − 6y = 25
(−3, 5) ,
จุด C อยู่ที่
(4, −4) ,
อยู่ห่างกันกี่หน่วย
Ax + 2y + C = 0
อยู่ห่างจาก
Math E-Book Release 2.2.04
3x − 4y − 5 = 0
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
หนึ่งหน่วย
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
92
ขนานกับ L2 โดยอยู่ห่างกัน 4 หน่วย หากเส้นตรง L ซึ่งมีสมการเป็น
12x − 5y − 15 = 0 นั้นขนานกับ L1 และอยู่ห่างจาก L1 , L2 เป็นระยะเท่าๆ กัน จงหาผลบวกของ
ส่วนตัดแกน x ของเส้นตรง L1 และ L2
(46) เส้นตรง
L1
(47) กําหนดจุดยอดของสามเหลี่ยมเป็น A (−2, 1) ,
สามเหลี่ยม ที่ลากจากจุด A มายังด้าน BC
B (5, 4) , C (2, −3)
(48) เส้นตรง L มีสมการเป็น 5x − 12y + 3 = k และ L อยู่ห่างจากจุด
หาผลบวกของค่า k ที่เป็นไปได้ทั้งหมด
(49) ให้หาว่าจุดใดบนเส้นตรง
2x − 4y = 15
อยู่ห่างจาก
(50) จงหาขนาดมุมแหลมที่เกิดจากการตัดกันของ
(51) กําหนดเส้นตรง L1 ผ่านจุด ( 3, 2) ,
ขนาดของมุมแหลมระหว่าง L1 กับ L 2
(0, 1)
3x + 4y = 10
5x − y = 0
และเส้นตรง
และ
L2
ให้หาส่วนสูงของรูป
P (−3, 2)
อยู่ 4 หน่วย ให้
เป็นระยะ 3 หน่วย
2x − 3y + 1 = 0
ผ่านจุด
(2, 3) , (1, 4)
(52) เส้นตรง L1 ผ่านจุด (2, 3) , (1, 0) และเส้นตรง L2 ผ่านจุดกําเนิด O และตัดกับ
C ถ้ามุมระหว่าง L1 กับ L 2 เป็น 30° ให้หาความยาวของ CO
(53) จงหาสมการเส้นตรงที่แบ่งครึ่งมุมที่เกิดจากการตัดกันของ
3x + 4y + 1 = 0
ให้หา
L1
ที่จุด
และ
4x − 3y − 6 = 0
(54) ถ้า A เป็นภาพฉายของจุด
ให้หาสมการเส้นตรง AB
(−2, 1)
บนแกน x และ B เป็นภาพฉายของ
(−5, 6)
บนแกน y
(55) กําหนด A (1, 0) , B (−5, 8) , P เป็นจุดกึ่งกลางของ AB และ Q เป็นภาพฉายของ B บน
เส้นตรง x = 1 จงหาสมการเส้นตรง PQ และเส้นตรงที่ตั้งฉากกับ PQ
(56) จงหาโพรเจคชันของจุด
(−2, 1)
(57) จงหาโพรเจคชันของจุด
(0, 7)
บนเส้นตรง
บนเส้นตรง
x − y = 0
4x − 5y = 6
4.3 ภาคตัดกรวย : พื้นฐานการเขียนกราฟ
กราฟเส้นโค้ง ได้แก่ วงกลม พาราโบลา วงรี และไฮเพอร์โบลา เรียกรวมกันว่า ภาคตัด
กรวย (Conic Section) เนื่องจากเป็นกราฟที่ได้จากการตัดกรวยกลมตรงด้วยระนาบในมุมต่างๆ ดัง
ภาพ (ในหน้าต่อไป)
ตัวอย่างการนําความรู้เรื่องภาคตัดกรวยไปใช้ในชีวิตจริง เช่น
1. การหาตําแหน่งศูนย์กลางของแผ่นดินไหว (วงกลม)
2. เลนส์ จานรับดาวเทียม โคมไฟหน้ารถยนต์ การเคลื่อนที่วิถีโค้ง (พาราโบลา)
3. ห้องกระซิบ สลายนิ่ว โครงสร้างอะตอม วงโคจรของดาวเคราะห์ ดาวหาง ดาวเทียม (วงรี)
4. การหาตําแหน่งของต้นกําเนิดเสียง โดยใช้ผลต่างเวลาระหว่าง 2 จุด (ไฮเพอร์โบลา)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
วงกลม
(Circle)
เรขาคณิตวิเคราะห
93
วงรี
(Ellipse)
พาราโบลา
(Parabola)
ไฮเพอร์โบลา
(Hyperbola)
พื้นฐานการเขียนกราฟ
ก่อนจะศึกษาภาคตัดกรวยแต่ละรูป ควรทราบพื้นฐานการเขียนกราฟ ว่าลักษณะของกราฟ
โดยทั่วๆ ไปนั้นจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร หากมีค่าคงที่มาบวกลบคูณหารอยู่กับตัวแปร x หรือ y ซึ่ง
พื้นฐานเหล่านี้เป็นสิ่งสําคัญ เพราะเป็นจริงเสมอไม่ว่าจะใช้กับกราฟใดๆ นอกเหนือจากในบทนี้ เช่น
ค่าสัมบูรณ์, ตรีโกณมิติ, เอกซ์โพเนนเชียล ฯลฯ
y
y
[1] เมื่อมีค่าคงที่มาบวกหรือลบ
2
จะเกิดการ เลื่อนแกนทางขนาน
y=x
y = (x-3)2
(Translate หรือ Shift) กล่าวคือ
หากเปลี่ยนรูปสมการจาก f (x, y) = 0
x
x
ไปเป็น f (x −h, y −k) = 0 เมื่อ
O
(3,0)
h, k เป็นค่าคงที่ กราฟรูปเดิมจะ
ถูกเลื่อนไปทางขวา h หน่วย
y
y
และเลื่อนขึ้นด้านบนอีก k หน่วย
2
y+1 = x
y+1 = (x-3)2
(หรือกล่าวว่า จุดกําเนิดถูกเลื่อน
ไปยังคู่อันดับ (h, k) และรูปกราฟ
ทั้งหมดถูกเลื่อนตามไปด้วย)
x
x
(0,-1)
(3,-1)
[2] เมื่อมีค่าคงที่ (ที่เป็นบวก) มาคูณหรือหาร
จะเกิดการ ปรับขนาด (Scale) ทางแกนนั้น
กล่าวคือ หากเปลี่ยนรูปสมการจาก y = f (x)
ไปเป็น my = f (nx) เมื่อ m, n เป็นค่าคงที่
ที่มากกว่า 1 ... กราฟรูปเดิมจะถูกบีบลงทาง
แนวนอน n เท่า และบีบลงทางแนวตั้ง m เท่า
(ส่วนกรณีที่ m, n น้อยกว่า 1 จะมองว่า
เป็นการหาร และกราฟจะถูกขยายออกแทน)
ทั้งนี้ต้องใช้แกน h, k ที่ได้จากการเลื่อนแกน
แล้ว เป็นแกนกลางสําหรับบีบหรือขยาย
รูปกราฟ
y
y
3y = x2
y = x2
x
x
O
ความสูงทุกตําแหน่งเหลือ 1 ใน 3
y
y
y = (2x)2
x
y/4 = x2
x
ความกว้างทุกตําแหน่งเหลือ 1 ใน 2 ความสูงทุกตําแหน่งเพิ่มเป็น 4 เท่า
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
94
ข้อสังเกต 1. กราฟในตัวอย่างหน้าที่แล้ว สองรูปล่างเป็นสมการเดียวกัน เพียงแต่มองคนละวิธี
* 2. หากสมการมีทั้งการบวกลบและคูณหาร จะต้อง
y
2y = (x-3)2-2
จัดรูปสมการให้บวกลบอยู่ในวงเล็บ (กระทํากับตัว
จัดรูปเป็น 2(y+1)=(x-3)2
แปรโดยตรง) แล้วถัดมาจึงเป็นการคูณหาร
ดังตัวอย่างด้านขวานี้
x
เลื่อนแกนไปอยู่ที่ (3,-1) และ
ความสูงทุกตําแหน่งเหลือ 1 ใน 2
[3] เมื่อมีค่าคงที่ (ที่เป็นลบ) มาคูณหรือหาร
นอกจากจะมีการขยายหรือบีบตามข้อ (2) แล้ว ยังเกิดการ พลิก (Flip) รูปกราฟ โดยใช้แกน h, k
นี้เป็นแกนหมุนด้วย (หากตัวแปร x ถูกคูณด้วยลบ จะพลิกสลับซ้ายขวา, และหากตัวแปร y ถูกคูณ
ด้วยลบ จะพลิกสลับบนล่าง)
y
y
-(y+1) = (x-3)2
y = x2
x
O
x
เลื่อนแกนไปอยู่ที่ (3,-1) และ
พลิกรูปกราฟ สลับบนล่าง
4.4 ภาคตัดกรวย : วงกลม
นิยาม วงกลม คือ “เซตของคู่อันดับที่อยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่ง เป็นระยะเท่าๆ กัน”
เรียกจุดคงที่จุดนั้นว่า จุดศูนย์กลาง (Center; C) และเรียกระยะทางนั้นว่า รัศมี (Radius; r)
สมการวงกลม สร้างจากสมการระยะทางระหว่างจุดสองจุด (ทฤษฎีบทปีทาโกรัส) หากมีจุด
ศูนย์กลางอยู่ที่ C (0, 0) และรัศมียาว r หน่วย สมการจะเป็น x 2 + y 2 = r 2 แต่ถ้าเลื่อนแกน ให้จุด
ศูนย์กลางไปอยูท่ ี่ C (h, k) สมการจะกลายเป็น (x −h)2 + (y −k)2 = r 2
วงกลม
(x −h)2 + (y −k)2 = r 2
จุดศูนย์กลาง C (h, k)
รัศมี r หน่วย
r
C
(h,k)
รูปทั่วไป
x 2+ y 2+ Dx + Ey + F = 0
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
95
ตัวอยาง ใหสรางสมการวงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ (1, −2) และผานจุด (2, 1)
และตอบในรูป Ax + By + Dx + Ey + F = 0 โดยสัมประสิทธิ์ทกุ ตัวเปนจํานวนเต็ม
•
2
2
2
2
2
2
วิธีคิด หารัศมีจากระยะทางระหวาง (1, −2) กับ (2, 1) ไดเทากับ 1 + 3 = 10 หนวย
สมการวงกลมคือ (x −h) + (y −k) = r แทนคาจุดศูนยกลางและรัศมี
ได (x −1) + (y +2) = 10 → x −2x + 1+ y + 4y + 4 = 10 → x + y −2x+ 4y −5 = 0
2
2
•
2
2
2
2
2
2
ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆ ของรูปวงกลมที่มีสมการเปน
x2+ y2+2x − 4y − 10 = 0
2
2
วิธีคิด จัดกลุม x และ y แยกกันและยายตัวเลขไวทางขวา (x + 2x) + (y − 4y) = 10
ตอมา เติมตัวเลขลงในวงเล็บทั้งสอง เพื่อใหเปนกําลังสองที่สมบูรณ (อยาลืมเติมทางขวาดวย)
ไดเปน (x + 2x + 1) + (y − 4y + 4) = 10 + 1+ 4 นัน่ คือ (x + 1) + (y − 2) = 15
ตอบ จุดศูนยกลางคือ (−1, 2) และรัศมียาว 15 หนวย
2
2
2
2
ข้อสังเกต
1. จากรูปทั่วไปของสมการวงกลม x 2+ y 2+ Dx + Ey + F = 0 เมื่อจัดรูปด้วยวิธีกําลังสองสมบูรณ์แล้ว
จะทําให้ทราบว่า (h, k) = (−D/2, −E/2)
2.1 สมการวงกลมมีค่าคงที่ซึ่งบอกลักษณะกราฟ อยู่ 3 ตัว คือ D, E, F หรือ h, k, r
ดังนั้นการสร้างสมการวงกลมจากจุดที่กราฟผ่าน ต้องกําหนดจุดมาให้ 3 จุด แล้วจึงแก้ระบบสมการ
3 สมการ ซึ่งกรณีนี้สมการ x 2+ y 2+ Dx + Ey + F = 0 จะคํานวณง่ายกว่า
2.2 แต่ถ้าบอก r มาให้ จะต้องการจุดเพิ่มอีกเพียง 2 จุด เพื่อหาค่า h, k หรือถ้าบอก h, k มาให้ ก็
ต้องการอีกเพียงจุดเดียวเพื่อหาค่า r โดยใช้สมการ (x −h)2 + (y −k)2 = r 2
เส้นสัมผัสวงกลม คือเส้นตรงที่ลากผ่านจุดบนวงกลมเพียงจุดเดียวเท่านั้น (เรียกว่าจุด
สัมผัส) และเส้นสัมผัสวงกลมทุกเส้นจะตั้งฉากกับรัศมี (ที่เชื่อมจุดศูนย์กลางกับจุดสัมผัส)
ระยะทางจากจุด P (x1, y1) ใดๆ ภายนอกวงกลม มายังจุดสัมผัส Q หาได้ดังนี้
Q
d
P (x1,y1)
C
x21 + y21 + Dx1+ Ey1+ F
d =
d
หรือ
d =
(x1−h)2+ (y1−k)2− r2
แบบฝึกหัด 4.4
(58) สมการต่อไปนี้ต้องการเลื่อนแกนเพื่อให้ได้รูปที่กําหนด ต้องเลือกจุดใดเป็นจุดกําเนิดจุดใหม่
(58.1) (x −4)(y + 3) = 1 → xy = 1
(58.2) y = x + 1 − 2 → y = x
(58.3) x 2+ y 2+ 2x − 4y + 5 = 9 → x 2+ y 2= k
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
96
(59) จงหาสมการรูปทั่วไปของวงกลม ที่มีลักษณะดังแต่ละข้อต่อไปนี้
(59.1) จุดศูนย์กลางอยู่ที่ (3, 4) และผ่านจุด (1, 1)
(59.2) เส้นผ่านศูนย์กลางเส้นหนึ่ง เชื่อมจุด (1, 1) กับ (2, 2)
(59.3) สัมผัสเส้นตรง y = 2x ที่จุดกําเนิด และผ่านจุด (1, 1)
(59.4) ผ่านจุด (−6, 3) , (2, 3) และ (−2, 7)
(59.5) ผ่านจุด (1, −5) และผ่านจุดตัดของวงกลม x 2+ y 2− 2x + 2y − 8 = 0 กับ
x 2+ y 2+ 3x − 3y − 8 = 0
(60) หาความยาวเส้นสัมผัสที่ลากจากจุด
(0, 1)
ไปยังวงกลม
3x 2+ 3y 2+ 11x + 15y = −9
(61) ให้หาสมการเส้นตรงที่สัมผัสวงกลม ตามเงื่อนไขต่อไปนี้
(61.1) สัมผัสวงกลม x 2+ y 2= 8 ที่จุด (2, 2)
(61.2) สัมผัสวงกลม x 2+ y 2= 17 และมีความชันเป็น 4
[Hint: สร้างสมการเส้นตรงความชันเท่านี้ แต่ผ่านจุดศูนย์กลางก่อน]
(61.3) สัมผัสวงกลม x 2+ y 2= 16 และผ่านจุด (−1, 8)
[Hint: สร้างสมการเส้นตรงความชันใดๆ ที่ผ่านจุดนี้ แล้วจึงหาค่าความชัน]
(62) ให้หาสมการวงกลม ตามเงื่อนไขต่อไปนี้
[Hint: หาจุดศูนย์กลางวงกลมก่อน]
(62.1) รัศมี 2 หน่วย และสัมผัสกับวงกลมสองวงนี้ คือ (x −2)2 + (y + 1)2 = 1 และ
(x −6)2 + (y −2)2 = 4 โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ในควอดรันต์ที่ 1
(62.2) รัศมี 1 หน่วย, สัมผัสกับเส้นตรง y = x + 2 , และสัมผัสกับวงกลม
x 2+ y 2− 4x + 2y + 1 = 0
(62.3) แนบในสามเหลี่ยมที่เกิดจากเส้นตรงสามเส้นนี้ตัดกัน
3x − 2y − 6 = 0 , และ 2x + 3y + 9 = 0
(63) จงหาค่า k ที่ทําให้
(64) [Ent’32] จงหาค่า
x 2+ y 2− 6x + 8y + k = 0
k > 0
ที่น้อยที่สุดที่ทําให้
2x − 3y + 21 = 0 ,
เป็นสมการวงกลม
y = kx
สัมผัสกับ
x 2+ y 2− 14x + 49 = k 2
(65) ถ้า C เป็นจุดศูนย์กลางของกราฟ x 2+ 4x + 2 = − (y 2+ 8y + 9) แล้ว ให้หาสมการเส้นตรง OC
และสมการวงกลมที่มี OC เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นหนึ่ง
(66) [Ent’38] เส้นตรงความชัน –4/3 ผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลม x 2+ y 2− 4x + 2y = 4 โดยตัด
วงกลมที่จุด A กับ B หากกําหนดจุด D (−1, −2) แล้ว ให้หาพื้นที่สามเหลี่ยม ABD
(67) ให้หาสมการกราฟซึ่งจุด P (x, y) ใดๆ บนกราฟเป็นจุดศูนย์กลางของวงกลมที่สัมผัสกับกราฟ
(x − 1)2= (1− y)(1+ y) และผ่านจุด A (−1, 0) ด้วย
4.5 ภาคตัดกรวย : พาราโบลา
นิยาม พาราโบลา คือ “เซตของคู่อันดับที่มีระยะไปถึงจุดคงทีจ่ ุดหนึ่ง เท่ากับระยะไปถึง
เส้นตรงเส้นหนึ่ง” เรียกจุดคงที่จุดนั้นว่า จุดโฟกัส (Focus; F) เรียกเส้นตรงเส้นนั้นว่า ไดเรกตริกซ์
(Directrix; เส้นบังคับ) เรียกเส้นตรงที่ผ่านโฟกัสและตั้งฉากกับไดเรกตริกซ์ ว่า แกน (Axis)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
97
พาราโบลาที่มี จุดยอด (Vertex) อยู่ที่ V (0, 0) และระยะโฟกัสยาว c หน่วย จะมีสมการ
เป็น x = 4 c y (อ้อมแกน y, กราฟหงายเมื่อค่า c เป็นบวก, กราฟคว่ําเมื่อค่า c ติดลบ)
หรือ y 2 = 4 c x (อ้อมแกน x, กราฟเปิดขวาเมื่อ c เป็นบวก, กราฟเปิดซ้ายเมื่อ c ติดลบ)
หากมีการเลื่อนแกน ให้จุดยอดไปอยู่ที่ V (h, k) สมการจะกลายเป็น (x −h)2 = 4 c (y −k)
และ (y −k)2 = 4 c (x −h) ตามลําดับ
2
พาราโบลา (ตั้ง)
(x −h)2 = 4 c (y −k)
2c
จุดยอด V (h, k)
ระยะโฟกัส c หน่วย
เลตัสเรกตัม ยาว 4c หน่วย
F (h,k+c)
⎧
⎩
c⎨
c ⎧⎨ V (h,k)
⎩
รูปทั่วไป
Directrix : y=k-c
x 2+ Dx + Ey + F = 0
Axis :
x=h
พาราโบลา (ตะแคง)
c
Axis : y=k
c
(y −k)2 = 4 c (x −h)
⎫
⎪
⎬ 2c
⎪
⎭
จุดยอด V (h, k)
ระยะโฟกัส c หน่วย
เลตัสเรกตัม ยาว 4c หน่วย
F (h+c,k)
V
(h,k)
รูปทั่วไป
y 2+ Dx + Ey + F = 0
Directrix :
x=h-c
นิยาม เลตัสเรกตัม (Latus Rectum) คือเส้นแสดงความกว้างของรูปกราฟ ณ ตําแหน่งโฟกัส
ข้อสังเกต
1. พาราโบลาอ้อมแกนใด อาจสังเกตได้จาก ตัวแปรนั้นจะยกกําลังหนึ่ง
2. สมการพาราโบลามีค่าคงที่ 3 ตัว (คือ D, E, F หรือ h, k, c) เช่นเดียวกับวงกลม ดังนั้นการ
สร้างสมการจะใช้วิธีคล้ายกัน แต่พาราโบลาต้องทราบก่อนด้วยว่าเป็นพาราโบลาอ้อมแกนใด
ตัวอยาง ใหสรางสมการพาราโบลาที่มีจุดยอดอยูที่ (1, −2) และผานจุด (2, 1) โดยมีแกนสมมาตร
แนวตั้ง และตอบในรูป Ax + By + Dx + Ey + F = 0 โดยสัมประสิทธิ์ทุกตัวเปนจํานวนเต็ม
•
2
2
2
วิธีคิด มีแกนสมมาตรแนวตั้ง แสดงวาสมการคือ (x −h) = 4 c (y −k)
เราทราบจุดยอด (h, k) = (1, −2) แทนคาลงในสมการ เปน (x −1) = 4 c (y +2)
หาคา c โดย แทนจุดที่พาราโบลาผานคือ (2, 1) ลงไปที่ x, y แลวสมการตองเปนจริง
2
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(2− 1)2 = 4 c (1+2)
เรขาคณิตวิเคราะห
98
→ 4 c = 1/3
2
... ฉะนัน้ สมการพาราโบลาคือ (x −1)
2
= (1/3)(y +2)
2
และกระจายได 3 (x −2x + 1) = y +2 → 3x −6x − y + 1 = 0
หมายเหตุ ในตัวอยางแรกของเรื่องวงกลมก็สามารถคิดดวยวิธีในขอนี้ได คือใสจุดศูนยกลาง (h, k) ลงไป
ในสมการวงกลมกอน จากนั้นแทนจุดที่ผานคือ (2, 1) เพื่อหาคา r ที่ยังไมทราบ
•
ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆ ของรูปพาราโบลาทีม่ ีสมการเปน
x 2− 2x − 2y − 3 = 0
2
วิธีคิด สังเกตวาไมมีพจน y แสดงวาเปนพาราโบลาออมแกนตั้ง (หงายหรือคว่ํา)
การจัดรูปสมการพาราโบลาแบบนี้ เราจัดกลุม x ไวทางซาย และยาย y กับตัวเลขไวทางขวา
คือ (x − 2x) = 2y + 3 ... จากนัน้ เติมตัวเลข (x − 2x + 1) = 2y + 3 + 1 เพื่อเปนกําลังสองสมบูรณ
ไดเปน (x − 1) = 2y + 4 → (x − 1) = 2 (y + 2) → (x − 1) = 4 (0.5)(y + 2)
2
2
2
2
2
ตอบ เปนสมการพาราโบลาหงาย จุดยอดคือ (1, −2) จุดโฟกัสคือ (1, −2 + 0.5) = (1, −1.5)
และสมการไดเรกตริกซคือ y = −2 − 0.5 = −2.5 (หรืออาจเขียนเปน 2y + 5 = 0 ก็ได)
(ถายังไมแมนยํา ควรเขียนกราฟเพื่อชวยในการคิดเลขดวย)
แบบฝึกหัด 4.5
(68) จงหาสมการรูปทั่วไปของพาราโบลา ทีม่ ีลักษณะดังแต่ละข้อต่อไปนี้
(68.1) จุดยอดอยู่ที่ (−2, 3) และจุดโฟกัสอยู่ที่ (5, 3)
(68.2) จุดยอดอยู่ที่ O และจุดปลายเลตัสเรกตัมจุดหนึ่งอยู่ที่ (−3, 6)
(68.3) จุดยอดอยู่ที่ O และผ่านจุด (−4, −6) โดยมีแกน x เป็นแกนสมมาตร
(68.4) จุดยอดอยู่ที่ (2, −3) และผ่านจุด (8, −2.1) โดยแกนสมมาตรตั้งฉากแกน x
(68.5) จุดยอดอยู่ที่ (5, −2) และผ่านจุด (3, 0) โดยแกนสมมาตรขนานกับแกน y
(68.6) จุดโฟกัสอยู่ที่ (2, 2) และสมการไดเรกตริกซ์เป็น x + 2 = 0
(68.7) ผ่านจุด (1, 3) , (9, 1) , และ (51, −2) โดยแกนสมมาตรขนานกับแกน x
(68.8) ผ่านจุด (−2, 3) , (3, 18) , และ (0, 3)
(69) ให้หาระยะจากจุด
P (4, −3)
ซึ่งอยู่บนพาราโบลา
2x 2+ 3y = 0
ไปถึงจุดโฟกัส
(70) ให้หาส่วนประกอบต่างๆ ของพาราโบลา
(70.1) จุดโฟกัส ความกว้างที่จุดโฟกัส และสมการไดเรกตริกซ์ ของ x 2− 12y = 0
(70.2) ส่วนประกอบทั้งหมดของ y 2− 10y + 12x + 61 = 0
(70.3) จุดโฟกัสของพาราโบลาที่มีจุดยอดที่ (4, 2) และมีไดเรกตริกซ์เป็น x − 1 = 0
(70.4) จุดตัดแกน x ของพาราโบลาที่มีจุดยอดอยู่ที่ (0, −1/3) และจุดโฟกัสอยู่ที่ (0, 7/6)
(71) ให้หาสมการแสดงทางเดินของจุด P (x, y) ซึ่ง
(71.1) อยู่ห่างจากเส้นตรง y = −4 เท่ากับระยะห่างจากจุด (−2, 8)
(71.2) อยู่ห่างจากเส้นตรง x = −4 มากกว่าระยะห่างจากจุด (3, 1) อยู่ 5 หน่วย
(72) จุดบนโค้ง
4y = (x − 1)2
ซึ่งอยู่ห่างจากจุดโฟกัส 13 หน่วย จะห่างจากแกน x เท่าใด
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
99
(73) ความยาวคอร์ดที่เกิดจากเส้นตรง
(74) สมการเส้นตรงที่ผ่านจุด
(1, 6)
2x − y = 8
ตัดกับพาราโบลา
และจุดโฟกัสของ
(75) ให้หาสมการพาราโบลาที่มีเส้นตรง
กราฟ x 2− 6x = 6 − 2y − y 2
y = 5
y 2= 8x
y 2− 4x − 4y = 8
เป็นเท่าใด
คือสมการใด
เป็นไดเรกตริกซ์ และมีจุดโฟกัสอยู่ที่ศูนย์กลางของ
(76) ให้หาสมการพาราโบลาที่ผ่านจุดตัดของเส้นตรง
แกน x เป็นแกนสมมาตร
x = y
กับวงกลม
x 2+ y 2+ 6x = 0
โดยมี
(77) [Ent’39] กําหนดให้ไดเรกตริกซ์และแกนของพาราโบลา y 2− 4y + 8x = 20 ตัดกันที่จุด P
ถ้าวงกลมวงหนึ่งผ่านจุดกําเนิด, จุด P, และจุดโฟกัสของพาราโบลาแล้ว กําลังสองของรัศมีวงกลม
เป็นเท่าใด
(78) ให้หาระยะโฟกัสของเลนส์รูปพาราโบลา ซึ่งมีความสูง 6 หน่วย และฐานกว้าง 8 หน่วย
4.6 ภาคตัดกรวย : วงรี
นิยาม วงรี คือ “เซตของคู่อันดับที่ ผลรวมของระยะทางไปถึงจุดคงที่สองจุด มีค่าเท่ากัน”
เรียกจุดคงที่สองจุดนั้น ว่า จุดโฟกัส ( F1, F2 ) และนอกจากนี้ ระยะทางรวมซึ่งเป็นค่าคงที่นั้น จะมีค่า
เท่ากับ ความยาวของแกนเอก (2a) พอดี
วงรีที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่
จะมีสมการเป็น
2
2
⎛x⎞ + ⎛y⎞ = 1
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝a⎠ ⎝b⎠
C (0, 0)
และแกนเอกยาว 2a หน่วย แกนโทยาว 2b หน่วย
(รีตามแกน x) หรือ
2
2
⎛y⎞ + ⎛x⎞ = 1
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝a⎠ ⎝b⎠
(รีตามแกน y)
วงรี (นอน)
(x −h)2
a
V2 F2
c
a2
+
(y −k)2
b2
= 1
B1 (h,k+b)
⎫
⎬b
⎭
C
F1
V1
(h,k) (h+c,k) (h+a,k)
จุดศูนย์กลาง C (h, k)
แกนเอกยาว 2a แกนโทยาว
ระยะโฟกัส c = a2− b2
B2
Ax 2+ By 2+ Dx + Ey + F = 0
Math E-Book Release 2.2.04
รูปทั่วไป
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
2b
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
100
วงรี (ตั้ง)
V1 (h,k+a)
B2
(y −k)2
a
F1
(h,k+c)
b C (h,k) B (h+b,k)
1
⎧
⎪ ⎫
⎪
c
a ⎪⎨ ⎬
⎪ ⎭
⎪
⎪⎩ F2
V2
2
+
(x −h)2
b2
= 1
จุดศูนย์กลาง C (h, k)
แกนเอกยาว 2a แกนโทยาว
ระยะโฟกัส c = a2− b2
2b
รูปทั่วไป
Ax 2+ By 2+ Dx + Ey + F = 0
นิยาม แกนเอก (Major Axis) คือเส้นแสดงความยาวของวงรี ( V1V2 ) และ แกนโท
(Minor Axis) คือเส้นแสดงความกว้างของวงรี ( B1B2 )
ข้อสังเกต
1. สมการวงรีเกิดจากการขยายขนาดทางแกน x, y ของวงกลมรัศมี 1 หน่วย
2. สําหรับวงรีนั้น a > b เสมอ ดังนั้นตัวเลขใดมีค่ามากกว่า ตัวนั้นก็จะเป็น a (เป็นแกนเอก)
3. สมการวงรีมีค่าคงที่ถึง 4 ตัว การสร้างสมการวงรีจากจุดที่กราฟผ่าน ต้องใช้ถึง 4 จุด (ไม่นิยม
กระทํา เพราะต้องแก้ระบบสมการที่มีถึง 4 สมการ)
ตัวอยาง ใหสรางสมการวงรีทีม่ ีจุดศูนยกลางอยูที่ (2, 1) มีจุดโฟกัสอยูท ี่ (2, 4) และจุดยอดอยูที่
(2, −4) และตอบในรูป Ax + By + Dx + Ey + F = 0 โดยสัมประสิทธิท
์ ุกตัวเปนจํานวนเต็ม
•
2
2
วิธีคิด จุดศูนยกลาง จุดโฟกัส และจุดยอด เรียงกันโดยคา
2
(y −k)
แสดงวาเปนวงรีตามแกนตั้ง ... สมการคือ
a = (−4) − (1) = 5
เนื่องจากคา
a
และคา
2
+
x
เทากันและ
2
(x −h)
y
ตางกัน
= 1
b2
c = (4) − (1) = 3
ดังนัน้
2
b =
52−32 = 4
2
แทนคา (h, k) = (2, 1) และ a, b ลงในสมการ ไดเปน (y −1) + (x −2) = 1
5
4
กระจายสมการ 16(y −1) + 25(x −2) = 400 → 16(y −2y +1) + 25(x −4x + 4) = 400
2
2
2
2
2
2
→ 25x2+ 16y2− 100x − 32y −284 = 0
•
ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆ ของรูปวงรีซึ่งมีสมการเปน
2
7x2+ 16y2+28x −96y +60 = 0
2
วิธีคิด ในขอนีส้ มั ประสิทธิ์หนา x กับ y ไมเปน 1 จึงตองแยกออกมาหนาวงเล็บดวย
ดังนี้ (7x + 28x) + (16y − 96y) = −60 → 7 (x + 4x) + 16(y − 6y) = −60 ...
จากนั้นเติมตัวเลขลงในวงเล็บทั้งสองและเติมทางขวาดวยเชนเดิม
แตใหระวังเนื่องจากมีตัวคูณอยูหนาวงเล็บทางซาย ทําใหตัวเลขที่เติมทางขวาเปลี่ยนไป
ไดเปน 7 (x + 4x + 4) + 16(y − 6y + 9) = −60 + 28 + 144 ... ( 28 = 7 × 4 , 144 = 16 × 9 )
2
2
2
2
2
2
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
นั่นคือ
เรขาคณิตวิเคราะห
101
7 (x + 2)2+ 16(y − 3)2 = 112
นําตัวเลขที่เหลือทางขวา คือ
112
หารตลอดสมการ จะได
(x + 2)2
(y − 3)2
+
= 1
16
7
ตอบ เปนวงรีตามแกนนอน จุดศูนยกลางคือ (−2, 3)
เนื่องจากคา a = 4, b = 7 จะได c = 16 − 7 = 3 ดังนัน้
จุดยอดคือ (−2 ± 4, 3) จุดโฟกัสคือ (−2 ± 3, 3) และจุดปลายแกนโทคือ (−2, 3 ±
7)
แบบฝึกหัด 4.6
(79) จงหาสมการรูปทั่วไปของวงรี ที่มีลักษณะดังแต่ละข้อต่อไปนี้
(79.1) จุดศูนย์กลางอยู่ที่ (3, −1) แกนเอกขนานกับแกน y และยาว 8 หน่วย
ส่วนแกนโทยาว 6 หน่วย
(79.2) จุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกําเนิด มีจุดยอดอยู่ที่ (0, 8) และมีโฟกัสอยู่ที่ (0, −5)
(79.3) จุดยอดอยู่ที่ (−4, 2) และ (2, 2) โดยแกนโทยาว 4 หน่วย
(79.4) จุดศูนย์กลางอยู่ที่ (−2, 1) มีจุดโฟกัสที่ (−2, 4) และผ่านจุด (−6, 1)
(79.5) จุดศูนย์กลางอยู่ที่ (2, 1) มีจุดยอดที่ (2, −4) และค่า c : a = 2 : 5
(80) ให้หาส่วนประกอบต่างๆ ทั้งหมดของวงรี
(80.1) 4x 2+ 9y 2= 36
(80.2) 9x 2+ 5y 2− 54x − 50y + 26 = 0
(80.3) 5x 2+ 9y 2− 10x = 40
(81) ให้หาสมการแสดงทางเดินของจุด P (x, y) ซึ่ง
(81.1) ระยะห่างจากจุด (4, 0) และจุด (−4, 0) รวมกันเป็น 12 หน่วย
(81.2) ระยะห่างจากจุด (2, 7) และจุด (2, 1) รวมกันเป็น 10 หน่วย
(82) ฐานของสามเหลี่ยมยาว 6 หน่วย และผลบวกของอีกสองด้านเป็น 10 หน่วย
(82.1) ถ้าฐานตรึงอยู่กับที่ กราฟที่ประกอบด้วยจุดยอดของสามเหลี่ยมจะเป็นรูปใด
(82.2) ให้หาสมการกราฟดังกล่าว ถ้าฐานตั้งอยู่บนแกน x โดยมีจุดกําเนิดอยู่ตรงกลาง
(83) [Ent’39] ให้หาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุดศูนย์กลางของวงรี
และตั้งฉากกับ 3x + 4y = 5
(84) [Ent’37] ระยะห่างระหว่างเส้นตรงคู่ขนานที่ทํามุม
ของวงรี x 2+ 3y 2− 4x − 2 = 0 มีค่าเท่าใด
45°
4x 2+ 9y 2− 48x + 72y + 144 = 0
กับแกน x และผ่านจุดโฟกัสทั้งสอง
(85) [Ent’38] ให้จุด F1 และ F2 เป็นจุดโฟกัสของวงรี kx 2+ 4y 2− 4y = 8 และวงรีนี้ตัดแกน y ที่
จุด B ซึ่งอยู่เหนือแกน x ถ้าสามเหลี่ยม FF1 2B มีพื้นที่ 3 7 /4 ตารางหน่วย แล้วค่า k เป็นเท่าใด
(86) นายแดงปีนขึ้นไปบนสะพานโค้งที่มีลักษณะเป็นครึ่งวงรี ปลายทั้งสองห่างกัน 4 เมตร และมี
ระยะสูงสุด 1 เมตร ถ้าเขาอยู่บนสะพานในตําแหน่งที่ห่างจากปลายข้างหนึ่ง เป็นระยะตามแนวราบ
80 ซม. เขาจะอยู่สูงจากพื้นกี่เซนติเมตร
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
102
4.7 ภาคตัดกรวย : ไฮเพอร์โบลา
นิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ “เซตของคู่อันดับที่ ผลต่างของระยะทางไปถึงจุดคงที่สองจุด มีค่า
เท่ากัน” เรียกจุดคงที่สองจุดนั้น ว่า จุดโฟกัส ( F1, F2 ) และนอกจากนี้ ผลต่างระยะทางซึ่งเป็นค่าคงที่
นั้น จะมีค่าเท่ากับ ความยาวของแกนตามขวาง (2a) พอดี
ไฮเพอร์โบลาที่มีจุดศูนย์กลางที่
จะมีสมการเป็น
2
2
⎛x⎞ ⎛y⎞
⎜ ⎟ −⎜ ⎟ =1
⎝a⎠ ⎝b⎠
C (0, 0)
แกนตามขวางยาว 2a และแกนสังยุคยาว 2b
(แบบอ้อมแกน x) หรือ
2
2
⎛y⎞ ⎛x⎞
⎜ ⎟ −⎜ ⎟ =1
⎝a⎠ ⎝b⎠
(อ้อมแกน y)
ไฮเพอร์โบลา (ตะแคง)
(x −h)2
B1 (h,k+b)
⎫
⎬b
⎭
C V1
(h,k)(h+a,k)
c
F2 V2
a
a
F1
(h+c,k)
−
2
(y −k)2
b2
= 1
จุดศูนย์กลาง C (h, k)
แกนตามขวาง 2a แกนสังยุค
ระยะโฟกัส c = a2+ b2
2b
รูปทั่วไป
B2
Ax 2+ By 2+ Dx + Ey + F = 0
Asymptote
a(y-k)=b(x-h)
Asymptote
ไฮเพอร์โบลา (ตั้ง)
Asymptote
b(y-k)=a(x-h)
V1 (h,k+a)
B2
Asymptote
B1B2
(y −k)2
F1 (h,k+c)
b
C (h,k) B1 (h+b,k)
⎧ ⎫
a
c ⎪⎨ ⎬⎭
⎪ V
⎩ 2
a2
−
(x −h)2
b2
= 1
จุดศูนย์กลาง C (h, k)
แกนตามขวาง 2a แกนสังยุค
ระยะโฟกัส c = a2+ b2
2b
รูปทั่วไป
F2
Ax 2+ By 2+ Dx + Ey + F = 0
นิยาม แกนตามขวาง (Transversal Axis) V1V2 และ แกนสังยุค (Conjugate Axis)
ใช้ในการสร้าง เส้นกํากับ (Asymptote) สองเส้น เพื่อบังคับความกว้างของไฮเพอร์โบลา
ข้อสังเกต
1. การวาดกราฟไฮเพอร์โบลา เปรียบเสมือนว่ามีวงรีอยู่ในกรอบตรงกลาง โดยใช้จุดศูนย์กลางร่วมกัน
และแกนตามขวางกับแกนสังยุคจะทับแกนเอกและโทของวงรีพอดี
แต่สําหรับไฮเพอร์โบลา a ไม่จําเป็นต้องมากกว่า b (แกนใดเครื่องหมายบวก จะอ้อมแกนนั้น)
2. ถ้า a = b (สี่เหลี่ยมจัตุรัส) รูปวงรีตรงกลางจะกลายเป็นวงกลม สามารถเรียกไฮเพอร์โบลานั้น
ว่า ไฮเพอร์โบลามุมฉาก (Rectangular Hyperbola)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
103
ตัวอยาง ใหสรางสมการไฮเพอรโบลาที่มีจุดศูนยกลางที่ (2, 1) มีจุดโฟกัสที่ (2, −4) และจุดยอดที่
(2, 4) และตอบในรูป Ax + By + Dx + Ey + F = 0 โดยสัมประสิทธิท
์ ุกตัวเปนจํานวนเต็ม
•
2
2
x
วิธีคิด จุดศูนยกลาง จุดโฟกัส และจุดยอด เรียงกันโดยคา
2
แสดงวาเปนไฮเพอรโบลาออมแกนตั้ง ... สมการคือ
เนื่องจากคา
a = (4) − (1) = 3
และคา
(y −k)
−
a2
y
เทากันและ
2
(x −h)
b2
c = (−4) − (1) = 5
ดังนัน้
2
ตางกัน
= 1
b =
52− 32 = 4
2
แทนคา (h, k) = (2, 1) และ a, b ลงในสมการ ไดเปน (y −1) − (x −2) = 1
3
4
กระจายสมการ 16 (y −1) − 9(x −2) = 144 → 16y −9x −32y + 36x −164 = 0
หมายเหตุ อาจตอบใหอยูในรูป สัมประสิทธิ์ของ x เปนบวก ก็ได
โดยนํา −1 คูณทั้งสมการ กลายเปน 9x −16y −36x +32y + 164 = 0
2
2
2
2
2
•
2
2
2
ตัวอยาง ใหหาสวนประกอบตางๆ ของรูปไฮเพอรโบลาทีม่ ีสมการเปน
2
x2−5y2+ 10y −25 = 0
2
วิธีคิด จัดกําลังสองสมบูรณเหมือนเดิม x − 5(y − 2y) = 25 ...
สังเกตไดวา ไมมีพจน x กําลังหนึ่ง แสดงวาที่แกน x ไมมีการเลือ่ นแกน และไมตองจัดรูป
เติมตัวเลขทั้งสองขาง เปน x − 5(y − 2y + 1) = 25 - 5 ... นั่นคือ x − 5(y − 1) = 20
(การจัดรูปกําลังสองสมบูรณในขอนี้ หลายจุดตองระวังพลาดเรื่องเครื่องหมายลบ)
2
นําตัวเลขที่เหลือทางขวา คือ
20
2
2
หารตลอดสมการ จะได
2
(y − 1)2
x2
−
= 1
20
4
ตอบ เปนสมการไฮเพอรโบลา (ออมแกนนอน) จุดศูนยกลางคือ (0, 1)
เนื่องจากคา a = 20, b = 2 จะได c = 20 + 4 = 24 ดังนัน้
จุดยอดคือ (± 20, 1) จุดโฟกัสคือ (± 24, 1) และจุดปลายแกนสังยุคคือ (0, 1 ± 2)
นิยาม สําหรับวงรีและไฮเพอร์โบลา ความเยื้องศูนย์กลาง (Eccentricity; e) คือค่าที่บอก
ว่าจุดโฟกัสและจุดยอด อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเป็นอัตราส่วนเท่าใด นั่นคือ e = c / a
จะพบว่าค่า e ของวงรี อยู่ระหว่าง 0 กับ 1 เสมอ (ถ้า e ยิ่งมากขึ้น วงรีจะยิ่งแคบลง)
และค่า e ของไฮเพอร์โบลา มากกว่า 1 เสมอ (ถ้า e ยิ่งมากขึน้ กราฟจะยิ่งกว้างขึ้น)
เพิ่มเติม
1. รูปวงรี และไฮเพอร์โบลา ก็มีเลตัสเรกตัมและ
เส้นไดเรกตริกซ์ด้วย (คิดไม่เหมือนกับพาราโบลา)
แต่ไม่ได้กล่าวถึงในหลักสูตร ม.ปลาย
2. ภาคตัดกรวยในรูปเต็มคือ
S e·¤¹i¤¡ÒèíÒ! S
ǧÃÕ a ÂÒÇ·ÕèÊu´
2 2 2
´a§¹aé¹ a =c +b
äÎe¾oÃoºÅÒ c ÂÒÇ·ÕèÊu´
2 2 2
´a§¹aé¹ c =a +b
Ax 2+ By 2+ Cxy + Dx + Ey + F = 0
โดยที่ C ≠ 0
ลักษณะกราฟจะเป็นเหมือนรูปใดรูปหนึ่งใน 4 รูปที่
ได้ศึกษาแล้ว แต่แกนจะถูกหมุนไปจากเดิม เช่นอาจ
เป็นรูปวงรีเฉียงๆ ... จะได้ศึกษาการจัดสมการและ
เขียนกราฟเหล่านี้ในระดับมหาวิทยาลัย
a
c
Math E-Book Release 2.2.04
b
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
c
a
b
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
104
นอกจากนี้ไฮเพอร์โบลามุมฉากอีกรูปแบบหนึ่ง ได้แก่สมการในรูป xy = k เมื่อ k เป็น
ค่าคงที่ ไฮเพอร์โบลานี้มีแกนนอนและแกนตั้งเป็นเส้นกํากับ และมีส่วนประกอบต่างๆ ดังภาพ
ไฮเพอร์โบลามุมฉาก
xy = k
จุดศูนย์กลาง
F1
V2
k > 0
V1
C (0,0)
จุดยอด
C (0, 0)
V1 ( k, k)
V2 (− k, − k)
F1 ( 2k, 2k)
จุดโฟกัส
F2 (− 2k, − 2k)
F2
ไฮเพอร์โบลามุมฉาก
F1
xy = −k
k > 0
จุดศูนย์กลาง
C (0, 0)
จุดยอด
V1
V1 (− k, k)
V2 ( k, − k)
C (0,0)
V2
F2
จุดโฟกัส
F1 (− 2k, 2k)
F2 ( 2k, − 2k)
แบบฝึกหัด 4.7
(87) จงหาสมการรูปทั่วไปของไฮเพอร์โบลา ที่มีลักษณะดังแต่ละข้อต่อไปนี้
(87.1) จุดศูนย์กลางอยู่ที่ (−3, 1) มีจุดยอดที่ (2, 1) และแกนสังยุคยาว 6 หน่วย
(87.2) จุดโฟกัสอยู่ที่ (−1, −6) และ (−1, 4) โดยแกนตามขวางยาว 6 หน่วย
(87.3) จุดโฟกัสอยู่ที่ (0, 4) และ (0, −4) และมีจุดปลายแกนสังยุคเป็น (3, 0)
(88) ให้หาส่วนประกอบต่างๆ ทั้งหมดของไฮเพอร์โบลา
(88.1) 9x 2− 4y 2= 36
(88.2) 9x 2− 16y 2− 18x − 64y − 199 = 0
(88.3) 6x 2− y 2− 36x − 2y + 59 = 0
(88.4) 6x 2− 10y 2− 12x − 40y − 94 = 0
(89) ให้หาสมการแสดงทางเดินของจุด
(3, 0) กับ (−3, 0) เป็น 4 หน่วย
P (x, y)
ซึ่งผลต่างของระยะทางจาก
Math E-Book Release 2.2.04
P (x, y)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
ไปยังจุด
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
105
(90) [Ent’32] ให้หาสมการกราฟที่ทําให้ผลคูณระยะทางจาก
4x − 3y = − 11 และ 4x + 3y = −5 เป็น 144/25
P (x, y)
ใดๆ ในกราฟ ไปยังเส้นตรง
(91) ให้หาส่วนประกอบของกราฟรูปต่อไปนี้
(91.1) จุดยอด และจุดโฟกัสของ xy = −4
(91.2) จุดศูนย์กลางของ xy + 2x − y = 3
(92) [Ent’32,36] ถ้าภาคตัดกรวยรูปหนึ่งมีสมการเป็น 9x 2− 18x = 16y 2+ 64y + 199 แล้ว ผลรวม
ของระยะทางจากจุดโฟกัสทั้งสองไปถึงเส้นตรง 3x + 4y = 8 เป็นเท่าใด
(93) [Ent’34] ถ้า F1 เป็นจุดโฟกัสของไฮเพอร์โบลา 6x 2− 10y 2− 12x − 40y − 94 = 0 และอยู่ใน
ควอดรันต์ที่ 4 แล้ว ให้หาสมการพาราโบลาที่มีจุดยอดอยู่ที่ F1 และมีไดเรกตริกซ์เป็นแกนสังยุคของ
ไฮเพอร์โบลา
(94) [Ent’39] กําหนดไฮเพอร์โบลา 9(x −1)2− 4 (y −2)2= 36 ให้หาสมการวงรีซึ่ง ผลบวกของ
ระยะทางจากจุดใดๆ บนวงรี ไปยังจุดที่ไฮเพอร์โบลาตัดแกน x ทั้งสองจุด เป็น 8 หน่วย
(95) [Ent’37] กําหนด E แทนวงรี 6x 2+ 5y 2+ 12x − 20y − 4 = 0 จงหาสมการไฮเพอร์โบลาที่มีจุด
ศูนย์กลางร่วมกับ E, มีจุดยอดอยู่ที่เดียวกับจุดโฟกัสของ E, และมีความยาวแกนสังยุคเท่ากับความ
ยาวแกนโทของ E พอดี
(96) ให้สังเกตว่ากราฟของสมการแต่ละข้อเป็นภาคตัดกรวยรูปใด โดยไม่ต้องคํานวณ
(96.1) x 2+ y 2− 6x − 8y + 12 = 0
(96.6) 3x 2+ 3y 2− 9x − 6y + 20 = 0
(96.7) 3x 2− 3y 2− 9x − 6y + 20 = 0
(96.2) x 2+ 2y 2− 2x + 4y − 13 = 0
(96.8) 3x 2− 2 = − y 2+ 4y
(96.3) x 2+ 2x − y + 3 = 0
(96.9) 3x 2− 2 = y 2+ 4y
(96.4) x 2− y 2− 2x − 2 = 0
(96.10) 3x 2− 2 = 4y
(96.5) x 2− y 2= 4
เฉลยแบบฝึกหัด (คําตอบ)
(1) 61 (2) 2
(3) 5 (4) หน้าจั่ว
(5) 2 × (9 2 + 34)
(6) 3 10 (7) ถูกทุกข้อ
(8) (29/4 , 0) (9) (4, 3)
(10) 41 + 26 + 17
(11) –3 (12) 10
(13) 72, (5, 4) (14) 15
(15) ผิดทั้งสองข้อ (16) 31
(17) 3 (18) 2
(19) (−4, 6),(8, −3)
(20) ขนาน (21) (2, 3)
(22) –30 (23) –2
(24) –8/5 (25) 10
(26) ... (27) 2x + 3y = 6
(28) 1/48 (29) y = 4 x − 16
(30) 5 (31) 2x + 3y + 1 = 0
(32) (0, −20/9) (33) (−7/3, 0)
(34) y = x + 3/5 (35) 10
(36) (−2, 3) , Q2 (37) 16/3
(38) ถูกทั้งสองข้อ
(39) y = (11/2) x + 1 ,
a = −2/11 , b = 1
(40) x + 2y − 7 = 0
(41) −1/2, (6, 0) หรือ 4, (−3, 0)
(42) 7.5 (43) 19.5
(44) 13/2 (45) 0, 5
Math E-Book Release 2.2.04
(46)
(47)
(48)
(49)
(50)
(52)
(53)
−11/12 + 41/12 = 2.5
40/ 58
−88 + 16 = −72
(2, −11/4) , (8, 1/4)
45°
(51)
3
75°
x − 7y − 7 = 0
หรือ
7x + y − 5 = 0
(54)
(55)
y = 3x + 6
4x − 3y + 20 = 0 ,
3x + 4y + C = 0
(56) (−1/2, −1/2)
(57) (4, 2)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
106
(58.1) (4, −3) (58.2) (−1, −2) (58.3) (−1, 2)
(59.1) x 2+ y 2− 6x − 8y + 12 = 0
(59.2) x 2+ y 2− 3x − 3y + 4 = 0
(59.3) x 2+ y 2− 4x + 2y = 0
(59.4) x 2+ y 2+ 4x − 6y − 3 = 0
(59.5) x 2+ y 2− 3x + 3y − 8 = 0
(60) 3 (61.1) x + y = 4
(61.2) 4x − y = ± 17
(61.3) 4x + 3y = 20 , 12x − 5y = −52
(62.1) (x −2)2+ (y −2)2= 4
(62.2) (x −2)2+ (y −2)2= 1 , (x + 1)2+ (y + 1)2= 1
(62.3) (x + 1)2+ (y −2)2= 13 (63) k < 25
(64) 4 3 (65) y = 2x , (x + 1)2+ (y +2)2= 5
(66) 9 (67) 12x 2− 4y 2= 3
(68.1) y 2− 28x − 6y − 47 = 0
(68.2) y 2+ 12x = 0 (68.3) y 2+ 9x = 0
(68.4) x 2− 4x − 40y − 116 = 0
(68.5) x 2− 10x − 2y + 21 = 0
(68.6) y 2− 8x − 4y + 4 = 0
(68.7) 2y 2− x − 12y + 19 = 0
(68.8) x 2+ 2x − y + 3 = 0
(69) 1465/8 (70.1) (0, 3) , y + 3 = 0 , 12
(70.2) V (−3, 5) , F (−6, 5) , เลตัสเรกตัมยาว
12, ไดเรกตริกซ์คือแกน y
(70.3) (7, 2) (70.4) (± 2, 0)
(71.1) x 2+ 4x − 24y + 52 = 0
(71.2) y 2− 4x − 2y + 9 = 0
(72) 12 (73) 6 5 (74) 4x − 3y + 14 = 0
(75) x 2− 6x + 12y − 15 = 0
(76) y 2+ 3x = 0 (77) 145/16
(78) 2/3 หน่วย
(79.1) 16x 2+ 9y 2− 96x + 18y + 9 = 0
(79.2) 64x 2+ 39y 2= 2496
(79.3) 4x 2+ 9y 2+ 8x − 36y + 4 = 0
(79.4)
(79.5)
(80.1)
25x 2+ 16y 2+ 100x − 32y − 284 = 0
25x 2+ 21y 2− 100x − 42y − 404 = 0
C (0, 0) , V (±3, 0) , F (± 5, 0) ,
B (0, ±2)
(80.2)
C (3, 5) , V (3, 5±6) , F (3, 5± 4) ,
B (3± 20, 5)
(80.3)
C (1, 0) , V (1± 3, 0) , F (1±2, 0) ,
B (1, ± 5)
(81.1) 5x 2+ 9y 2= 180
(81.2) 25x 2+ 16y 2− 100x − 128y − 44 = 0
(82.1) วงรี (82.2) 16x 2+ 25y 2= 400
(83) 4x − 3y = 36 (84) 2 2
(85) 9/4 (86) 80
(87.1) 9x 2− 25y 2+ 54x + 50y − 169 = 0
(87.2) 9x 2− 16y 2+ 18x − 32y + 137 = 0
(87.3) 7x 2− 9y 2+ 63 = 0
(88.1) C (0, 0) , V (±2, 0) , F (± 13, 0) ,
B (0, ±3)
(88.2)
C (1, −2) , V (1± 4, −2) , F (1±5, −2) ,
B (1, −2± 3)
(88.3)
C (3, −1) , V (3, −1± 6) ,
F (3, −1± 7) , B (3 ± 1, −1)
(88.4)
C (1, −2) , V (1± 10, −2) ,
F (1± 4, −2) , B (1, −2± 6)
(89) 5x 2− 4y 2= 20
(90) 16x 2− 9y 2+ 64x + 18y + 55 = ± 144
(91.1) V (±2, ∓2) , F (±2 2, ∓2 2)
(91.2) (1, −2) (92) 6
(93) y 2− 16x + 4y + 84 = 0
(94) 23x 2+ 36y 2− 46x = 345
(95) x 2− 5y 2+ 2x + 20y − 14 = 0
(96.1) วงกลม (96.2) วงรี
(96.3) พาราโบลา (96.4) ไฮเพอร์โบลา
(96.5) ไฮเพอร์โบลา (96.6) วงกลม
(96.7) ไฮเพอร์โบลา (96.8) วงรี
(96.9) ไฮเพอร์โบลา (96.10) พาราโบลา
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
107
เฉลยแบบฝึกหัด (วิธีคดิ )
(1)
2
2
2
2
|PP
1 2 | = (1 + 5) + (7 − 2) = 6 + 5 = 61
ข.
(2)
2+6 7 −3
P(
,
) = (4, 2)
2
2
|EF| = 72 + 142 = 245 = 7 5
= (3, 3)
(3)
∴|PQ| =
|PC| =
20
=
2
5
−2 + 8 5 + 1
,
)
2
2
12 + 12 =
2
20
ดังนัน้
22 + 42 =
|OD| =
Q(
หน่วย
∴|PQ| =
5
ด้วย
2
112 + 42 =
|AB| =
|DF| = 32 + 62 = 45 = 3 5
137 , |BC| =
72 + 72 = 98 ,|AC| = 42 + 112 = 137
|DE| + |DF| = |EF|
แสดงว่า
D, E, F อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน ... ถูกต้อง
(จุด E กับ F เป็นจุดปลาย)
ค. |AB| = 42 + 22 = 20 = 2 5
พบว่า
และเนือ่ งจาก DC อยู่ที่ความสูง y = 4
ดังนัน้ PQ อยูท่ ี่ y = 2
ความสูงของ Δ จาก C มายัง PQ คือ 2 หน่วย
จะได้ พื้นที่ Δ = 1 × 2 × 5 = 5 ตร.หน่วย
(4)
|DE| = 42 + 82 = 80 = 4 5
|BC| = 42 + 22 = 2 5,| AC| = 82 + 42 = 4 5
|AB| + |BC| = |AC|
แสดงว่า
A, B, C อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน ... ถูกต้อง
(8) สมมติจดุ P มีพิกัด (x, 0) ก็จะได้วา่
(x − 1)2 + 22 = (x − 3)2 + 52 กระจายได้
พบว่า
x2 − 2x + 1 + 4 = x2 − 6x + 9 + 25
นั่นคือ 4x = 29 → x = 29 ∴ P(29 , 0)
4
4
→ |AB| = |AC|
แสดงว่าเป็น Δ หน้าจั่ว
(5) เส้นรอบรูป Δ ABC จะยาวเป็น 2 เท่าของเส้น
(9) สมมติจดุ ศูนย์กลางมีพิกดั (x, y)
A
รอบรูป Δ PQR เสมอ
ดังนัน้ (x − 1)2 + (y − 7)2 = (x − 8)2 + (y − 6)2
เพราะ |AB| = 2|PQ|,
R
Q
= (x − 7)2 + (y + 1)2 (เท่ากันทั้งสามก้อน)
|BC| = 2|QR|
และ |AC| = 2|PR|
B นํามาเขียนสมการเป็น 2 คู่ เพื่อหา x, y เช่น
C
หาค่า
72 + 12 =
|PQ| =
2
|QR| = 32 + 52 = 34
คือ
50 = 5 2 ,
2
และ
ดังนัน้ เส้นรอบรูป Δ ABC = 2 × (9 2 +
(6) P(3(2) + 1(6) , 3(8) + 1(12)) = (3, 9)
34)
4
4
1(6) + 3(−2) 1(12) + 3(−4)
Q(
,
) = (0, 0)
4
4
(7) ก.
|BC | =
32 + 92 =
|AB| =
2
2
3 +7 =
2
90 = 3 10
72 + 32 =
58
58 , | AC | =
2
2
|AB| + |BC| = |AC|
2
2
4 + 10 =
แสดงว่า
Δ ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก ... ถูกต้อง
(มุม B เป็นมุมฉาก)
พบว่า
2
2
7x − y = 25
..... (1)
2
2
และอีกสมการ
2
x −2x + 1+ y − 14y + 49 = x − 14x + 49 + y + 2y + 1
|PR| = 42 + 42 = 32 = 4 2
∴| PQ | =
2
x −2x + 1+ y − 14y + 49 = x − 16x +64 + y − 12y + 36
P
116
คือ 3x − 4y = 0 ..... (2)
จะได้ x = 4, y = 3 ดังนัน้ ตอบ (4, 3)
(10) A ไปยังจุดกึ่งกลางของ BC
(คือ (4 − 2 , 3 + 5) = (1, 4)) → 12 + 52 =
2
2
B ไปยังจุดกึง่ กลางของ AC
(คือ (0, 2)) → 42 + 12 = 17
C ไปยังจุดกึ่งกลางของ AB
(คือ (3, 1)) → 52 + 42 = 41
รวม 26 + 17 + 41
(11) จุดตัดของเส้นมัธยฐาน
4−4+4 5+7+1
4 13
(m, n) = (
,
)=( , )
3
3
3 3
9
จะได้ m − n = − = −3
3
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
26
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
BC
6−4 7−3
D(
,
) = (1, 2)
2
2
(12) จุดกึ่งกลางของ
(16) ลําดับที่เขียน ต้องเรียงทวนเข็มนาฬิกา
เช่น A, E, D, B, C, A
E
คือ
A(x, y) โดย
x +6−4 y + 7 −3
4
(
,
) = ( , 1) →
3
3
3
วิธีคดิ 1 หาจุด
ดังนั้น เส้นมัธยฐาน จาก A(2, −1)
ไปยัง D(1, 2) มีขนาด 12 + 32 = 10 ... ตอบ
วิธีคดิ 2 หาระยะจาก P(4 , 1) ไปยัง D(1, 2) ได้เป็น
|AD| = 3
(13)
พื้นที่
=
10
3
เท่าของ
3
และใช้สมบัติว่า เส้นมัธยฐาน
|PD| → ∴ ตอบ
10
1
× สูง × ฐาน
2
= 72 ตร.หน่วย
จุดตัดของเส้นมัธยฐาน
P
=
ตร.หน่วย
(17)
mAB = mAC →
k −2
4−2
=
2−1
3−1
(18) วิธีคดิ เหมือนข้อที่แล้ว
คือ y − 6 = −2 − 6 ดังนั้น
4+2
∴k = 3
y = 2
A
3
4 3
4 3
mAB =
(20)
A
3
0
−5
3
1
(6 + 5 + 10 + 9) = 15
2
C
4
(14) พล็อตจุดคร่าวๆ เพื่อหาลําดับ
ของจุดบนเส้นรอบรูปได้ดังภาพ B
พื้นที่
= 31
R (12,0)
0 + 3 + 12 0 + 12 + 0
(
,
) = (5, 4)
3
3
1
1 −2
ΔABC = ⋅ 3
2
1
A
B
(19) จากภาพ
จะได้ A (−4, 6)
และ B (8, −3)
Q (3,12)
1
× 12 × 12
2
D
4
7
5
−2
−3
4
1
= (8 + 28 + 15 − 2 + 3 + 7 − 10 + 8 + 9 − 4)
2
1+2
P(0, 0) , Q(3, 12) , R(12, 0)
=
1
−2
1 −4
= ⋅ −3
2
−1
1
พื้นที่
(x, y) = (2, −1)
1
( )2 + 12 =
3
เรขาคณิตวิเคราะห
108
5−2
8−4
= 1, mCD =
= 1
4−1
2+2
∴ mAB = mCD →
ขนานกัน
(21) สมมติ D(x, y) จะได้ว่า
C
1+ 4
y+2
→
=
−4 + 5
x−1
และ
ตร.หน่วย
mAD = mBC →
mAB = mCD
→ 5x − y = 7
..... (1)
y −1
−2 + 4
=
x +4
1+5
ส่วน PQR ไม่เป็น Δ เพราะอยู่บนเส้นตรงเดียวกัน → 3y − x = 7 ..... (2)
ดังนัน้ พื้นที่ = 0 ∴ ตอบ 15 ตร.หน่วย
แก้ระบบสมการได้ D(x, y) = (2, 3)
(15) ก. |PQ| = 52 + 52 = 5 2
(22) ความชัน (3, 2), (1, −4) คือ −4 − 2
2
2
2
2
|QR| = 2 + 1 = 5, |PR| = 3 + 6 = 3 5
จะได้ความยาวรอบรูป
3 −2
ข. พืน้ ที่
=
= 4 5 +5 2
1 0 4
⋅
2 −2 3
3 −2
1
= (8 − 9 + 12 + 4) = 7.5
2
ดังนัน้ ก. ผิด และ ข. ผิด
Q
ตร.หน่วย
B
∴
หน่วย
ความชัน
ดังนัน้
R
(23)
P
จะได้
(k, 7), (−3, −2)
คือ
1− 3
1
−
3
1
7+2
=
→ k = −30
3
k +3
6−5
1
=
∴ mCD = −2
mAB =
3−1
2
4+m
−2 =
→ m = −2
m+1
= 3
−
(24) ความชันของรัศมีทผี่ ่าน (5, 6) กับ (−3, 1) คือ
6−1
5
=
... และเนือ่ งจากเส้นสัมผัสจะตั้งฉากกับ
5+3
8
รัศมีเสมอ จึงได้ว่า
Math E-Book Release 2.2.04
mL = −
8
5
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(25)
mAB = −
1
4
, mAC = − , mBC = 7
7
3
แสดง (32) ความชันของ
ว่า AB ⊥ BC ดังรูป
B
และเนือ่ งจาก
A
วงกลมที่ลอ้ มรอบ Δ มุมฉาก
จะทําให้ ด้านตรงข้ามมุมฉาก
เป็นเส้นผ่านศูนย์กลาง เสมอ
∴ ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง = |AC|
= 62 + 82 = 10 หน่วย
mAB =
(26) ก.
→ AB ⊥ BC
x
y
+
= 1 → 2x + 3y − 6 = 0
3 2
C
(0, −
8
(x − 1)
3
สมการ
แสดงว่า
พื้นที่ Δ
=
(29) จุดตัดแกน
x
คือ
1/8
ตร.หน่วย
(4, 0)
8−0
= 4
6−4
สมการคือ y = 4(x − 4) → y = 4x − 16
→ mL =
AC กับ BD
2+6
AC ; y − 2 = (
)(x − 1) → y = 2x
1+ 3
−1 + 5
BD ; y + 1 = (
)(x + 2) → y = −x − 3
−2 − 2
(30) สร้างสมการเส้นทแยงมุม
จุดตัดของเส้นทั้งสอง คือ P(−1, −2)
ตอบ 12 + 22 = 5
(31) m = − A = − 2 , จุดตัดของ
B
3
และ 2x + y = 5 คือ (4, −3)
ดังนัน้ สมการทีต่ ้องการคือ
y+3 = −
ของเส้นนี้ได้เป็น
x
2x + 3y + 5 = 0
y −5 =
(แทน y ด้วย 0) คือ
(34) mM = 1 → mL
ระยะตัดแกน y ของ
∴ L
3
(x − 1) →
2
มีความชัน
1
(−
= 1,
N
(แทน
และผ่านจุด
คือ
7
, 0)
3
x = 0)
คือ
3
(0, )
5
3
5
3
3
= 1x → y = x +
5
5
(35) L1 ; y = (2 − 0)(x + 2) → y = 1 x + 1
2+2
2
L2 ; mL2 = −2 → y = −2(x + 2) = −2x − 4
→ y−
1/3
1 1
1
1
× ×
=
2 8 3
48
คือ
จุดตัดแกน
→ 8x − 3y + 1 = 0
3
L
3
→
4
−
4 5
20
⋅ ) = (0, −
)
3 3
9
2
3
− → mL =
3
2
จากนั้น หาระยะตัดแกน x และ y (โดยแทน
y = 0 และแทน x = 0 ตามลําดับ)
L
ได้เป็น − 1 และ 1
8
y
(33) ความชันของ
→
คือ
4
3
5
ผ่านจุดตัดแกน x คือ (− , 0) →
3
4
สร้างสมการ y = − (x + 5)
3
3
จะหาจุดตัดแกน
3+5
8
=
1+2
3
(28) สร้างสมการของ L ก่อน → mL =
3x − 4y + 5 = 0
ความชันของอีกเส้น คือ
3
7
5
, mBC = − , mAC =
7
3
2
ข. mDE = −2, mEF = −2 → DE // EF
ค. mAB = 1 , mBC = 1 → AB // BC
2
2
ดังนัน้ ถูกทุกข้อ
(27) x-intercept = 3 , y-intercept = 2
→y − 3 =
เรขาคณิตวิเคราะห
109
x +y = 1
L3 ;
x
y
+
= 1 → y = 3x − 4
(4 / 3) −4
จะได้ จุดตัด L1, L2 คือ (−2, 0)
จุดตัด L2 , L3 คือ (0, −4)
จุดตัด L3 , L1 คือ (2, 2)
∴
พืน้ ที่
2
2
2
2
1 −2 0
= ⋅ 0 −4
2
L1
L2
L3
1
= (4 + 8 + 8) = 10 ตร.หน่วย
2
(36) mL1 = 2 = mL2 →
3
2
2
13
.....
L2 : y − 3 = (x + 2) → y = x +
3
3
3
3
3
2
mL3 = − → L3 : y + 1 = − (x − )
2
2
3
3
→ y = − x ..... (2)
2
สมการเส้นตรงทัง้ สองตัดกันทีจ่ ุด
2
(x − 4) → 2x + 3y + 1 = 0
3
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
(1)
(−2, 3) → Q2
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(37) หาจุด
A(3, k) → 4 =
→ k =
(Quadrant 1 )
7
32 + k2
7y = − 3x + 16 →
∴ A(3, 7)
จะได้
ถ้า
x =
ระยะตัดแกน
16
3
L ⊥ AB → mAB =
∴y=x−3
ระยะตัดแกน
ระยะตัดแกน
y =−3
3
a = 6, −3
a = 6 → b = 3 →
สมการคือ
x
y
1
+
= 1→ y = − x+3
6 3
2
ถ้า
a = −3 → b = 12 →
สมการคือ
x
y
+
= 1 → y = 4x + 12
3 12
ตอบ ความชัน − 1 ตัดแกน x ที่ (6, 0)
2
หรือ ความชัน 4 ตัดแกน x ที่ (−3, 0)
−
3
x =3
ได้
→
2+1
= −1
−1 − 2
→ mL = 1 → L : y + 1 = 1(x − 2) →
(38)
x
y
+
= 1 → ผ่านจุด (−2, 4)
a 9−a
−2
4
+
= 1 → a2 − 3a − 18 = 0
a
9−a
(41)
จากนั้น mOA = 7 → mL = − 3 →
3
7
3
L:y− 7 = −
(x − 3)
7
→
เรขาคณิตวิเคราะห
110
3 2
L : y = 0.5(x + 3) →
(42)
A
จุด
(0, 1.5)
คือ
→ mL = 0.5 ∴ mAB = −2
ก. ความยาวรอบรูป Δ = 3 + 3 + 3 2 = 6 + 3 2 AB : y − 1.5 = −2(x) → y = −2x + 1.5
... ถูก
เส้นตรงขนานแกน y ผ่านจุด B
1
B(-3,y)
ข. พืน้ ที่ Δ = × 3 × 3 = 4.5 ตร.หน่วย ... ถูก ตัดแกน x ที่ (−3, 0)
2
B
เป็
น
(
−
3,
y)
แสดงว่
า
จุ
ด
(39) |AB| = 62 + 32 = 45,
C(-3,0)
ดังภาพ
|BC | =
2
2
2 + 11 =
125, | AC | =
2
2
4 +8 =
80
B จากสมการ AB ได้
B(−3, 7.5) → ∴|BC| = 7.5
AB →
13
−2 + 4 5 + 8
(
,
) = (1, )
2
2
2
−2 + 2 5 − 3
และกึ่งกลาง AC → (
,
) = (0, 1)
2
2
ดังนัน้ สมการเส้นตรง คือ y − 1 = (13/2 − 1)(x)
1−0
11
→ y =
x+1
2
ตอบ ระยะตัดแกน x = − 2 , แกน y = 1
11
x
y
(40) + = 1 → ผ่านจุด (1, 3)
2b b
จะได้ 1 + 3 = 1 → b = 7 ∴ a = 7
2b b
2
หาจุด
x
y
+
= 1→
7 (7 / 2)
mAB
จุดกึง่ กลางของด้านที่สนั้ คือ กึ่งกลาง
สมการเส้นตรงนี้ คือ
x + 2y − 7 = 0
L
A
เป็น
(43) หาพิกดั จุด B โดยสร้างสมการ
BC นํามาแก้หาจุดตัด..
AB
และ
3
3
19
(x + 3) → y = x +
2
2
2
2
2
4
BC : y + 4 = − (x − 4) → y = − x −
3
3
3
AB : y − 5 =
หาจุดตัด (จุด B ) ได้เป็น (−5, 2)
∴ พืน
้ ที่ Δ = 1 × | AB| × |BC|
2
1
1
2
= × 2 + 32 × 92 + 62 = ×
2
2
13 × 3 13
= 19.5 ตร.หน่วย
หมายเหตุ หาพิกัดจุด
mBC
B โดยความชันก็ได้
3
y −5
3
=
→
=
2
x+3
2
2
y+4
2
= − →
= −
3
x−4
3
ซึ่งรูปสมการก็เหมือนกับการสร้างเส้นตรงอยูน่ ั่นเอง..
(44) 2x − 3y = 6 คือ 4x − 6y − 12 = 0 →
ระยะห่าง
Math E-Book Release 2.2.04
=
| −12 − (−25) |
2
2
4 +6
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
=
13
=
42
13
2
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(45) สมมติเส้นตรงที่ตอ้ งการ
จะได้
1=
| −5 − K |
32 + 42
3x − 4y + K = 0
→ ± 5 = −5 − K
ดังนัน้ → K = 0 หรือ −10
คําตอบคือ 3x − 4y = 0 หรือ 3x − 4y − 10 = 0
แต่โจทย์ให้ Ax + 2y + C = 0
จึงต้องนํา -1/2 คูณสมการให้กลายเป็น
3
3
− x + 2y = 0 กับ − x + 2y + 5 = 0
2
เรขาคณิตวิเคราะห
111
2
(51)
2−1
=
3 −0
mL1 =
แสดงว่า L1 ทํามุม
ในลักษณะดังภาพ
mL2 =
| −15 − C |
ดังนัน้
122 + 52
C = 11
→ −15 − C = ±26
หรือ
−41
... สมการ
L1, L2
คือ
มีส่วนตัดแกน
41
→
12
x
(ระยะตัดแกน x )
11
= −
12
−11 + 41
= 2.5
12
(47) สมการ BC : y − 4 = (−3 − 4)(x − 5)
2−5
→ 7x − 3y − 23 = 0
A มาตัง้ ฉาก BC
| 7(−2) − 3(1) − 23 |
40
=
58
72 + 32
ระยะจาก
(48)
4 =
หาจาก
หน่วย
| 5(−3) − 12(2) + 3 − k |
52 + 122
→ ± 52 = −36 − k → k = 16, −88
ดังนัน้ ตอบ −72
(49) ให้จดุ ทีต่ ้องการคือ
2x − 4y = 15 → y =
(x, y) →
2x − 15
4
แทนค่าในสมการ
ระยะทางจากจุดไปยังเส้นตรง
→ 3 =
2x − 15
| 3x + 4(
) − 10 |
4
32 + 42
→ ± 15 = 5x − 25
..จะได้ x = 2 หรือ 8
ถ้า x = 2 → y = −11 / 4
ถ้า x = 8 → y = 1 / 4
ดังนัน้ ตอบว่า (2, − 11) และ
(50)
จะได้
60°
L2
ได้เป็น
3(x − 1) → mL1 =
1
x
3
C
3
mL1 − mL2
1 + mL1mL2
1
3 − mL2
=
→ mL2 =
3
1 + 3mL2
และ ดังนัน้ หาจุด
ตอบ
กับแนวนอน
แสดงว่า L1 ทํามุม 45° กับแนวนอน 45°
ในลักษณะดังภาพ
L2 L1
ดังนัน้ เส้นตรงทัง้ สอง
75°
ทํามุมกัน 75° ดังภาพ
60°
45°
→ L2 : y =
12x − 5y + 11 = 0, 12x − 5y − 41 = 0
L1
3−4
= −1
2−1
ดังนัน้ ตอบ C = 0 หรือ 5
(46) L อยูต่ รงกลางระหว่าง L1, L2 พอดี แสดงว่า (52) L1; y =
ห่างด้านละ 2 หน่วย → หาสมการ L1, L2 โดย → tan 30° =
2 =
60°
1
3
1
3
(ผ่านจุดกําเนิด)
(จุดตัดของ
L1, L2 )
3
3
( ,
)
2 2
3
3
( )2 + ( )2 =
2
2
→ |CO| =
3
| 3x + 4y + 1 | | 4x − 3y − 6 |
=
5
5
→ 3x + 4y + 1 = ± (4x − 3y − 6)
(53)
ดังนัน้ ตอบ x − 7y − 7 = 0 และ
(54) A(−2, 0), B(0, 6) →
7x + y − 5 = 0
6
AB : y = ( )(x + 2) → y = 3x + 6
2
1−5 0 +8
,
) = (−2, 4), Q(1, 8) →
(55) P(
2
2
4
PQ : y − 4 = ( )(x + 2) → 4x − 3y + 20 = 0
3
เส้นตรงตั้งฉากกับ PQ จะต้องมีความชัน − 3/ 4
แต่โจทย์ไม่บอกว่าผ่านจุดอะไร จึงตอบติดค่า C ไว้
ดังนี้ 3x + 4y + C = 0
(56) mL = 1 → สร้างสมการเส้นตรงตั้งฉากกับ
L และผ่านจุด (−2, 1) ได้เป็น
y − 1 = −1(x + 2) → y = − x − 1
1
(8, )
4
4
5 − (2/ 3)
tan θ =
= 1 → ∴ θ = 45°
1 + 5 (2/ 3)
พบว่าตัดกับ
L
(ตั้งฉาก) ที่จดุ
(−
1
1
,− )
2
2
ดังนัน้ โพรเจคชันของ (-2,1) บน L คือ (− 1 , − 1)
2
2
[หมายเหตุ เนือ่ งจากเป็นเส้นตรง y=x จึงสามารถใช้
สูตรลัดได้ดว้ ยว่า (−2 + 1 , −2 + 1) = (− 1 , − 1) ]
2
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
2
2
2
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(57) วิธีคดิ เช่นเดียวกับข้อทีแ่ ล้ว
4
mL =
→ สร้างเส้นตั้งฉากและผ่าน
5
5
x
4
ตัดกับ L
(59.4) รู้จดุ ผ่าน 3 จุด ต้องแก้ระบบสมการ
เพื่อหา D, E, F ดังนี้
ได้เป็น สมการ
2
2
(0, 7)
(−6)2 + (3)2 + D(−6) + E(3) + F = 0
ทีจ่ ุด
(4, 2)
(4, 2)
y + 2 = |x + 1|
→ (h, k) = (−1, −2)
(x2 + 2x +1) + (y2 − 4y +4) = 9 − 5 +1 +4
→ (h, k) = (−1, 2)
(h, k) = (3, 4)
(3 − 1)2 + (4 − 1)2 =
r =
... ดังนัน้ ตอบ
(h, k) = (4, −3)
→ (x + 1)2 + (y − 2)2 = 1
(59.1)
13
ดังนัน้ สมการวงกลมคือ
→ (x − 3)2 + (y − 4)2 =
2
13
2
x2 − 6x + 9 + y2 − 8y + 16 − 13 = 0
กระจายได้
2
→ x + y − 6x − 4y + 12 = 0
(59.2) (h, k) = (1 + 2 , 1 + 2) = (1.5, 1.5)
2
2
r =
3
x + y + Dx + Ey + F = 0
y−7 = −
พบว่า
(58.1)
(58.2)
(58.3)
เรขาคณิตวิเคราะห
112
(2 − 1)2 + (2 − 1)2
2
=
2
2
22
)
2
→ x2 − 3x + 2.25 + y2 − 3y + 2.25 = 0.5
→ (x − 1.5)2 + (y − 1.5)2 = (
..... (1)
..... (2)
(−2)2 + (7)2 + D(−2) + E(7) + F = 0 ..... (3)
แก้ระบบสมการได้ D = 4, E = −6, F = −3
ดังนัน้ ตอบ x2 + y2 + 4x − 6y − 3 = 0
(59.5) หาจุดตัดของวงกลมทั้งสองก่อน
โดยนําสมการลบกันเป็น 5x = 5y → y = x
แทนค่าเข้าไปอีกครั้งในสมการใดสมการหนึ่ง
ได้เป็น x = 2 → y = 2
หรือ x = −2 → y = −2
∴ จุดตัดมีสองจุด คือ (2, 2), (−2, −2)
ต่อมา หาสมการวงกลมที่ผา่ นจุด
่ ล้ว
(1, −5), (2, 2), (−2, −2) โดยคิดวิธีเดียวกับข้อทีแ
( x2 + y2 + Dx + Ey + F = 0 )
แก้ 3 สมการได้ D = −3, E = 3, F = −8
ดังนัน้ ตอบ x2 + y2 − 3x + 3y − 8 = 0
(60) 3x2 + 3y2 + 11x + 15y = −9 →
(2)2 + (3)2 + D(2) + E(3) + F = 0
x2 + y2 +
11
x + 5y + 3 = 0
3
→ x2 + y2 − 3x − 3y + 4 = 0
จะได้วา่ เส้นสัมผัสจากจุด
(59.3) หาจุดศูนย์กลาง C(h, k) → ห่างจากจุด
กําเนิด (0, 0) และ (1, 1) เป็นระยะเท่ากัน
11
(0) + 5(1) + 3 = 9 = 3 หน่วย
3
(61.1) mรัศมี = 2 − 0 = 1 → mเส้นสัมผัส = −1
2−0
→ y − 2 = −1(x − 2) → x + y = 4
(h − 1)2 + (k − 1)2 =
h2 + k2
→ h2 − 2h + 1 + k2 − 2k + 1 = h2 + k2
→ h+k = 1
..... (1)
ตั้งฉากกับ y
และ CO
ดังนัน้ mCO
= −
1
→
2
แก้ระบบสมการได้
∴r =
2
2
= 2x
2 +1 =
(m = 2)
k
1
= −
h
2
..... (2)
(h, k) = (2, −1)
5
(x − 2)2 + (y + 1)2 =
และสมการวงกลมคือ
5
2
→ x2 − 4x + 4 + y2 + 2y + 1 = 5
→ x2 + y2 − 4x + 2y = 0
=
(0, 1)
มีความยาว
(0)2 + (1)2 +
(61.2) r = 17, C(h, k) = (0, 0) →
สร้างสมการเส้นตรงผ่าน (0, 0) และ m = 4
จะได้ y = 4x จากนัน้
ขยับเส้นตรงนีอ้ อกไปจากเดิม
เป็นระยะ 17 หน่วย
จะได้วา่
17 =
|C − 0|
42 + 12
ดังนัน้ ตอบ
Math E-Book Release 2.2.04
→ C = 17, −17 →
y = 4x ± 17
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เรขาคณิตวิเคราะห
113
(61.3) วิธีแรก สมการเส้นตรงผ่าน
(−1, 8)
คือ
y − 8 = m(x + 1) → y = mx + m + 8
(h, k)
ข.
ไปยังเส้นตรง
|h − k +
y = x+
2
เป็น
1
หน่วย
2|
→
= 1 ..... (2)
เส้นตรงเส้นนีส้ ัมผัสวงกลม x2 + y2 = 16 แสดงว่า
12 + 12
แก้ระบบสมการได้ (h, k) = (2, 2) หรือ (−1, −1)
ตัดวงกลมเพียงจุดเดียว นั่นคือ สมการ
2
2
x + (mx + m + 8) = 16 จะต้องมีคาํ ตอบเดียว
จึงตอบว่า (x − 2)2 + (y − 2)2 = 12 หรือ
(x + 1)2 + (y + 1)2 = 12
กระจายสมการได้เป็น
(m2 + 1) x2 + (2m2 + 16m) x + (m2 + 16m + 48) = 0
(62.3) ระยะทางจากจุด C(h,k) ไปยังเส้นตรงทัง้
4
12
สาม
จะต้องเท่ากัน (เพราะเป็นรัศมีวงกลม) นัน่ คือ
2
นั่นคือ B − 4AC = 0 ได้ m = − หรือ
3
5
ตอบ 4x + 3y = 20, 12x − 5y = −52
วิธีทสี่ อง คิดโดยหาระยะทางจากจุด (−1, 8) ไป
สัมผัสวงกลม x2 + y2 = 16 ก่อน ได้เป็น
(−1)2 + 82 − 16 = 7 หน่วย
จากนั้นหาจุดสัมผัสบนวงกลมซึ่งอยู่หา่ งจาก (−1, 8)
เป็นระยะ 7 หน่วย → (x + 1)2 + (y − 8)2 = 7
| 2h − 3k + 21 |
2
2
2 +3
=
| 2h + 3k + 9 |
32 + 22
| 3h − 2k − 6 |
=
32 + 22
= r
แก้ระบบสมการทีละคู่ ได้ (h, k) = (25, 2) หรือ
(−1, 2) หรือ (−7.5, 34.5) หรือ (−7.5, −4.5)
แต่จากการวาดกราฟคร่าวๆ จะทราบว่า จุด (h, k) ที่
อยู่ภายใน Δ นี้จริงๆ คือ (−1, 2) เท่านั้น
→ (x + 1)2 + (y − 8)2 = 72
2
2
(เป็นสมการวงกลมรัศมี 7 จากจุด (−1, 8) นัน่ เอง) จะได้ r = 13 → (x + 1) + (y − 2) = 13
2
2
→ นําไปตัดกับ x2 + y2 = 16 แก้ระบบสมการได้ (63) จาก (x − 6x) + (y + 8y) = −k →
2
2
(x − 6x + 9) + (y + 8y + 16) = −k + 9 + 16
48
20
16
12
→ y=
, x=
→ y=
13
13
5
5
48 20
16 12
∴ จุดสัมผัส คือ (−
, ) กับ ( , )
13 13
5 5
x=−
→ (x − 3)2 + (y + 4)2 = 25 − k
จากนั้นสร้างสมการเส้นสัมผัสได้ (ระหว่าง 2 จุด)
48 20
(−1, 8) กับ (−
, ) → ได้ 12x − 5y = − 52
(−1, 8)
กับ
13 13
16 12
( , )→
5 5
ได้
4x + 3y = 20
x2 + (kx)2 − 14x + 49 − k2 = 0
(62.1) หาพิกดั ของจุดศูนย์กลาง (h, k) โดย
ก. ระยะทางจาก (h, k) ไปยัง
(6, 2) เป็น 4 หน่วย
2
(h,k) 2
→ (h − 6)2 + (k − 2)2 = 4
ข. ระยะทางจาก (h, k) ไปยัง
(2, −1) เป็น 3 หน่วย
→ (k2 + 1) x2 − 14x + 49 − k2 = 0
ต้องการ
2
(6,2)
2
(h, k) = (2, 2)
หรือ
(
122
25
B2 − 4AC = 0
2
จะได้วา่
14 − 4(k + 1)(49 − k2) = 0
→ k = 0, 4 3, − 4 3
โจทย์ตอ้ งการ k > 0 เท่านั้น จึงตอบ 4 3
(65) x2 + 4x + 2 = −(y2 + 8y + 9) →
1
(2,-1)
→ (h − 2)2 + (k + 1)2 = 3
แก้ระบบสมการได้
จะเป็นสมการวงกลมเมื่อ 25 − k > 0 → k < 25
(64) คิดแบบเดียวกับข้อ 61.3 (วิธีแรก)
→ y = kx สัมผัส x2 + y2 − 14x + 49 = k2
แสดงว่า ตัดกราฟแค่จุดเดียว (ระบบสมการมีคาํ ตอบ
เดียว) → แก้ระบบสมการได้
,−
46
)
25
แต่ในที่นตี้ ้องการ (h, k) ใน Q1 จึงเป็น (2, 2)
เท่านั้น... และตอบว่า (x − 2)2 + (y − 2)2 = 22
(62.2) วงกลม x2 + y2 − 4x + 2y + 1 = 0 จัด
รูปได้เป็น (x − 2)2 + (y + 1)2 = 22
ดังนัน้ จุดศูนย์กลาง (h, k) ที่ตอ้ งหาในข้อนี้
จะมีสมการระยะทางเป็น
ก. (h, k) ไปยัง (2, −1) เป็น 3 หน่วย
(รัศมีวงกลม 2 วง รวมกัน 2 + 1 = 3 )
→ (h − 2)2 + (k + 1)2 = 3 ..... (1)
(x2 + 4x + 4) + (y2 + 8y + 16) = − 2 − 9 + 4 + 16
→ (x + 2)2 + (y + 4)2 = 32
เป็นสมการวงกลม ซึ่งมีจดุ ศูนย์กลางที่
หาสมการเส้นตรง OC ได้เป็น
y =
C(−2, −4)
−4
x → y = 2x
−2
OC เป็นเส้นผ่านศูนย์กลาง
−2 + 0 −4 + 0
→ (h, k) = (
,
) = (−1, −2)
2
2
หาสมการวงกลมที่มี
r = 12 + 22 = 5 → (x + 1)2 + (y + 2)2 = 5
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
114
(66) x2 + y2 − 4x + 2y = 4
มีจุดศูนย์กลางที่ (2, −1)
ดังนัน้ สมการเส้นตรงคือ y + 1 = − 4 (x − 2)
3
แก้ระบบสมการหาจุดตัดของเส้นตรงกับวงกลม
ได้เป็น A(0.2, 1.4) และ B(3.8, −3.4) →
(68.5) แสดงว่าอ้อมแกน y จะได้
(x − 5)2 = 4c(y + 2) แทนค่า (3, 0) เพือ
่ หาค่า c
4 = 4c(2)
ตอบ
(68.6) Directrix : x = − 2, F(2, 2) แสดงว่าอ้อม
แกน x, หาจุดยอดได้เป็น (0, 2) [กึ่งกลางระหว่าง
โฟกัสกับไดเรกตริกซ์] ดังนัน้ c = 2
ตอบ (y − 2)2 = 4(2)(x)
1 −1 −2
Δ ABD = ⋅ 3.8 −3.4
2
1
× (0.68 + 7.6 + 1.4 + 5.32 + 3.4 − 0.4)
2
= 9
(67)
→ y2 − 8x − 4y + 4 = 0
ตร.หน่วย
2
(x − 1) = (1 − y)(1 + y) →
(x − 1)2 = (1 − y2) → (x − 1)2 + y2 = 12
(เป็นรูปวงกลม) ... ให้หาสมการซึง่ (x, y) เป็นจุด
ศูนย์กลางวงกลมที่สัมผัสวงกลมนี้ และผ่าน (−1, 0)
แสดงว่าระยะทางจากจุด (x, y) ไปยัง (−1, 0) = r
และระยะทางจากจุด (x, y) ไปยัง (1, 0) = r + 1
จะได้ (x + 1)2 + y2 + 1 = (x − 1)2 + y2 →
2
2
2
2
2
x + 2x + 1 + y + 2 (x + 1) + y + 1 = x − 2x + 1 + y
→ 2 (x + 1)2 + y2 = − 4x − 1
2
2
2
จากนัน้ ยกกําลังสอง
2
→ 4(x + 1) + 4y = 16x + 8x + 1
2
2
→ 12x − 4y = 3
เป็นสมการที่ตอ้ งการ
(68.1) แสดงว่า อ้อมแกน x และ c = 7
→ (y − 3)2 = 4(7)(x + 2)
→ y2 − 28x − 6y − 47 = 0
(68.2) แสดงว่าอ้อมแกน x และ c = −3
(เพราะอัตราส่วนระยะโฟกัส ต่อความยาวเลตัสเรก
ตัมต้องเป็น 1 : 4 เสมอ จึงไม่ใช่อ้อมแกน y)
→ y2 = 4(−3)(x)
→ y2 + 12x = 0
(x − 5) = 2(y + 2)
→ x − 10x − 2y + 21 = 0
0.2 1.4
=
→ 4c = 2
2
2
0.2 1.4
พื้นที่
เรขาคณิตวิเคราะห
(68.7) อ้อมแกน x → y2 + Dx + Ey + F = 0 หา
ค่า D, E, F โดยแทนค่า (1, 3), (9, 1), และ (51, −2)
จะได้วา่
(3)2 + D(1) + E(3) + F = 0 ..... (1)
(1)2 + D(9) + E(1) + F = 0 ..... (2)
และ (−2)2 + D(51) + E(−2) + F = 0 ..... (3)
แก้ระบบสมการได้ D = − 1 , E = −6, F = 19
2
1
ดังนัน้ ตอบ y2 − x − 6y + 19 = 0
2
2
→ 2y2 − x − 12y + 19 = 0
(68.8) ลองพล็อตกราฟ
คร่าวๆ จะรู้วา่ เป็นพาราโบลา
อ้อมแกน y เท่านัน้ จึงตั้ง
สมการว่า
2
(3,18)
(-2,3)
(0,3)
x2 + Dx + Ey + F = 0 →
แทนค่าจุดทั้งสามเพื่อแก้
ระบบสมการเช่นเดียวกับข้อที่แล้ว ได้คาํ ตอบเป็น
D = 2, E = −1, F = 3 →
ดังนัน้ ตอบ x2 + 2x − y + 3 = 0
(69) 2x2 + 3y = 0 → x2 = − 3 y
2
(68.3) แกน x เป็นแกนสมมาตร แสดงว่าอ้อมแกน → x2 = 4(− 3)y เป็นพาราโบลาคว่ํา
8
x ... จะได้ y2 = 4cx
แทนค่า (−4, −6) เพื่อหาค่า c
มีจุดยอดที่ V(0, 0) จุดโฟกัสที่ (0, − 3)
→ 36 = 4c(−4)
→ 4c = −9
ตอบ y2 = −9x → y2 + 9x = 0
(68.4) แกนสมมาตรตั้งฉากแกน x แสดงว่าอ้อม
แกน y ... จะได้ (x − 2)2 = 4c(y + 3)
แทนค่า (8, −2.1) เพื่อหาค่า c
36 = 4c(0.9)
ตอบ
→ 4c = 40
2
ตอบ
3
4 + (3 − )2 =
8
2
1,465
8
8
หน่วย
(70.1) x2 = 4(3)y → จุดยอด (0, 0) อ้อมแกน y
ตอบ จุดโฟกัส F(0, 3) , ความกว้างที่จดุ โฟกัส
= 4(3) = 12 หน่วย, สมการไดเรกตริกซ์
y=−3
→ y+3=0
(x − 2) = 40(y + 3)
→ x2 − 4x − 40y − 116 = 0
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(70.2)
y2 − 10y + 25 = − 12x − 61 + 25
→ (y − 5)2 = 4(−3)(x + 3) →
อ้อมแกน x
ตอบ จุดยอด V(−3, 5), จุดโฟกัส F(−6, 5),
ความกว้าง ณ โฟกัส = 12, สมการไดเรกตริกซ์
x = − 3 + 3 = 0 (ก็คอ
ื แกน y)
(70.3) Directrix: x = 1
(4,2)
จุดยอด (4, 2) แสดงว่า
เปิดขวา, c = 3 →
ดังนัน้ จุด F(7, 2)
x=1
1
7
(70.4) V(0, − ), F(0, ) แสดงว่า หงาย,
3
7
1
3
c =
− (− ) =
6
3
2
6
3
1
→ x2 = 4( )(y + ) →
2
3
x; แทน y ด้วย 0
3 1
x = 4( )( ) = 2 → x = ± 2
2 3
หาจุดตัดแกน
เรขาคณิตวิเคราะห
115
จะได้
2
(74)
y2 − 4y + 4 = 4x + 8 + 4
→ (y − 2)2 = 4(1)(x + 3) →
อ้อมแกน
x,
จุดยอด
V(−3, 2) และจุดโฟกัส F(−2, 2) →
สมการเส้นตรงทีต่ ้องการคือ
6−2
y −6 = (
)(x − 1)
1+ 2
(75)
→ 4x − 3y + 14 = 0
(x2 − 6x + 9) + (y2 + 2y + 1) = 6 + 9 + 1
→ (x − 3)2 + (y + 1)2 = 16 →
จุดศูนย์กลางคือ
หาพาราโบลาทีม่ ี Directrix: y = 5,
โฟกัส F(3, −1) → อ้อมแกน y
จุดยอดคือ V(3, 2) → c = −3 → สมการที่ได้
C(3, −1) →
(x − 3)2 = 4(−3)(y − 2) →
x2 − 6x + 12y − 15 = 0
(76) แก้ระบบสมการหาจุดตัดได้เป็น (0, 0) กับ
(−3, −3) → หาพาราโบลาทีผ
่ ่าน 2 จุดนี้ และแกน
สมมาตรคือแกน x → แสดงว่า (0, 0) เป็นจุดยอด
จะได้ (y)2 = 4c(x) → แทน (−3, −3) เพือ่ หาค่า c
ดังนัน้ ตอบ ( 2, 0), (− 2, 0)
(71.1) พาราโบลา มี y = −4 เป็น Directrix, มี
→ 9 = 4c(−3) → 4c = −3
F(−2, 8) → อ้อมแกน y → หาจุดยอดได้เป็น (จุด
ดังนัน้ ตอบ y2 = −3x → y2 + 3x = 0
กึ่งกลางระหว่าง F กับ Directrix) V(−2, 2)
(77) y2 − 4y + 4 = −8x + 20 + 4
→ c = 6 ดังนั้นได้สมการ (x + 2)2 = 4(6)(y − 2)
→ (y − 2)2 = 4(−2)(x − 3) → อ้อมแกน x,
→ x2 + 4x − 24y + 52 = 0
(71.2) เทคนิคการคิด คือ ขยับเส้นตรง x = −4 จุดยอด V(3, 2), จุดโฟกัส F(1, 2) → ไดเรกตริกซ์
ไปทางขวาเข้าหาจุด F(3, 1) เป็นระยะ 5 หน่วย จะ x = 3 + 2 = 5 → จุดตัดของไดเรกตริกซ์กับแกน
สมมาตร ก็คือ P(5, 2) ดังนัน้ โจทย์ให้หาวงกลมที่
ได้ Directrix: x = −4 + 5 = 1 → อ้อมแกน x
ผ่านจุด (0, 0), (1, 2), (5, 2) →
จุดยอดคือ V(2, 1) → c = 1 → ได้สมการเป็น
2
แก้ระบบสมการ หา D, E, F จาก
(y − 1) = 4(1)(x − 2)
→ y2 − 4x − 2y + 9 = 0
(72) (x − 1)2 = 4(1)(y)
อ้อมแกน y, จุดยอด V(1, 0) → จุดโฟกัส F(1, 1)
หาจุดบนโค้งนีท้ หี่ ่างจาก F(1, 1) อยู่ 13 หน่วย
สมมติจดุ นัน้ เป็น (a, b) จะได้วา่
13 = (a − 1)2 + (b − 1)2 ..... (1)
และ (a − 1)2 = 4b ..... (2)
แก้ระบบสมการได้ b = 12, − 14
ถ้า b = 12 → a = 1 ± 4 3
จุด (a, b) = (1 + 4 3, 12) หรือ (1 − 4 3, 12)
ถ้า b = −14, เป็นไปไม่ได้ (หาค่า a ไม่ได้)
∴ ห่างจากแกน x อยู่ 12 หน่วย
(73) แก้ระบบสมการหาจุดตัดได้เป็น (8, 8) กับ
(2, −4) ดังนั้นความยาวคอร์ดที่เกิดขึ้น
= 62 + 122 = 180 = 6 5 หน่วย
x2 + y2 + Dx + Ey + F = 0
เช่นเดียวกับโจทย์ข้อ (59.4),(59.5) ได้เป็น
1
D = −6, E = , F = 0 → สมการวงกลมทีไ่ ด้ คือ
2
1
x + y − 6x + y = 0 → จัดรูปเพื่อหารัศมี
2
1
1
1
(x2 − 6x + 9) + (y2 + y +
)= 9+
2
16
16
กําลังสองของรัศมีวงกลม = 9 + 1 = 145
16
16
2
2
(78) วาดพาราโบลาลงบนแกน
เพื่อช่วยคํานวณ โดยให้เปิดขวา
และมีจุดยอดที่ (0, 0) จะได้
สมการเป็น y2 = 4cx →
หาค่า c จากจุดที่ผ่าน คือ (6, 4)
16
2
→ 16 = 4c(6) → c =
=
24
3
2
∴ ระยะโฟกัส =
หน่วย
3
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
ดังนั้น
(6,4)
(6,-4)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
C(3, −1), a = 4, b = 3,
(79.1)
เรขาคณิตวิเคราะห
116
รีตามแกน y
9(x2 − 6x +9) + 5(y2 − 10y +25)
(80.2)
= −26 + 81 + 125
(y + 1)2 (x − 3)2
+
= 1
42
32
2
→ 9(y + 1) + 16(x − 3)2 = 144
→
→ 9(x − 3)2 + 5(y − 5)2 = 180
180
(x − 3)2 (y − 5)2
+
= 1
20
36
→ 16x2 + 9y2 − 96x + 18y + 9 = 0
นํา
(79.2) C(0, 0), V(0, 8) แสดงว่า a = 8 และ
รีตามแกน y, F(0, −5) แสดงว่า c = 5
→ b = 82 − 52 = 39 จะได้สมการเป็น
รีตามแกน y (a = 6, b =
ตอบ C(3, 5), V(3, 5±6)
y2
x2
+
= 1 → 64x2 + 39y2 = 2496
2
39
8
(79.3) V(−4, 2), (2, 2) แสดงว่า รีตามแกน x
(80.3)
จุดศูนย์กลาง
C(−1, 2) → a = 3
หาร
→
20, c = 4)
F(3, 5± 4), B(3 ± 20, 5)
และ
5(x2 − 2x +1) + 9(y2) = 40 +5
→ 5(x − 1)2 + 9y2 = 45 →
นํา
45
หาร
→
(x + 1)2 (y − 2)2
+
= 1
32
22
→ 4(x + 1)2 + 9(y − 2)2 = 36
(x − 1)2
y2
+
= 1
9
5
รีตามแกน x (a = 3, b = 5, c = 2)
ตอบ C(1, 0), V(1± 3, 0), F(1±2, 0), B(1, ± 5)
(81.1) F(4, 0), (−4, 0) แสดงว่า รีตามแกน x
→ 4x2 + 9y2 + 8x − 36y + 4 = 0
c = 4, C(h, k) = (0, 0) → ระยะทางรวมเป็น 12
(79.4) C(−2, 1), F(−2, 4) แสดงว่ารีตามแกน y
2
2
และ C = 3 , ผ่านจุด (−6, 1) แสดงว่าจุดปลายแกน แสดงว่า a = 6 → b = 6 − 4 = 20
2
2
โทเป็น B(−6, 1)
สมการทีต่ ้องการคือ x2 + y = 1
20
6
จะได้ b = 4, a = 32 + 42 = 5 →
→ 5x2 + 9y2 = 180
→
(y − 1)2 (x + 2)2
+
= 1
52
42
→ 16(y − 1)2 + 25(x + 2)2 = 400
2
(81.2)
c = 3,
2
→ 25x + 16y + 100x − 32y − 284 = 0
(79.5) C(2, 1), V(2, −4) แสดงว่า รีตามแกน y
และ a = 5 , ค่า c : a = 2 : 5 แสดงว่า c = 2
→ b = 52 − 22 = 21 ดังนั้นได้สมการ
(y − 1)2 (x − 2)2
+
= 1
21
52
2
→ 21(y − 1) + 25(x − 2)2 = 525
→
(a = 3, b = 2 → c =
ตอบ
→
x2
y2
+
= 1→
9
4
32 − 22 =
C(0, 0), V(3, 0), (−3, 0),
F( 5, 0), (− 5, 0), B(0, 2), (0, −2)
แสดงว่ารีตามแกน y
C(h, k) = (2, 4) → ระยะทางรวม เป็น
a = 5 → ∴b =
5)
2
10
2
5 −3 = 4 →
(y − 4)2 (x − 2)2
+
= 1
25
16
→ 25x2 + 16y2 − 100x − 128y − 44 = 0
สมการทีต่ ้องการ คือ
(82.1) รูปวงรี (เพราะตรงตามนิยามของวงรีพอดี)
(82.2) 6 = 2c → c = 3
10 = 2a → a = 5
→ 25x2 + 21y2 − 100x − 42y − 404 = 0
(80.1) นํา 36 หาร
รีตามแกน x
แสดงว่า
F(2, 7), (2, 1)
2
∴b = 4
2
x
y
+ 2 = 1
52
4
→ 16x2 + 25y2 = 400
ได้สมการ
(83)
4(x2 − 12x +36) + 9(y2 + 8y +16)
= − 144 +144 +144
→ 4(x − 6)2 + 9(y + 4)2 = 144
เป็นสมการวงรีที่มี
C(h, k) = (6, −4) → หาสมการเส้นตรงที่ผา่ น
3
(6, −4) และตัง้ ฉากกับ 3x + 4y = 5 (m = − )
แสดงว่า
ตอบ
4
mL =
3
4
→ y + 4 = (x − 6)
3
4x − 3y − 36 = 0
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
4
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(84)
(x2 − 4x + 4) + 3(y2) = 2 + 4
→ (x − 2)2 + 3y2 = 6 →
2
(x − 2)
y
+
= 1→
6
2
6−2 = 2
∴ F(2 ± 2, 0) = (4, 0)
กับ (0, 0) → โจทย์ให้หา
ระยะระหว่างเส้นตรงที่ผ่าน (4, 0) และผ่าน (0, 0)
โดยทํามุม 45° กับแกน x
ดังภาพ
4
∴ d = 4 sin 45°
= 2 2
(85)
d
หน่วย
∴
พืน้ ที่
Δ =
a −b
9
4
→ k =
B
2
3/2 c
F1 (0,1/2) F2
C(h, k) = (0, 0)
จะได้ว่า
x
y
+ 2 = 1 โจทย์ถามตําแหน่ง P ซึ่งห่างจาก
22
1
ปลายหนึ่ง 80 ซม. → แสดงว่า x = 1.2 → หา
(1.2)2
y2
→
+ 2 = 1
2
2
1
y
→ y = 0.8
จึงตอบว่า สูงจากพื้น 80 ซม.
(87.1) C(−3, 1), V(2, 1) แสดงว่า อ้อมแกน x
a = 5, แกนสังยุคยาว 6 หน่วย แสดงว่า
(x + 3)2 (y − 1)2
b = 3 → สมการคือ
−
= 1
2
2
5
3
→ 9x − 25y + 54x + 50y − 169 = 0
2
2
F(−1, −6), (−1, 4)
แสดงว่า อ้อมแกน y
C(h, k) = (−1, −1) → c = 5 ... แกนตามขวางยาว
6 หน่วย แสดงว่า a = 3 → b = 52 − 32 = 4
(87.2)
2
2
(y + 1)
(x + 1)
−
= 1
32
42
2
2
→ 16y − 9x + 32y − 18x − 137 = 0
สมการคือ
(หรือนํา -1 คูณ กลายเป็น
2
2
(หรือ 7x2 − 9y2 + 63 = 0 ก็ได้)
(88.1) 9x2 − 4y2 = 36 → นํา 36 หาร
x2
y2
−
= 1→
4
9
x,
อ้อมแกน
4+9 =
(x − 1)2 (y + 2)2
−
= 1→
16
9
a = 4, b = 3, c = 5
→
ตอบ
13
9x − 16y + 18x − 32y + 137 = 0
อ้อมแกน x
C(1, −2), V(1± 4, −2), F(1±5, −2)
B(1, −2± 3)
6(x2 − 6x +9) − (y2 + 2y +1)
= −59 +54 − 1
→ 6(x − 3)2 − (y + 1)2 = −6
→
2
ค่าความสูง
y
x
− 2 = 1
7
3
→ 9y2 − 7x2 − 63 = 0
สมการคือ
(88.3)
3 7
1
9 9
3
= ⋅ (2
− )⋅( )
4
2
k 4
2
(86) ตั้งแกนไว้ให้จดุ
7
2
→ 9(x − 1)2 − 16(y + 2)2 = 144
9 9
−
k
4
=
2
= 199 +9 −64
พบว่าต้องรีตามแกน x
จึงจะเกิด Δ ได้ ดังภาพ
c =
42 − 32 =
a = 2, b = 3 → c =
1
→ kx2 + 4(y − )2 = 9
2
1
(y − )2
x2
2
→
+
= 1
(3 / 2)2
(3 / k)2
2
b = 3 → a =
ตอบ C(0, 0), V(±2, 0), F(± 13, 0), B(0, ±3)
(88.2) 9(x2 − 2x +1) − 16(y2 + 4y +4)
2
2
C(0, 0), c = 4
→
1
kx + 4(y − y + ) = 8 +1
4
2
F(0, 4), (0, −4)
แสดงว่า อ้อมแกน y
... จุด B(3, 0) แสดงว่า
(87.3)
2
C(h, k) = (2, 0), c =
รีตามแกน x
เรขาคณิตวิเคราะห
117
(y + 1)2 (x − 3)2
−
= 1→
6
1
อ้อมแกน y
a =
6, b = 1, c =
7
ตอบ
C(3, −1), V(3, −1± 6), F(3, −1± 7)
B(3 ± 1, −1)
(88.4)
6(x2 − 2x +1) − 10(y2 + 4y +4)
= 94 +6 − 40
→ 6(x − 1)2 − 10(y + 2)2 = 60
→
(x − 1)2 (y + 2)2
−
= 1→
10
6
อ้อมแกน x
a =
10, b =
6, c = 4
ตอบ
C, (1, −2), V(1± 10, −2), F(1± 4, −2)
B(1, −2± 6)
(89) F(3, 0), (−3, 0) → C(h, k) = (0, 0), c = 3 ,
อ้อมแกน x , ผลต่างระยะทาง 4 หน่วย
→ 2a = 4 → a = 2
∴b =
x2 y2
−
=1
5
22
→ 5x2 − 4y2 − 20 = 0
∴
สมการคือ
ก็ได้)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
32 − 22 = 5
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
|4x − 3y + 11| |4x + 3y + 5| 144
⋅
=
25
42 + 32
42 + 32
→ |(4x − 3y + 11)(4x + 3y + 5)| = 144
(94) จุดตัดแกน x ของไฮเพอร์โบลา (แทน
y = 0 ) คือ 9(x − 1)2 − 16 = 36
(90)
2
→ x = 1±
2
→ 16x − 9y + 64x + 18y + 55 = ±144
ตอบ
16x2 − 9y2 + 64x + 18y + 199 = 0
2
เรขาคณิตวิเคราะห
118
หรือ
2
16x − 9y + 64x + 18y − 89 = 0
(91.1) อยู่ในรูปแบบไฮเพอร์โบลามุมฉาก
จุดยอด (2, −2), (−2, 2)
จุดโฟกัส (2 2, −2 2), (−2 2, 2 2)
(91.2) จัดรูปดังนี้ xy + 2x − y = 3
xy = − k
→ x(y + 2) − (y +2) = 3 −2
→ (x − 1)(y + 2) = 1
52
3
หาสมการวงรีที่มี
แสดงว่า
c =
(1 ±
... คู่อันดับ
F(1 ±
C(h, k) = (1, 0),
52
, 0)
3
และผลบวกเป็น 8
รีตามแกน
52
, a = 4 → ∴b =
3
16 −
= 199 +9 − 64
→ 9(x − 1)2 − 16(y + 2)2 = 144
→
(x − 1)2 (y + 2)2
−
= 1
16
9
C(1, −2), c =
อ้อมแกน x
16 + 9 = 5 →
จุดโฟกัสอยูท่ ี่
(1 ± 5, −2) = (6, −2)
กับ (−4, −2)
ผลรวมระยะทางที่ตอ้ งการ คือ
|3(6) + 4(−2) − 8|
32 + 42
2 28
=
+
= 6
5
5
(93)
+
|3(−4) + 4(−2) − 8|
32 + 42
= 94 +6 − 40
2
(x − 1)
(y + 2)
−
= 1
10
6
52
=
9
92
3
(x − 1)2
9y2
+
= 1→
16
92
23(x − 1)2 + 36(y2) = 368
→
2
2
(x + 1)
(y − 2)
+
= 1
5
6
C(h, k) = (−1, 2), a =
c =
4 +6 + 20
วงรี รีตามแกน
6, b =
y
5,
6−5 = 1→
V(−1, 2 ± 6), F(−1, 2± 1) →
หาสมการไฮเพอร์โบลา
ที่ C(−1, 2), V(−1, 2± 1), แกนสังยุคยาวเท่าแกนโท
ของวงรี ( b = 5 เท่ากัน)
(y − 2)2 (x + 1)2
−
= 1→
5
12
5(y − 2)2 − (x + 1)2 = 5
→
→ 5y2 − x2 − 20y − 2x + 14 = 0
หน่วย
6(x2 − 2x +1) − 10(y2 + 4y +4)
2
x,
ตอบ
อยู่ในรูปแบบไฮเพอร์โบลามุม → 23x2 + 36y2 − 46x − 345 = 0
... มีจุดศูนย์กลางที่ (1, −2)
(95) 6(x2 + 2x +1) + 5(y2 − 4y +4) =
ฉาก xy = k
(92) 9(x2 − 2x +1) − 16(y2 + 4y +4)
52
, 0)
3
(หรือ x2 − 5y2 + 2x + 20y − 14 = 0 ก็ได้)
(96) ย้ายข้างสมการให้อยู่ในรูป
Ax2 + By2 + Dx + Ey + F = 0
... ถ้า A หรือ B เป็น 0 ⇒ พาราโบลา
ถ้า A = B ⇒ วงกลม
C(1, −2) , c = 10 + 6 = 4 → F(1± 4, −2) ดังนั้น
ถ้า A ≠ B แต่เครื่องหมายเดียวกัน ⇒ วงรี
F1 คือ (5, −2) [Q4 ] → แกนสังยุคของไฮเพอร์โบลา ถ้า A กับ B เครื่องหมายตรงข้ามกัน ⇒
คือ x = 1 → สร้างสมการพาราโบลาที่มจี ุดยอด ไฮเพอร์โบลา
ดังนัน้ แต่ละข้อได้คําตอบดังนี้
V(5, −2) และ Directrix: x = 1 → แสดงว่าอ้อม
(96.1) วงกลม
(96.2) วงรี
แกน x และ c = 4 →
(96.3) พาราโบลา
(96.4) ไฮเพอร์โบลา
(y + 2)2 = 4(4)(x − 5)
(96.5) ไฮเพอร์โบลา
(96.6) วงกลม
→ y2 − 16x + 4y + 84 = 0
(96.7) ไฮเพอร์โบลา
(96.8) วงรี
(96.9) ไฮเพอร์โบลา
(96.10) พาราโบลา
→
อ้อมแกน x
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
119
f(n)=c+tn
º··Õè
5 ¤ÇÒÁÊaÁ¾a¹¸/¿§¡ªa¹
ความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์และฟังก์ชัน จะ
เป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร
และเป็นพื้นฐานของการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในการ
ทํางาน ทั้งด้านพาณิชยศาสตร์ ด้านวิศวกรรม ฯลฯ ซึ่ง
ในบทนี้เราจะได้รู้จักลักษณะเบื้องต้นของความสัมพันธ์
และฟังก์ชัน
คู่อันดับ (Ordered Pair) ประกอบด้วยสมาชิกสองตัวในรูป (a, b) ซึ่งไม่สามารถเปลี่ยน
ลําดับสมาชิกตัวหน้ากับตัวหลังได้ และ (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d เท่านั้น
ผลคูณคาร์ทีเซียน (Cartesian Product) คือผลคูณระหว่างเซตสองเซต
เซต A × B (เอคูณบี) คือเซตของคู่อันดับ ที่สมาชิกตัวหน้ามาจากเซต A และสมาชิกตัว
หลังมาจากเซต B ครบทุกคู่ หรือเขียนแบบเงื่อนไขได้ว่า A × B = {(a, b) | a ∈ A และ b ∈ B }
เช่น A = {0, 1, 2} , B = {1, 3} จะได้ A × B = {(0, 1), (0, 3), (1, 1), (1, 3), (2, 1), (2, 3)}
A × A = {(0, 0), (0, 1), (0, 2), (1, 0), (1, 1), (1, 2), (2, 0), (2, 1), (2, 2)}
ข้อสังเกต
1. n (A × B) = n (A) ⋅ n (B)
2. n (A × ∅) = n (A) ⋅ n (∅) = 0 ดังนั้น A × ∅ = ∅
3. A × B = B × A ก็ต่อเมื่อ A = B หรือมีเซตใดเซตหนึ่งเป็น
Math E-Book Release 2.2.04
∅
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
120
5.1 ลักษณะของความสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ (Relation : r) คือเซตที่สมาชิกทุกตัวเป็นคู่อันดับ
หรือกล่าวว่า เซตที่นําไปเขียนกราฟ (2 มิติ บนแกน x,y) ได้ จัดว่าเป็นความสัมพันธ์
นิยาม “ความสัมพันธ์จาก A ไป B” (from A to B)
คือเซตของคู่อันดับที่สมาชิกตัวหน้าอยู่ในเซต A และสมาชิกตัวหลังอยู่ในเซต B แต่ไม่จําเป็นต้องครบ
ทุกคู่ ... ดังนั้น “ความสัมพันธ์จาก A ไป B” คือสับเซตของ A × B
และเป็นไปได้ทั้งหมด 2 n (A × B) แบบ
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “ความสัมพันธ์จาก A ไป B” คือ r = {(x, y) ∈ A × B | .....}
ตัวอย่างเช่น
A = {2, 3, 4}
และ
B = {1, 3, 5, 8}
จะได้ A × B = {(2, 1), (2, 3), (2, 5), (2, 8), (3, 1), (3, 3), (3, 5), ..., (4, 8)}
และมี r ⊂ A × B ทั้งสิ้น 2 3 × 4 = 4096 แบบ ... ทุกแบบสามารถเขียนเงื่อนไขได้ เช่น
r 1 = {(x, y) ∈ A × B | y < x } จะได้ r 1 = {(2, 1), (3, 1), (3, 3),(4, 1), (4, 3)}
r2 = {(x, y) ∈ A × B | y = x + 1 } จะได้ r2 = {(2, 3), (4, 5)}
r 3 = {(x, y) ∈ A × B | x หาร y ลงตัว } จะได้ r 3 = {(2, 8), (3, 3),(4, 8)}
r 4 = {(x, y) ∈ A × B | x3 < y } จะได้ r 4 = ∅
หมายเหตุ
1. เนื่องจากความสัมพันธ์จัดเป็นเซตชนิดหนึ่ง จึงเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ แจก
แจงสมาชิก และบอกเงื่อนไข
2. r = {(x, y) ∈ A × A | .....} เรียกว่า “ความสัมพันธ์ภายใน A” (in A)
3. ถ้าไม่ระบุว่าเป็นความสัมพันธ์จากเซตใดไปเซตใด จะหมายถึงเซตจํานวนจริง R × R
แบบฝึกหัด 5.1
(1) กําหนดให้เอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจํานวนจริง ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(1.1) ∀a∀b [ (a, b) ≠ (b, a) ]
(1.2) ∀a∀b [ (a, b) ≠ (c, d) → a ≠ c และ b ≠ d ]
(1.3) ∃a∃b [ (a + 2b, 1) = (−1, b + a/2) ]
(2) ถ้า
(3x + 5, 8 − 4y) = (−5, −6)
และ
(y, 2) = (−p, 2)
(3) กําหนดให้ (a, b) ∗ (c, d) = (a − c, b + d) ถ้า
แล้ว ให้หา (x, y)
แล้ว ให้หา
(xp, x/p)
(3, 4) ∗ (0, 0) = (x, y) ∗ (3, 4)
(4) กําหนด A, B, C เป็นเซตใดๆ แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(4.1) ถ้า A เป็นเซตอนันต์ และ B เป็นเซตจํากัดแล้ว A × B เป็นเซตอนันต์
(4.2) ถ้า A × B เป็นเซตอนันต์ แล้ว A เป็นเซตอนันต์ หรือ B เป็นเซตอนันต์
(4.3) ถ้า A × B = A × C แล้ว B = C
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
121
(4.4) ถ้า A × B = ∅ แล้ว A = B = ∅
(4.5) A × B = B × A ก็ต่อเมื่อ A = B
(4.6) (A ∩ B) × C ⊂ A × C ⊂ (A ∪ B) × C
(4.7) A × B ≠ A และ A × B ≠ B
(4.8) มีเซต A บางเซต ที่ทําให้ A ∩ (A × B) ≠
∅
(5) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(5.1) ถ้า A = {4, 5, 6, {4, 5, 6}} และ B = {4, 5, {4, 5}}
แล้ว n [P (A) × P (B)] = 128
(5.2) ถ้า A = {3, 4, 5, ..., 32} , B = {7, 8, 9, ..., 40} และ
n [(A × B) ∩ (A × C)] = 570
(5.3) ถ้า
แล้ว
A = {0, 1, 2, ..., 28}
และ
C = {0, 1, 2, ..., 25}
แล้ว
B = {−3, −2, −1, ..., 4}
n [(A × B) ∪ (B × A)] = 439
(6) กําหนดให้ A = {a1, a2 , a3 , ..., am} , B = {a1, a2 , a3 , ..., ak } โดยที่ m < k
ถ้า (A × B) ∩ (B × A) = (A ∩ B) × (B ∩ A) แล้ว n [(A × B) ∪ (B × A)] มีเท่าใด
(7) ถ้า n (U) = 10 , n (A ' ∩ B ') = 2 , n (A ' ∪ B ') =
จํานวนความสัมพันธ์ต่างๆ กันจาก A ไป B
(8) [Ent’39] ถ้า
n (A) = 10
9
และ
n (B) − n (A) = 1
แล้ว ให้หาจํานวนความสัมพันธ์ทั้งหมดจาก
A×A
แล้ว ให้หา
ไป A
(9) กําหนดให้ A = {1, 2, 3} และ B = {0, 4} แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่
(9.1) มีความสัมพันธ์จาก A ไป B ทั้งหมด 64 เซต
(9.2) มีความสัมพันธ์จาก A ไป B ที่โดเมนเท่ากับ A ทั้งหมด 27 เซต
(10) กําหนดให้ n (A) = 3 และ n (B) = 4 แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่
(10.1) จํานวนความสัมพันธ์จาก A ไป B เท่ากับจํานวนความสัมพันธ์จาก B ไป A
(10.2) จํานวนความสัมพันธ์จาก A ไป B ที่โดเมนเป็น A มีทั้งหมด 15 3 เซต
(10.3) จํานวนความสัมพันธ์จาก B ไป A ที่โดเมนเป็น B มีทั้งหมด 2401 เซต
(10.4) จํานวนความสัมพันธ์ภายใน A ที่โดเมนเป็น A มีทั้งหมด 343 เซต
(11) ให้เขียน r1 ∩ r2 แบบแจกแจงสมาชิก เมื่อ
(11.1) r1 = {(x, y) ∈ I × I | x + y = 1 } , r2 = {(x, y) ∈ I × I | x − y
(11.2) r1 = {(x, y) | x2 + y2 = 16 } , r2 = {(x, y) | y = 4 − x2}
= 3}
(12) ถ้า A = {1, 2, 3, ..., 20} , B = {0, 1, 2, ..., 25}
และ r = {(x, y) ∈ A × B | y > x } ให้หาจํานวนคู่อันดับภายใน r
5.2 โดเมน เรนจ์ และตัวผกผันของความสัมพันธ์
โดเมน (Domain; D) ของความสัมพันธ์ คือเซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับ
เรนจ์ หรือ พิสัย (Range; R) ของความสัมพันธ์ คือเซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ
นั่นคือ Dr = { x | (x, y) ∈ r } และ Rr = { y | (x, y) ∈ r }
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
Dr1 = {2, 3, 4} , Rr1 = {1, 3} , Dr2 = {2, 4} , Rr2 = {3, 5}
เช่นในตัวอย่างข้างต้น
และ
ความสัมพันธและฟงกชัน
122
Dr4 = Rr4 = ∅
ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B แล้ว
Dr ⊂ A
และ
Rr ⊂ B
การหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ภายใน R ซึ่งบอกมาเป็นเงื่อนไข (สมการ)
ให้พิจารณาที่เงื่อนไขว่าหากมีสิ่งเหล่านี้คือ การหาร, การถอดราก, ค่าสัมบูรณ์, การยกกําลัง
จะมีข้อจํากัดเกิดขึ้น กล่าวคือ
ถ้ามี a = b จะได้ว่า c ≠ 0
c
ถ้ามี a = n b ถ้า n เป็นจํานวนคู่ จะได้ว่า a > 0 และ b > 0
ถ้ามี a = b n ถ้า n เป็นจํานวนคู่ จะได้ว่า a > 0
ถ้ามี a = b จะได้ว่า a > 0
โดยการหาโดเมน ควรจะพิจารณาในรูปสมการ y = ...(x)... (เขียน y ในเทอมของ x)
และการหาเรนจ์ หากเป็นไปได้ควรจัดรูปให้กลายเป็น x = ...(y)... (เขียน x ในเทอมของ y) แล้ว
ค่อยพิจารณา
2
ตัวอยาง ใหหาโดเมนและเรนจของ r = {(x, y) | y = 4 − x }
วิธีคิด (1) การหาโดเมน พบวามีรากที่สอง ดังนัน้ 4 − x > 0 หรือ −2 < x < 2
(2) การหาเรนจ เนื่องจากมีรากที่สอง ดังนัน้ y > 0 เสมอ
จากนั้นจัดรูปเปน x = ± 4 − y ซึ่งจะไดวา 4 − y > 0 ก็คือ −2 < y < 2
นําเงื่อนไขมารวมกันไดเปน 0 < y < 2
ดังนั้น ตอบ D = [−2, 2] และ R = [0, 2]
•
2
2
r
2
r
y
•
หมายเหตุ หากไดศึกษาเรื่องกราฟวงกลมในบทเรียน
2
“เรขาคณิตวิเคราะห” จะทราบวาสมการ y = 4 − x
อยูในรูปแบบของวงกลม x + y = 4 ดังภาพ
x
2
(แตกลายเปนครึง่ วงกลม เนื่องจากมีเครื่องหมายรากที่สอง -2 O
ทําให y > 0 เทานัน้ ) ซึ่งถาเขียนกราฟจะมองเห็นโดเมนและเรนจไดชัดเจนกวาการคํานวณ
2
2
2
r −1
คือ ตัวผกผัน หรือ อินเวอร์ส (Inverse) ของ r
โดยที่ r −1 = {(y, x) | (x, y) ∈ r }
อธิบายได้ว่า r −1 สามารถหาได้จาก การสลับที่สมาชิกตัวหน้าและหลังของคู่อันดับใน r
หรือถ้าเป็นความสัมพันธ์แบบเงื่อนไข ก็หาได้จากการสลับที่ระหว่าง x และ y นั่นเอง
เช่น ถ้า r = {(2, 1),(3, 3),(4, 5),(0, −1)} จะได้ r −1 = {(1, 2),(3, 3),(5, 4),(−1, 0)}
แต่ถ้าเป็นแบบเงื่อนไข r = {(x, y) ∈ A × B | y = 2x − 3 } สามารถเขียน r −1 ได้หลายแบบ
เช่น r −1 = {(y, x) ∈ B × A | y = 2x − 3 } หรือ r −1 = {(x, y) ∈ B × A | x = 2y − 3 } หรือ
r −1 = {(x, y) ∈ B × A | y =
ข้อสังเกต
x+3
}
2
Dr−1 = Rr
และ
ซึ่งแบบสุดท้าย (เขียนในรูปของ y) นี้เป็นที่นิยมมากกว่า
Rr−1 = Dr
เสมอ
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
123
แบบฝึกหัด 5.2
(13) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
(13.1) r = {(x, y) | xy = 2 }
(13.2) r = {(x, y) | (x − 2)(y − 1) = 1 }
(13.3) r = {(x, y) | y = 1 }
x−1
(13.4)
r = {(x, y) | y =
(13.5)
r = {(x, y) | y =
2x − 3
}
x+1
x+1
, x > 1}
x−1
(14) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
[ Hint : บางสมการควรจัดรูปให้เป็นกําลังสองสมบูรณ์ ]
(14.1) r = {(x, y) | y = x2}
(14.2) r = {(x, y) | y = x }
(14.3) r = {(x, y) | y = x2 − 2x − 3 }
(14.4) r = {(x, y) | y = 3 + x + 1 }
(14.5) r = {(x, y) | x2 + y2 = 16 }
(14.6) r = {(x, y) | y = 16 − x2 }
(14.7) r = {(x, y) | y = 1 4 − 3x − x2 }
2
(14.8)
2
r = {(x, y) | x + y2 − 6x + 4y − 3 = 0 }
(15) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
(15.1) r = {(x, y) | y = 2 1 }
x −x
1
}
x − 4x + 3
(15.2)
r = {(x, y) | y =
(15.3)
r = {(x, y) | y =
(15.4)
(15.5)
(15.6)
r = {(x, y) | 2x2 + y2 − 2xy + x + 1 = 0 }
2
x+1
x
}
r = {(x, y) | x2y2 − y2 − x − 2 = 0 }
r = {(x, y) | xy2 − xy − 2y2 + 2y − 6x + 11 = 0 }
(16) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
3
}
(16.1) r = {(x, y) | y =
x+3 −4
(16.2)
(16.3)
r = {(x, y) | y =
x+2 − x
}
r = {(x, y) | y = x2 − 4 }
(17) ให้หาเรนจ์ ของอินเวอร์สของความสัมพันธ์ต่อไปนี้
(17.1) r = {(x, y) | y = 2 1 }
x −4
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(17.2)
r = {(x, y) | y =
(17.3)
r = {(x, y) | y =
(17.4)
r = {(x, y) | y =
1
2
x −4
3x − 1 + 2 2x2 − 3x − 2 }
r = {(x, y) | xy = 1 + y }
(19) ให้
r
เป็นความสัมพันธ์ภายใน
A = Dr ∩ Rr
แล้ว
R
Rr − Dr
ซึ่ง
เป็นเซตใด
⎧⎪ x − 2 , x < 11
r = {(x, y) | y = ⎨
}
⎪⎩ 15 − x , x > 11
แล้ว ผลบวกของค่าขอบเขตบนน้อยสุดกับค่าขอบเขตล่างมากสุดเป็นเท่าใด
(20) กําหนดให้ r =
Rr ∩ Dr' เป็นเท่าใด
(21) ถ้า
}
x
}
x −2
(18) ให้
ถ้า
ความสัมพันธและฟงกชัน
124
{(x, y) | y2 − 2xy2 − x + 1 = 0 }
r = {(x, y) | y =
1
}
x2 − 2x − 3
(22) ถ้าให้เอกภพสัมพัทธ์เป็น
ก. ∃x∀y [x + y = y]
Rr
โดยที่
จํานวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่เป็นสมาชิกของ
แล้ว ให้หาคอมพลีเมนต์ของ
r = {(x, y) | y2 = (9 − x2)−1}
ข.
Dr−1
แล้ว ข้อใดถูก
∀x∃y [x + y = 0]
5.3 กราฟของความสัมพันธ์
“กราฟของความสัมพันธ์ r” ก็คือเซตของจุดบนแกนมุมฉาก (x, y) ซึ่งแต่ละจุดแทนสมาชิก
ใน r (โดยให้สมาชิกตัวหน้าเป็นแกนนอน และสมาชิกตัวหลังเป็นแกนตั้ง)
เช่น ถ้า r1 = {(1, 2),(−1, 2),(2, 3),(−2, 0),(0, −2)}
r2 = {(x, y) ∈ I × I | y = x2 } = {(0, 0),(±1, 1),(±2, 4), ...}
และ r3 = {(x, y) ∈ R × R | y = x2} จะได้กราฟดังภาพ
y
y
y
4
3
r1
r2
r3
2
1
x
x
x
O
-2 -1 O 1 2
-2 -1 O 1 2
-2
การเขียนกราฟของความสัมพันธ์ จะช่วยให้เห็นโดเมนและเรนจ์ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
รูปแบบของกราฟที่ควรรู้จักมีดังนี้ ...
หมายเหตุ ควรศึกษาเทคนิคการเขียนกราฟ (การเลือ่ นแกน, การปรับขนาดกราฟ) ซึ่งอธิบายไว้ในบทเรียน
“เรขาคณิตวิเคราะห์” เพื่อช่วยในการหาโดเมนและเรนจ์ต่อไป
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
y = mx + c
1. กราฟเส้นตรง
m คือความชัน และ c คือระยะตัดแกน y
y
y
y
m>0
m<0
c
O
y = ax2
x
O
หรือ
x = ay2
m=0
c
c
x
2. กราฟพาราโบลา
y
ความสัมพันธและฟงกชัน
125
x
O
a คือค่าคงที่ใดๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์
y
y
x = ay2
a>0
2
y = ax
a>0
x
O
3. กราฟค่าสัมบูรณ์ (ที่คล้ายพาราโบลา)
y
y = a|x|
a>0
x
O
x
O
y = ax2
a<0
y = a x
หรือ
x
O
x = a y
y
y
x = a|y|
a>0
O
x
y = a|x|
a<0
x
O
4. กราฟวงกลม x2 + y2 = r2
r คือรัศมีของวงกลม (มากกว่าศูนย์)
k คือค่าคงที่ที่มากกว่าศูนย์
5. [Ent’22] กราฟค่าสัมบูรณ์ (ที่คล้ายวงกลม) x + y = k
y
y
S e¾ièÁeµiÁ! S
k
r
-r
r
O
x
-k
O
¡ÃÒ¿ã´æ ·ÕèÁÕ¤ÒÊaÁºÙó¹é¹a ¨aÁÕ
Åa¡É³a¤ÅÒÂÀÒ¤µa´¡ÃÇ e¾Õ§
æ¤eÃÒÁo§¤ÒÊaÁºÙóe»¹Â¡¡íÒÅa§
Êo§ e¾×èoãËä´eʹo¤§ æÅÇ»ÃaºãË
¡ÅÒÂe»¹eʹµÃ§e·Ò¹aé¹..
x
k
-k
-r
6. กราฟไฮเพอร์โบลามุมฉาก
c คือค่าคงที่ใดๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์
y
xy = c
y
c>0
O
Math E-Book Release 2.2.04
c<0
x
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
O
x
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
126
กราฟของความสัมพันธ์อาจเป็น “พื้นที่ (แรเงา)” ในระนาบ หากว่าความสัมพันธ์นั้นเป็น
“อสมการ” โดยมีหลักในการเขียนกราฟคือ คิดว่าเป็นเครื่องหมายเท่ากับแล้วเขียนกราฟของสมการ
ก่อน จากนั้นตรวจสอบว่าบริเวณใดของพื้นที่ตรงตามเงื่อนไขของอสมการ จึงแรเงา (เส้นกราฟทึบ
แสดงว่าจุดบนเส้นนั้นอยู่ใน r, เส้นประแสดงว่าจุดบนเส้นนั้นไม่อยู่ใน r)
y
y
y
y < x+2
2
y > 3x2
x
2
x
O
O
-2
O
x2 + y2 > 4
2
x
-2
กราฟของอินเวอร์ส ( r −1 ) มีความเกี่ยวข้องกับกราฟของ r คือ เกิดจากการหมุนกราฟโดยมี
เส้นตรง y = x เป็นแกนหมุน … เท่ากับเป็นการสลับแกน x กับ y กันนั่นเอง
y
y
เส้นตรง
y=x
r
r-1
x
x
(-3,-1) O
(-1,-3)
แบบฝึกหัด 5.3
(23) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้ โดยอาศัยการเขียนกราฟ
(23.1) r = {(x, y) | x + y = 4 }
(23.2) r = {(x, y) | x − 2 + y = 2 }
(23.3) r = {(x, y) | y = x2 + 2x − 2 }
(23.4) [Ent’24] r = {(x, y) | y = x2 + 2x − 2 , − 3 < x < 2 }
(24) ขนาดพื้นที่ของบริเวณในแต่ละข้อเป็นกี่ตารางหน่วย เมื่อกําหนดให้
r1 = {(x, y) | x + y < 1 }
r2 = {(x, y) | x − y < 1 }
r4 = {(x, y) | y > 0 }
(24.1)
(24.2)
และ
r5 = {(x, y) | x > 0 }
r1 ∩ r2 ∩ r5
(24.3)
(24.4)
r1 ∩ r4 ∩ r5
(25) ให้หาขนาดพื้นที่ (ตารางหน่วย) ของ
r1 = {(x, y) | x − y + 1 > 0 }
และ
r3 = {(x, y) | y − x < 1 }
r1 ∩ r2 ∩ r3
r1 ∩ r3 ∩ r4
r3 ∩ r4 ∩ r5
เมื่อ
r2 = {(x, y) | 2x + y − 4 < 0 }
r3 = {(x, y) | y + 1 > 0 }
(26) ให้หาขนาดพื้นที่ (ตารางหน่วย) ของ
(26.1) r1 = {(x, y) | 2 < x + y
r1 ∩ r2
}
และ
เมื่อ
r2 = {(x, y) | x + y < 4 }
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
127
(26.2) r1 = {(x, y) | x + 2 y < 4 } และ r2 = {(x, y) | 2 x + y > 2 }
(26.3) [Ent’21] r1 = {(x, y) | y2 < 4 − x2 } และ r2 = {(x, y) | y > x }
(26.4) r1 = {(x, y) | y < 16 − x2 } และ r2 = r1−1
(27) ให้หาขนาดพื้นที่ (ตารางหน่วย) ของ
r ∪ r −1
เมื่อ
r = {(x, y) | 2 x + y < 8 }
(28) ถ้า A = โดเมนของ r1 ∩ r2 และ B = เรนจ์ของ r1 ∩ r2
โดยที่ r1 = {(x, y) | x + y > 2 } และ r2 = {(x, y) | x + 2 y
แล้ว ผลบวกของจํานวนเต็มใน A ∩ B ' เป็นเท่าใด
(29) ถ้า r1 =
เป็นช่วงใด
{(x, y) | x − y = 5 }
(30) ถ้า A =
เป็นช่วงใด
{x | x2 − 2x < 3 }
และ
และ
< 4}
r2 = {(x, y) | x2 + y2 < 53 }
แล้ว โดเมนของ
r = {(x, y) ∈ A × R | x2 − y − 1 = 0 }
r1 ∩ r2
แล้ว เรนจ์ของ r
(31) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(31.1) ถ้า r = {(x, y) ∈ R × R | y = x2 } แล้ว r −1 = r
(31.2) ถ้า r = {(x, y) ∈ R+ × R | y = x2 } แล้ว r −1 = r
(31.3) ถ้า r = {(x, y) ∈ R × R | x2 + y2 = 25 } แล้ว r −1 = r
(31.4) ถ้า r = {(x, y) ∈ R+ × R | x2 + y2 = 25 } แล้ว r −1 = r
y
(32) ให้หาขนาดพื้นที่ของอาณาบริเวณ
ที่ถูกล้อมด้วยกราฟของ r และ r −1
(2,2)
(0,1)
เมื่อกําหนดกราฟของ r เป็นดังภาพ
x
O
(0,-1)
(-2,-2)
5.4 ลักษณะของฟังก์ชัน
จากที่ศึกษาผ่านมาแล้วว่า ความสัมพันธ์ คือเซตของคู่อันดับ (และที่พบบ่อยจะเขียนอยู่ใน
รูปสมการ) หากความสัมพันธ์ใดมีลักษณะดังต่อไปนี้ด้วย จะเรียกว่าเป็น ฟังก์ชัน (Function : f)
“สมาชิกตัวหน้าแต่ละตัว จะคู่กบั สมาชิกตัวหลังได้เพียงแบบเดียวเท่านั้น”
หรือกล่าวว่า สําหรับ x แต่ละตัว จะคู่กับ y ได้เพียงแบบเดียวเท่านั้น
เช่น r1 = {(0, 1),(1, 2),(1, 3),(2, 4)}
ไม่เป็นฟังก์ชัน เพราะ 1 คู่กับทัง้ 2 และ 3
r2 = {(0, 1),(1, 2),(3, 1),(2, 4)}
เป็นฟังก์ชัน เพราะไม่มีการใช้สมาชิกตัวหน้าซ้ําเลย
(ห้ามใช้สมาชิกตัวหน้าซ้ํา แต่ใช้สมาชิกตัวหลังซ้ําได้)
Math E-Book Release 2.2.04
S e¾ièÁeµiÁ! S
¿§¡ªa¹ e»ÃÕºeÊÁ×o¹e¤Ã×èo§¨a¡Ã·Õeè ÃÒãÊ x e¢Òä»
æÅa¼Ò¹¡ÃaºÇ¹¡Òäíҹdz¨¹¡Ãa·aè§ä´ y oo¡ÁÒ..
´a§¹aé¹ ¡Òèae»¹¿§¡ªa¹ä´ ¶ÒeÃÒãÊ x 溺e´iÁ
e¢Ò仡ç¤Çèaä´¤Ò y e·Òe´iÁoo¡ÁÒ¹aè¹eo§..
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
128
r1
0
1
2
r2
0
1
2
3
1
2
3
4
ไม่เป็นฟังก์ชัน
r3 = {(x, y) | y2 = x }
2
r4 = {(x, y) | y = x }
1
2
4
เป็นฟังก์ชัน
ไม่เป็นฟังก์ชัน สมมติ x = 4 จะได้ว่า y = 2 หรือ −2
เป็นฟังก์ชัน เพราะไม่ว่าจะแทน x ค่าใด ก็ได้ y เพียงค่าเดียว
เมื่อเขียนกราฟของความสัมพันธ์ จะเห็นได้ชัดเจนว่า x แต่ละตัว คู่กับ y เพียงตัวเดียว
หรือไม่ (ลากเส้นแนวตั้ง ดูว่าที่ x แต่ละค่า เส้นนี้ตัดกราฟไม่เกินหนึ่งจุดหรือไม่)
y
y
r3
r4
x
O
x
O
ไม่เป็นฟังก์ชัน
เป็นฟังก์ชัน
สิ่งที่ควรทราบ
1. ความสัมพันธ์ที่เขียนในรูป y = ...(x)... ได้แบบเดียว จะเป็นฟังก์ชันเสมอ
* 2. ถ้า f เป็นฟังก์ชัน จะเขียนแทน y ด้วยคําว่า f (x) (อ่านว่า เอฟเอกซ์) เช่น
ลักษณะของฟังก์ชัน
“ฟังก์ชันจาก A ไป B” (from A into B หรือ f : A
คือฟังก์ชันซึ่ง Df = A และ Rf ⊂ B
“ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B” (from A onto B หรือ
คือฟังก์ชันซึ่ง Df = A และ Rf = B
0
1
2
r5
A
เป็นฟังก์ชัน
a
b
0
1
2
3
B
A
r6
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
>B)
f : A
f (x) = x2
onto
¿§¡ªa¹¨Ò¡ A ä» B ¨aµo§ãª
o´eÁ¹ (¤×oe«µ A) ãˤú·u¡µaÇ
¹a¤Ãaº ¼i´¡aº¤ÇÒÁÊaÁ¾a¹¸¨Ò¡
A ä» B «Öè§äÁµo§ãª A ËÁ´¡çä´
>B)
a
b
c
d
0
1
2
3
B
A
เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B
r7
a
b
c
B
เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B
“ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B” (one-to-one หรือ f : A 1− 1 > B )
คือฟังก์ชันที่ Df = A และ Rf ⊂ B และ “สําหรับ y แต่ละตัว จะคู่กับ x เพียงตัวเดียวด้วย”
1− 1
>B)
“ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B” (one-to-one correspondence หรือ f : A onto
คือฟังก์ชันที่ Df = A และ Rf = B และ “สําหรับ y แต่ละตัว จะคู่กับ x เพียงตัวเดียวด้วย”
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
0
1
2
ความสัมพันธและฟงกชัน
129
r5
A
a
b
1
2
4
B
A
เป็นฟังก์ชัน 1-1
r8
a
b
c
d
0
1
2
3
B
A
r9
a
b
c
d
B
เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก A ไป B เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก A ไปทั่วถึง B
เมื่อเขียนกราฟของความสัมพันธ์ จะทําการตรวจสอบว่า y แต่ละตัว คู่กับ x เพียงตัวเดียว
หรือไม่ โดยลากเส้นแนวนอนและดูว่าที่ y แต่ละค่า เส้นนี้ตัดกราฟไม่เกินหนึ่งจุดหรือไม่
y
y
y
r3
x
O
r10
r4
x
O
ไม่เป็นฟังก์ชัน
เป็นฟังก์ชัน แต่ไม่เป็น 1-1
O
x
เป็นฟังก์ชัน 1-1
ฟังก์ชันแบบเฉพาะต่างๆ ที่ควรรู้จัก
ฟังก์ชันคงตัว (Constant Function) f (x) = a (กราฟเส้นตรงแนวนอน)
ฟังก์ชันเชิงเส้น (Linear Function) f (x) = ax + b (กราฟเส้นตรงเฉียงๆ)
ฟังก์ชันกําลังสอง (Quadratic Function) f (x) = ax2 + bx + c (กราฟพาราโบลาหงายหรือคว่ํา)
ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Function) f (x) = anxn + an − 1xn − 1 + an − 2xn − 2 + ... + a0
ฟังก์ชันตรรกยะ (Rational Function) f (x) = p (x) ..เมื่อ p (x), q(x) เป็นฟังก์ชันพหุนาม
q(x)
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value Function)
f (x) = ax + b + c
(กราฟรูปตัววีหงายหรือคว่ํา)
ฟังก์ชันเพิ่ม (Increasing Function) และ ฟังก์ชันลด (Decreasing Function)
มีนิยามดังนี้ ... สําหรับทุกๆ x1, x2 ∈ [a, b]
ฟังก์ชัน f จะเป็นฟังก์ชันเพิ่มในช่วง [a, b] ก็ต่อเมื่อ ถ้า x2 > x1 แล้ว f (x2) > f (x1)
และ ฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันลดในช่วง [a, b] ก็ต่อเมื่อ ถ้า x2 > x1 แล้ว f (x2) < f (x1)
เพิ่มเติม การเขียนกราฟของฟังก์ชนั พหุนาม และ
การหาช่วงที่เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือลด จะได้ศึกษา
อย่างละเอียดในเรื่องอนุพันธ์ (บทที่ 15)
ตัวอยางการแกฟงกชัน (1)
• ถา f (x) = 2x − 3 ใหหา f (3x − 1)
วิธีคิด จาก f (Δ) = 2 (Δ) − 3 จะได f (3x − 1) = 2 (3x − 1) − 3 = 6x − 5 ... ตอบ
• f (3x − 1) = 6x − 5
ใหหา
f (x)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
วิธีคิด ให
A = 3x − 1
ความสัมพันธและฟงกชัน
130
นั่นคือ
x =
A+1
3
จะไดวา f (3x − 1) = 6x − 5 กลายเปน
ดังนั้น f (x) = 2x − 3 ... ตอบ
f (A) = 6(
A+1
) − 5 = 2A − 3
3
• f (3x − 1) = 6x − 5
ใหหา f (2)
วิธีคิด ให 2 = 3x − 1 ไดเลย นั่นคือ x = 1
จะไดวา f (3x − 1) = 6x − 5 กลายเปน f (2) = 6 (1) − 5 =
• f (x) = 2x − 3
ใหหา
f (3x − 1)
ในรูปของ
f (3x − 1) = 6(
... ตอบ
f (x)
วิธีคิด หา f (3x − 1) = 2 (3x − 1) − 3 = 6x − 5 กอน
จากนั้นเปลี่ยน x เปน f (x) โดย f (x) = 2x − 3 →
จะไดวา
1
f (x) + 3
) − 5 = 3 f (x) + 4
2
x =
f (x) + 3
2
... ตอบ
แบบฝึกหัด 5.4
(33) f ที่กําหนดให้ในแต่ละข้อ เป็นฟังก์ชันจริงหรือไม่
และถ้าเป็นฟังก์ชันให้ระบุเพิ่มเติมด้วยว่า เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งหรือไม่
(33.1) f (x) = x2
(33.6) f (x) = 1/ x
2
(33.7) f (x) = x2 + x + 1
(33.2) [f (x)] = x
(33.8) f (x) = x3
(33.3) f (x) = x
(33.9) f (x) = 1/ x2
(33.4) f (x) = x
(33.10) f (x) = x 2/ 3
(33.5) f (x) = x
(34) ความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
(34.1) r = {(x, y) | x + y < 1 }
(34.2) r = {(x, y) | x + y = 1 }
(35) ความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหรือไม่
(35.1) r = {(x, y) | x + y = 1}
(35.2) r = {(x, y) | x + y = 1}
(35.3) r = {(x, y) | x + y = 1}
(35.4) r = {(x, y) | x + y = 1}
(36) ฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งหรือไม่
(36.1) f = {(x, y) | 2x + y − 3 = 0 }
(36.2) f = {(x, y) | (x − 4)(y + 3) = 1}
(36.3) f = {(x, y) | y − 3 = (x + 4)3}
(36.4) f = {(x, y) | x2 − y + 3 = 0 }
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
131
(37) ฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชัน f : R > R หรือไม่
(37.1) f = {(x, y) | y = 9 − x2 }
(37.2) f = {(x, y) | y = 9 + x2 }
(37.3) f = {(x, y) | y x = 1}
(37.4) f = {(x, y) | x + y − 5 = 0 }
(38) ฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชัน f : R onto > A เมื่อ A
(38.1) f = {(x, y) | y = x4}
(38.2) f = {(x, y) | y = x2 − 2x + 3 }
(38.3) f = {(x, y) | y = x2 − 4 }
(38.4) f = {(x, y) | y = x3 + 3x2 + 3x + 1 }
(39) ฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันเพิ่มใน
(39.1) f (x) = 5x − 2
(39.2) f (x) = −2x + 5
(39.3) f (x) = x2 + 3
R
= [0, ∞)
หรือไม่
หรือไม่
(39.4)
(39.5)
(39.6)
f (x) = x2 + 2x + 1
f (x) = (x − 2)3 + 2
f (x) = x3 + 3x2 + 3x + 1
(40) ให้หาโดเมน และเรนจ์ ของฟังก์ชันต่อไปนี้
(40.1) f (x) = x2 − 2x + 4
(40.2)
f (x) =
x2 − 25
x −5
(40.3)
f (x) =
1 + x2
x
(41) กําหนด f (x) =
เมื่อ t อยู่ในช่วงใด
x2
เมื่อ
−2 < x < 8
ถามว่า
f (t + 3)
(42) ให้หาค่าของ
(42.1) f (x) เมื่อ f (x + 1) = x2 + 3x + 9
(42.2) f (2) เมื่อ f ( x2 − 1) = x2 + 2
(42.3) f (4x) ในเทอมของ f (x) เมื่อ f (x) =
เท่ากับเท่าใด และจะมีความหมาย
x
x+2
5.5 ฟังก์ชนั ประกอบ และฟังก์ชันผกผัน
ฟังก์ชันประกอบ (Composite Function)
ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันดังแผนภาพ
จะได้ว่า f (0) = 3 และ g(3) = 7
อาจกล่าวว่า g(f (0)) = 7 ก็ได้
นอกจากนั้น g(f (1)) = 8
และ g(f (2)) = 7
Math E-Book Release 2.2.04
0
1
2
f
A
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
3
4
5
6
B
g
7
8
9
C
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
132
ฟังก์ชัน g(f (x)) เป็นฟังก์ชันจาก A ไป C
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ g(f (x)) = (g D f)(x) เรียกว่าฟังก์ชันประกอบของ f และ g
และอ่านว่า จีโอเอฟเอกซ์
ฟังก์ชัน (g D f)(x) จะหาได้ก็เมื่อ มีสมาชิกบางส่วนของ
หรือกล่าวว่า (g D f)(x) จะหาได้ ก็เมื่อ Rf ∩ Dg ≠ ∅
f
B
กับ
Dg
ร่วมกัน
f
g
A
Rf
g
B
A
C
หา gof ได้
C
หา gof ไม่ได้
* โดยทั่วไป ถ้า Rf ⊂ Dg จะได้ว่า Dgof = Df (คือโดเมนของ f ทุกตัวใช้ได้หมด)
แต่ถ้า Rf ⊄ Dg (กรณีนี้พบบ่อยเป็นปกติ) จะได้ว่า Dgof ⊂ Df เท่านั้น (คือโดเมนของ f บางตัวใช้
ไม่ได้ เพราะเรนจ์ของตัวนั้นไม่ได้อยู่ในโดเมน g) ... การหาโดเมนของ g D f จึงต้องระวัง
2
ตัวอยางเชน f (x) = x − 1 และ g(x) = x ตองการหา D
... จะไดวา (g D f)(x) = g (f (x)) = g( x − 1) = x − 1
ซึ่งดูจากลักษณะแลว คา x นาจะเปนจํานวนจริงใดๆ ( D = R )
แตที่จริงแลว f (x) = x − 1 นัน้ x > 1 จากนั้นนํา f (x) ไปใชกับ
ดังนั้นจึงสรุปวา D = [1, ∞)
•
gof
gof
g
พบวาใชไดทั้งหมด
gof
ตัวอยางการแกฟงกชัน (2)
• ถา f (x) = 2x − 3 และ g(x) = 3x + 4 ใหหา (g D f)(x)
วิธีคิด จาก (g D f)(x) = g (f (x)) = g (2x − 3) = 3 (2x − 3) + 4 = 6x − 5 ... ตอบ
• (g D f)(x) = 6x − 5
และ
• (g D f)(x) = 6x − 5
และ
g(x) = 3x + 4
ใหหา f (x)
วิธีคิด จาก (g D f)(x) = g (f (x)) = 3 (f (x)) + 4 แตโจทยกําหนด (g D f)(x) = 6x − 5
ดังนั้น 3 (f (x)) + 4 = 6x − 5 ยายขางสมการได f (x) = 2x − 3 ... ตอบ
ใหหา f (2)
วิธีคิด จาก (g D f)(2) = g (f (2)) = 3 (f (2)) + 4 แต (g D f)(2) = 6 (2) − 5 =
ดังนั้น 3 (f (2)) + 4 = 7 ยายขางสมการได f (2) = 1 ... ตอบ
• (g D f)(x) = 6x − 5
g(x) = 3x + 4
7
ใหหา g (x)
วิธีคิด จาก (g D f)(x) = g (f (x)) = g(2x − 3) แตโจทยกําหนด (g D f)(x) = 6x − 5
ดังนั้น g(2x − 3) = 6x − 5 ใชเทคนิคการแกฟงกชันตามเดิมได g(x) = 3x + 4 ... ตอบ
และ
f (x) = 2x − 3
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
133
• (g D f)(x) = 6x − 5
และ f (x) = 2x − 3 ใหหา g(1)
วิธีคิด ตองการ g(1) จึงให f (x) = 1 จะได 2x − 3 = 1 → x = 2
แทนคา x ดวย 2 จะได (g D f)(2) = g(1) = 6 (2) − 5 = 7 ... ตอบ
ฟังก์ชันผกผัน (Inverse Function)
เราทราบแล้วว่าความสัมพันธ์ r ใดๆ สามารถหาอินเวอร์ส ( r − 1 ) ได้เสมอ เช่นเดียวกัน
ฟังก์ชัน f ใดๆ ก็จะหาอินเวอร์ส f − 1 ได้เสมอ แต่ f − 1 อาจไม่เป็นฟังก์ชัน
ถ้า f − 1 เป็นฟังก์ชันจะเรียกว่า ฟังก์ชันอินเวอร์ส หรือ ฟังก์ชันผกผัน และเขียนเป็น f − 1(x) ได้
จากหลักการเขียนกราฟของอินเวอร์ส ทําให้พบว่า
f
จะเป็นฟังก์ชัน ก็เมื่อ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง เท่านั้น
และ f − 1(,) = Δ มีความหมายเดียวกับ f (Δ) = ,
−1
สมบัติของอินเวอร์ส ได้แก่
(f D g)−1 = g−1 D f −1
และ
(f −1)−1 = f
ตัวอยางการแกฟงกชัน (3)
• ถา f (x) = 2x − 3 ใหหา f (x)
วิธีคิด จาก f (x) = 2x − 3 → f (2x − 3) = x
จากนั้นใชเทคนิคการแกฟงกชันตามเดิมได f (x) = 0.5 x + 1.5 ... ตอบ
(หมายเหตุ อาจใชวิธีหาอินเวอรส เหมือนในบทเรียนความสัมพันธ คือสลับตัวแปร
−1
−1
−1
x
กับ y )
−1
ถา f (x) = 2x − 3 ใหหา f (5)
วิธีคิด จาก f (x) = 2x − 3 → f (2x − 3) = x
แลวให 2x − 3 = 5 นั่นคือ x = 4 ดังนัน้ แทนคา
•
−1
x
ดวย
4
จะได
f − 1(5) = 4
... ตอบ
−1
ถา f (x − 1) = 4x − 3 ใหหา f (x)
วิธีคิด จาก f (x − 1) = 4x − 3 → f (4x − 3) = x − 1
จากนั้นใชเทคนิคการแกฟงกชันตามเดิมได f (x) = 0.25 x − 0.25 ... ตอบ
•
−1
−1
−1
ถา f (x − 1) = 4x − 3 ใหหา f (5)
วิธีคิด จาก f (x − 1) = 4x − 3 → f (4x − 3) = x − 1
แลวให 4x − 3 = 5 นั่นคือ x = 2 ดังนัน้ แทนคา x ดวย
•
−1
•
[Ent’35] ถา
f − 1(x) =
x
x −2
และ (f D g)(x + 2) =
2
3x + 6
จะได
ใหหา
วิธีคิด ตองการ g(2) จึงให x + 2 = 2 นัน่ คือ x = 0
แทนคาใน (f D g)(x + 2) = 3x + 6 จะไดวา (f D g)(2) = 6 หรือ
จากนั้นใชสมบัตขิ องอินเวอรส กลายเปน f (6) = g(2)
ซึ่ง f (6) = 6 6− 2 = 1.5 ดังนั้น g(2) = 1.5 ... ตอบ
f − 1(5) = 1
g (2)
f (g (2)) = 6
−1
−1
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
... ตอบ
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
134
พีชคณิตของฟังก์ชัน (Algebra of Function)
(f ∗ g)(x) = f (x) ∗ g (x)
ซึ่ง Df ∗ g = Df ∩ Dg
เครื่องหมาย ∗ เป็นได้ทั้ง +, −, ×, ÷ (โดยกรณีหาร g(x) ≠ 0 )
แบบฝึกหัด 5.5
(43) ให้หา g D f และ f D g ของฟังก์ชันที่กําหนดให้ในแต่ละข้อ
(43.1) f (x) = 2x และ g(x) = x + 3
(43.2) f (x) = x + 1 และ g(x) = x
(43.3) f (x) = 4x + 1 และ g(x) = x2
* (43.4)
(44) [Ent’33] ถ้า
ให้หา (g D f)(1)
⎧⎪ 4 − x , x < 0
f (x) = ⎨
⎪⎩ 6 − x , x > 4
(g D f)(x) = 3 [f (x)] 2 − 2 f (x) + 1
x+1
x
(45) ถ้า
f (x) =
เมื่อ
(46) ถ้า
g(x) = x2 + x + 2
(47) ถ้า
f (x) = Ax + B
x ≠ 0
และ
โดยที่
และ
g(x) = x2 + 1
และ
และ
(f D g)(x) = x
(g D f)(x) = x2 − x + 2
A > 0
และ
เมื่อ
x >2
g(x) = x2 − x + 2
ให้หา
g(x)
แล้วให้หา
(f D f)(x) = 4x − 9
f (x)
ให้หาค่า B
(48) อินเวอร์สของฟังก์ชันต่อไปนี้ เป็นฟังก์ชันหรือไม่
(48.1) f = {(x, y) | y = x x }
(48.2) f = {(x, y) | y = (x + 1)2}
(48.3) f = {(x, y) | y = 9 − x2 }
(48.4) f = {(x, y) | y = 1 / x }
(49) ให้หาฟังก์ชันผกผัน
(49.1) f (x) =
f −1(x)
5−x
(49.5)
5x + 4
(49.6)
(49.2)
f (x) =
(49.3)
f (x) =
x−1
3
(49.4)
f (x) =
1
x−1
(50) ให้หา
f −1(x)
เมื่อกําหนดให้
เมื่อกําหนดให้
(49.7)
x −2
x−3
x
f (x) =
2x − 1
f (x) =
f (x) =
2x − 3
3x − 2
⎧⎪2x + 2 , x > 0
f (x) = ⎨ 2
⎪⎩−x − 1 , x < 0
(51) ให้หา f −1(x) เมื่อกําหนดให้
(51.1) f (3x − 4) = 4x + 3
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
135
x
x
f ( + 1) =
−1
2
2
5x − 7
f (x + 1) =
x−3
(51.2) [Ent’21]
(51.3)
f − 1[ 3 f (2x + 1) − 3x + 2 ] = 2x + 1
(51.4)
(52) ถ้า
f (x − 1) = x3 − 3x2 + 3x + 5
แล้วค่าของ
(53) กําหนดให้ f (x + 3) = 4x − 5 และ
(53.1) (f D g−1)(5)
(53.2) (g D f −1)(−1)
f (x + 1) = 2x + 3
(54) กําหนดให้
(57) ถ้า
f (x) =
1− x
(61) ถ้า
(g D f)(x) = x2 − 25
(61.1)
(62) ถ้า
และ
(59.2)
(f − g)(x) = 3 − 4x
(f D g) (−2)
x
x −2
และ
ให้หา
Df / g
แล้ว ให้หา
(
fDg
)(x)
h
(f D g)(x) = x + 2
แล้ว ให้หา
[(g D f −1) ⋅ h](2)
แล้ว ให้หา
(60.2) [(g−1 + f −1) D f](1)
แล้ว ให้หา
(f + g)(2)
(61.2)
และ
f
( )(x)
g
⎧x + 1 , x > 0
h (x) = ⎨
⎩x − 1 , x < 0
−1
f −1(x + 1) = 2x + 3
(62.1)
และ
แล้ว ให้หา
(f −1 + g + h−1)(−2)
f −1(x) =
(g−1 D f −1)(0)
f
f (x) = 4x , g(x) = x2 + 1
(f + g)(x) = 2x + 1
ให้หาค่าของ
แล้ว ให้หา
(57.2) (g)(x)
(59) ถ้า
(60.1)
h (x) = 1 − x2
(g + f −1)(x)
และ
(g−1 D f −1)(3)
(f + g)(x) = x2 + x − 3
f (x) = x + 5
(60) ถ้า
และ
(56.2)
และ
(f −1 D g−1)(−4)
⎧⎪ x2 , x > 3
g(x) = ⎨
⎪⎩−x , x < 3
[(g D f) + h](x)
(58) ถ้า
(59.1)
และ
(55.2)
x + 1 , g(x) =
f (2x − 3) = 3x − 2
(57.1)
(54.2)
(f − g)(x)
(55.1)
(56.1)
(53.3)
(53.4)
ให้หาค่าของ
⎧2x + 1 , x > 0
g(x) = ⎨
⎩3x + 1 , x < 0
และ
⎧−2x , x > 0
f (x) = ⎨
⎩ 3 , x < 0
(55) กําหนดให้
เป็นเท่าใด
g(x − 3) = 2 − 3x
(f −1 D g−1)(0)
(54.1)
(56) ถ้า
f −1(5)
[(g D f) ⋅ f −1](4)
(f D g)(x − 1) = 5x + 1
f
( + f −1)(3)
g
Math E-Book Release 2.2.04
แล้ว ให้หา
(62.2) [(fg) D f −1](1)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
136
เฉลยแบบฝึกหัด (คําตอบ)
(1) ผิดทุกข้อ
(2) (35/3, 20/21) (3) (6, 0)
(4) ข้อ (4.2) และ (4.6) ถูก
(5) ถูกทุกข้อ (6) 2mk − m2
(7) 220 (8) 2 1,000
(9) ถูกทุกข้อ (10) ถูกทุกข้อ
(11.1) {(2, −1)}
(11.2) {(0, 4), ( 7, −3), (− 7, −3)}
(12) 310
(13.1) Dr = R − {0} ,
Rr = R − {0}
(23.4) [−3, 2) , [−3, 6)
(24.1) 1 (24.2) 0.5
(24.3) 1 (24.4) หาค่าไม่ได้
(25) 6.75 (26.1) 24
(26.2) 12 (26.3) π
(26.4) 4π (27) 85.33
(28) 0 (29) [−7, −5] ∪ [5, 7]
(30) [−1, 8] (32) 4
(31) ข้อ (31.2) และ (31.3) ถูก
(33) ข้อ (33.2) และ (33.5)
ไม่เป็นฟังก์ชัน ข้อ (33.3), (33.6),
(33.8) เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
(34.1) ไม่เป็น (34.2) เป็น
(35) ข้อ (35.4) เท่านั้นที่เป็น
(36) ข้อ (36.4) เท่านั้นที่ไม่เป็น
(37) ข้อ (37.2) เท่านัน้ ที่เป็น
(38) ข้อ (38.2) เท่านั้นไม่เป็น
(39) ข้อ (39.1), (39.5),
(39.6) เป็น (40.1) R , [3, ∞)
(40.2) R − {5} , R − {10}
(40.3) R − {0} , R − (−2, 2)
(41) (t + 3)2 เมื่อ −5 < t < 5
(42.1) x2 + x + 7 (42.2) 7
x2 − 4
5
3x + 1
(49.2)
(49.3)
(49.4)
(49.5)
x > 0
1 + 1 / x เมื่อ x ≠ 0
3x − 2
เมื่อ x ≠ 1
x−1
x
2x − 1
(49.6)
2x − 3
3x − 2
(49.7)
(50) f
เมื่อ
−1
เมื่อ
x ≠
1
2
เมื่อ
x ≠
2
3
⎧⎪ 0.5x + 1 , x > 2
(x) = ⎨
⎪− − x − 1 , x < − 1
⎩
(13.2) R − {2} , R − {1}
3x − 25
(51.2) x + 2
(51.1)
(13.3) R − {1} , R − {0}
4
(13.4) R − {−1} , R − {2}
(51.3) 4x − 12 เมื่อ x ≠ 5
(13.5) (1, ∞) , (1, ∞)
x −5
(14.1) R , [0, ∞)
(51.4) 4x + 7 (52) –1
3
(14.2) [0, ∞) , [0, ∞)
(53.1)
–33
(53.2) –19
(14.3) R , [−4, ∞)
(53.3) 4 (53.4) –4
(14.4) [−1, ∞) , [3, ∞)
(54.1)
–2/3 (54.2) –1/2
(14.5) [−4, 4] , [−4, 4]
(55.1) 3 + x, x < 0 และ
(14.6) [−4, 4] , [0, 4]
−x, 0 < x < 3 และ
(14.7) [−4, 1] , [0, 1.25]
−2x − x2 , x > 3
4 f (x)
(14.8) [−1, 7] , [−6, 2]
(42.3)
(55.2) R − {0}
3 f (x) + 1
(15.1) R − {0, 1} , R − (−4, 0]
(56.1) 1 − x + 1 + 1 − x2
(15.2) R − {1, 3} , R − (−1, 0] (43.1) (g D f)(x) = 2x + 3 ,
(f D g)(x) = 2x + 6
(15.3) [−1, ∞) − {0} , R
เมื่อ −1 < x < 0
(43.2) (g D f)(x) = x + 1
(15.4) ∅ , ∅
1+ 1− x
(56.2)
(15.5) [−2, −1) ∪ (1, ∞) , R
เมื่อ x > −1 ,
1− x
(15.6) R − (46/25, 2] , R − {3, −2} (f D g)(x) = x + 1 เมื่อ x > 0 เมื่อ x ∈ (−∞, 1) − {−1}
(16.1) R − {−7, 1} , R − (−3/ 4, 0] (43.3) (g D f)(x) = (4x + 1)2 ,
(57.1) x2 + x − 43
2
(16.2) R , [0, 2]
6
(f D g)(x) = 4x + 1
2
(16.3) R , [0, ∞)
5 − x , x < 0 (57.2) 2x − x − 11
(43.4) (g D f)(x) = ⎧⎪⎨
3x + 5
(17.1) R − {−2, 2}
⎪⎩(6 − x) + 1 , x > 8
เมื่อ x ≠ −5/3
(17.2) R − [−2, 2]
และ (f D g)(x) = 5 − x2
x+5
(17.3) R − {2} (17.4) [2, ∞)
เมื่อ x > 2 (44) 11/4 หรือ 2 (58) x (x − 10) เมื่อ x ≠ 0, 10
(18) {1} (19) 5 (20) 2
(59.1) 7/2 (59.2) 15/4
(45) 1 เมื่อ x ≠ 1
(21) (−1/4, 0] (22) ข.
x−1
(60.1) 5/3 (60.2) 5/3
(23.1) [−4, 4] , [−4, 4]
(46) x − 1 หรือ −x (47) –3 (61.1) 6 (61.2) 7/2
(23.2) [0, 4] , [−2, 2]
(48) ข้อ (48.1) เท่านัน้ ที่เป็น
(62.1) 7 1 (62.2) 43
(23.3) R , [−3, ∞)
43
(49.1) 5 − x2 เมื่อ x > 0
2
2
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
137
เฉลยแบบฝึกหัด (วิธีคดิ )
(1.1) ผิด เพราะมีบาง a, บาง b
ซึ่ง (a, b) = (b, a) เช่น a = 2, b = 2
(1.2) ผิด เพราะ (a, b) ≠ (c, d) ไม่ได้แปลว่า
a ≠ c และ b ≠ d พร้อมๆ กันเสมอไป
ต้องใช้ว่า a ≠ c หรือ b ≠ d จึงจะถูก
(1.3) ข้อนีจ้ ะถูกก็เมื่อ a + 2b = −1 และ
a
1= b+
→ 2 = 2b + a ซึ่งเป็นไปไม่ได้
2
เพราะสมการทั้งสองขัดแย้งกัน (ไม่มีคําตอบ)
ดังนัน้ ข้อนีจ้ ึงผิด
(2) 3x + 5 = −5 → x = −10 / 3
และ 8 − 4y = −6 → y = 7 / 2
y = −p → p = −7 / 2
ดังนัน้ (xp, x) = (35 , 20)
p
3 21
n[(A × B) ∪ (B × A)] =
n(A × B) + n(B × A) −n[(A × B) ∩ (B × A)]
พบว่า A ∩ B = {0, 1, 2, 3, 4}
ดังนัน้ (A × B) ∩ (B × A) จะมีอยู่ 5 × 5 คู่อนั ดับ
ทําให้ได้ (29 × 8) + (8 × 29) − (5 × 5) = 439 ถูก
(6) จาก n[(A × B) ∪ (B × A)]
= n(A × B) + n(B × A) − n[(A × B) ∩ (B × A)]
(ตัวที่ขดี เส้นใต้ โจทย์ให้เป็น (A ∩ B) × (B ∩ A) )
จะได้ = mk + km − mm = 2mk − m2
(7) n(A '∩ B ') = 2 แสดงว่า n(A ∪ B) = 8
(วาดรูปประกอบจะเห็นชัด)
n(A '∪ B ') = 9 แสดงว่า
x 1
y
n(A ∩ B) = 1
(3) (3, 4) ∗ (0, 0) = (3 − 0, 4 + 0) = (3, 4)
และ (x, y) ∗ (3, 4) = (x − 3, y + 4)
ดังนัน้ 3 = x − 3 → x = 6 และ
4 = y + 4 → y = 0 ตอบ (6, 0)
(4.1) ผิด มีกรณีที่ A × B กลายเป็นเซตจํากัด
คือเมือ่ B = ∅ จะทําให้ A × B = ∅
(4.2) ถูก เพราะถ้า n(A × B) หาค่าไม่ได้
แสดงว่า n(A) หรือ n(B) ต้องหาค่าไม่ได้
(4.3) ผิด ไม่จาํ เป็นว่า B = C หากว่า A = ∅
(4.4) ผิด A = ∅ หรือ B = ∅
อย่างใดอย่างหนึง่ ก็ได้ ไม่ต้องเป็น ∅ ทั้งคู่
(4.5) ผิด ถ้า A = ∅
ก็ทําให้ A × B = B × A ได้
(4.6) ถูก เพราะ A ∩ B ⊂ A ⊂ A ∪ B
(4.7) ผิด เช่น A = ∅ จะทําให้ A × B = A ได้
(หรือ B = ∅ จะทําให้ A × B = B )
(4.8) ผิด เพราะสมาชิกของ A กับสมาชิก
ของ A × B ย่อมไม่มีตวั ใดซ้าํ กันอยู่แล้ว
( A × B มีสมาชิกเป็นคูอ่ ันดับ)
ดังนัน้ A ∩ (A × B) = ∅ เสมอ
(5.1) n(P(A)) = 24 , n(P(B)) = 23
→ n(P(A) × P(B)) = 24 ⋅ 23 = 128 ถูก
(5.2) เนื่องจาก (A × B) ∩ (A × C) = A × (B ∩ C)
n(A) = 30 n(B ∩ C) = 19 →
n[(A × B) ∩ (A × C)] = 30 × 19 = 570
(5.3) จากสูตรเรื่องเซต
ถูก
2
และจาก n(B) − n(A) = 1
A
B
จะได้วา่ (y + 1) − (x + 1) = 1 และ x + 1 + y = 8
แก้ระบบสมการได้ x = 3 , y = 4 ดังนั้น
n(A) = 4 , n(B) = 5 และความสัมพันธ์จาก A ไป
B มีทั้งสิ้น 24 × 5 = 220 แบบ
(8) 2n(A × A)⋅ n(A) = 2100 × 10 = 21,000 แบบ
(9.1) 23 × 2 = 26 = 64 ถูก
(9.2) โดเมนเป็น {1, 2, 3} ครบทุกจํานวน ดังนัน้
ต้องคิดแบบการนับ
ส่วนของโดเมนเป็น 1 จะมีได้ 3 แบบ คือ
(1, 0) / (1, 4) / (1, 0),(1, 4)
คิดจาก 22 − 1 (สับเซตของ B ทุกแบบ ที่ไม่ใช่ ∅ )
โดเมนเป็น 2 ก็มี 3 แบบ, เป็น 3 ก็มี 3 แบบ
ดังนัน้ ประกอบกันทั้งสามส่วน ได้ 3 × 3 × 3 = 27 ถูก
(10.1) ถูก คือ 212 แบบ
(10.2) โดเมนเป็นตัวแรก มี 15 แบบ → คิดจาก
24 − 1 (สับเซตของ B ทุกแบบที่ไม่ใช่ ∅ )
ตัวสองและสาม ก็ 15 แบบ
ดังนัน้ ได้ 15 × 15 × 15 ถูก
(10.3) คิดเช่นเดียวกับข้อ (10.2) คือ แต่ละตัวของ
โดเมน B จะมีได้ 23 − 1 = 7 แบบ
รวมกันทั้ง 4 ตัว เป็น 7 × 7 × 7 × 7 = 2,401 ถูก
(10.4) คิดเช่นเดิม
23 − 1 = 7 → 7 × 7 × 7 = 343 ถูก
(11.1) r1 ∩ r2 ได้จากการแก้ระบบสมการ
คือ (x, y) = (2, −1) เท่านั้น (เป็นจํานวนเต็มพอดี)
จึงตอบ r1 ∩ r2 = { (2, −1) }
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
138
(11.2) แก้ระบบสมการ
ได้ y2 − y − 12 = 0 → y = 4 หรือ −3
ถ้า y = 4 → x = 0 ,
ถ้า y = −3 → x = ± 7
ดังนัน้ r1 ∩ r2 = {(0, 4), ( 7, −3), (− 7, −3)}
(12) ถ้า x = 1 ได้ y = 1, 2, 3, ..., 25 → 25 แบบ
ถ้า x = 2 ได้ y = 2, 3, ..., 25 → 24 แบบ ...
จนถึง x = 20 ได้ y = 20, 21, ..., 25 (6 แบบ)
รวมจํานวนคูอ่ ันดับ = 25 + 24 + 23 + ... + 6
(14.1) y = x2 → Dr = R , Rr = [0, ∞)
หมายเหตุ เป็นกราฟพราโบลาหงาย
(14.2) y = x → Dr = [0, ∞) , Rr = [0, ∞)
หมายเหตุ เป็นกราฟพาราโบลาหงายเหมือนข้อที่แล้ว
แต่มีเพียงซีกขวาเท่านั้น เพราะ x ห้ามติดลบ
= 310
x =
2
→ x ≠ 0 → Dr = R − {0}
y =
x
2
→ y ≠ 0 → Rr = R − {0}
y
หมายเหตุ เป็นกราฟ
ไฮเพอร์โบลามุมฉาก
ดังนี้
(13.2) ก. y − 1 =
1
x−2
→ x − 2 ≠ 0 → x ≠ 2 → Dr = R − {2}
ข.
14.1
(ควรใช้สูตรอนุกรมบทที่ 13 ในการบวกเลข) (14.3)
(13.1) ก.
ข.
ความสัมพันธและฟงกชัน
14.2
y = x2 − 2x − 3 → y + 3 +1 = x2 − 2x +1
→ y + 4 = (x − 1)2
ดังนัน้ Dr = R , Rr = [−4, ∞)
หมายเหตุ เป็นกราฟพาราโบลาหงาย จุดยอด (1,-4)
(ไม่ว่าจะวาดกราฟหรือไม่ ก็ตอ้ งจัดกําลังสองสมบูรณ์
ให้เหลือ x กับ y เพียงอย่างละตัวเดียวเสมอ)
(14.4) y − 3 = x + 1
(เป็นพาราโบลา (y − 3)2 = x + 1 แต่มีเพียงซีกบน)
x + 1 > 0 → Dr = [−1, ∞)
1
x −2 =
→ y ≠ 1 → Rr = R − {1}
y − 1
y − 3 > 0 → Rr = [3, ∞)
(14.5) ถ้าคิดด้วยกราฟ จะได้รปู วงกลม
D = [−4, 4], R = [−4, 4]
r
หมายเหตุ เป็นกราฟไฮเพอร์โบลามุมฉาก เหมือนใน r
หรื
อ
คิ
ด
โดยจั
ด
รู
ป
สมการก็ได้ คือ
ข้อที่แล้ว แต่เลือ่ นจุด (0,0) ไปอยู่ที่ (2,1)
ก. y = ± 16 − x2 → 16 − x2 > 0
(13.3) ก. y = 1 → x ≠ 1 → Dr = R − {1}
→ (x − 4)(x + 4) < 0 → −4 < x < 4
ข.
x−1
1
→ y ≠ 0 → Rr = R − {0}
x −1=
y
หมายเหตุ เป็นกราฟไฮเพอร์โบลามุมฉาก
(13.4) ก. y = 2x − 3 → x + 1 ≠ 0 → x
x+1
≠ −1
→ Dr = R − {−1}
xy + y = 2x − 3 → xy − 2x = −y − 3 →
−y − 3
x =
→ y − 2 ≠ 0 → Rr = R − {2}
y−2
ข.
(13.5) ก.
y =
x+1
x −1
→
(x + 1.5)2
y2
+
= 1
6.25
1.5625
จากภาพจะได้
→ x ≠ 1
โจทย์เพิ่มว่า x > 1 ดังนั้น Dr = (1, ∞)
ข. xy − y = x + 1 → xy − x = y + 1 →
y+1
... แต่เนือ่ งจาก x > 1 จะได้ y + 1 > 1
x =
y−1
ข. x = ± 16 − y2 → ... → −4 < y < 4
(14.6) y = 16 − x2 เป็นครึง่ วงกลม เพราะ
้ Dr = [−4, 4], Rr = [0, 4]
y > 0 เสมอ ดังนัน
(14.7) 2y = 4 − 3x − x2 → ลองยกกําลังสอง
ได้ 4y2 = 4 − 3x − x2 เป็นสมการวงรี
จัดรูปดังนี้ (x2 + 3x + 2.25) + 4y2 = 6.25
y−1
y+1
y + 1− y + 1
→
−1> 0 →
> 0
y−1
y−1
2
→
> 0 → y > 1 ดังนั้น Rr = (1, ∞)
y−1
Dr = [−4, 1]
และ
Rr = [0, 1.25]
2.5
1.25
(1.5,0)
วงรีดา้ นล่างหายไปเพราะ
ในโจทย์มีรทู้ ทําให้ y > 0 เสมอ
(14.8) (x2 − 6x + 9) + (y2 + 4y + 4) = 3 + 9 + 4
→ (x − 3)2 + (y + 2)2 = 42
เป็นวงกลมที่มีจดุ ศูนย์กลางที่ (3, −2) รัศมี
หน่วย ดังนัน้ Dr = [−1, 7], Rr = [−6, 2]
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
4
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
→ Dr = R − {0, 1}
1
1
1
1
x −x =
→ x2 − x +
=
+
y
4
y 4
เขียนเส้นจํานวน จะได้ Rr = R − (−4, 0]
(15.2) ก. x2 − 4x + 3 ≠ 0 → (x − 3)(x − 1) ≠ 0
→ Dr = R − {1, 3}
1
1
→ x2 − 4x + 4 = + 1
y
y
y+1
y +1
>0
→ (x − 2)2 =
→
y
y
x2 − 4x + 3 =
เขียนเส้นจํานวน จะได้ Rr
(15.3) ก. x + 1 > 0 →
2 2
x y −x−1= 0 → x =
และ
1±
1 + 4y2
→
2y2
(เป็นจริงเสมอ)
y2 − 2xy + 2x2 + x + 1 = 0
4x2 − 8x2 − 4x − 4
2
2x ±
→ y =
→ y = x ±
−x2 − x − 1
2
→ − x − x − 1 > 0 → x2 + x + 1 < 0
แยกตัวประกอบไม่ออก แสดงว่าก้อนนี้เป็นบวกเสมอ
หรือทดลองจัดกําลังสองสมบูรณ์ก็ได้ ได้ผลดังนี้
1
3
< 0 เป็นไปไม่ได้ ∴ Dr = ∅
→ (x + )2 +
2
4
ข. เนือ่ งจาก Dr = ∅ จะได้ Rr = ∅ ด้วย
(15.5) ก. y2 = x2 + 2 → x2 + 2 > 0 →
x −1
x −1
x +2
> 0 เขียนเส้นจํานวนได้
(x − 1)(x + 1)
Dr = [−2, −1) ∪ (1, ∞)
หมายเหตุ x2 − 1 ≠ 0 รวมอยู่ในเส้นจํานวนแล้ว
ข. x2y2 − x − y2 − 2 = 0
→ x =
1±
1 + 4y4 + 8y2
2y2
4
2
→ 1 + 4y + 8y > 0
ดังนัน้
Rr = R
x =
ข.
เป็นจริงเสมอ
→
2y2 − 2y − 11
→ (y − 3)(y + 2) ≠ 0
y2 − y − 6
→ Rr = R − {3, −2}
(16.1) ก.
| x + 3 | − 4 ≠ 0 → x + 3 ≠ ±4
ข.
2
(15.4) ก.
เขียนเส้นจํานวนได้
25x − 46
>0
4x − 8
46
Dr = R − (
, 2]
25
x > −1 ,
1
1 + 4y > 0 → y > −
4
∴ Rr = R
2
1
25x − 46
(y − )2 =
2
4x − 8
= R − (−1, 0]
x+1
x+1
→ y2 =
→
x
x2
y =
มอง (y-1/2) เป็นก้อนๆ หนึ่ง
แล้วย้ายข้างแบบข้อ (13.4) จะได้
→ Dr = R − {−7, 1}
x ≠ 0 → Dr = (−1, ∞) − {0}
ข.
(15.6) ก.
2
1
y+4
y +4
>0
→ (x − )2 =
→
2
4y
4y
ข.
1
21
2(y − )2 −
2
2 →
x =
1
1
(y − )2 −
2
4
x2 − x ≠ 0 → x(x − 1) ≠ 0
(15.1) ก.
ข.
ความสัมพันธและฟงกชัน
139
3
3
→ | x + 3 |=
+4
y
y
3
3 + 4y
>0
→
+4>0 →
y
y
| x + 3 |− 4 =
ดังนัน้
Rr = R − (−
3
, 0]
4
(16.2) ก. x ∈ R → Dr = R
เนื่องจากไม่มีข้อจํากัดใดๆ สําหรับค่า x
ข. y = |x + 2| − |x | → แยกช่วงย่อยคิด..
ถ้า x > 0 → y = | x + 2 − x | = 2
ถ้า −2 < x < 0 → y = |x + 2 + x | = |2x + 2|
ถ้า x < −2 → y = | −x − 2 + x | = 2
จะได้กราฟดังภาพ
และ Rr = [0, 2]
2
-1
(16.3) กราฟสร้างจากพาราโบลา
แต่วา่ มีค่าสัมบูรณ์
ทําให้ y > 0 เสมอ
กราฟด้านล่างทีค่ า่ y ติดลบ
จะถูกพลิกขึน้ ด้านบนให้เป็น
ค่าบวก ดังภาพ
y = x2 − 4
∴ Dr = R, Rr = [0, ∞)
(17.1)
Rr−1 = Dr ⇒
2
x − 4 ≠ 0 → (x − 2)(x + 2) ≠ 0
ดังนัน้ Rr = R − {2, −2}
(17.2) x2 − 4 ≠ 0, x2 − 4 > 0
ดังนัน้ x2 − 4 > 0 → Rr = R − [−2, 2]
(17.3) Rr = R − {2}
−1
−1
−1
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
140
(17.4) เงื่อนไข
2x2 − 3x − 2 > 0 จะได้
(2x + 1)(x − 2) > 0 → x ∈ (−∞, −1/2] ∪ [2, ∞)
(22)
และ เงือ่ นไข 3x − 1 + 2 2x2 − 3x − 2 > 0
นั่นคือ 2 2x2 − 3x − 2 > 1 − 3x
ซึ่งอสมการนีว้ ิธกี ารคิดจะต้องแบ่งเป็นสองกรณี
กรณีที่ 1 − 3x > 0 → x < 1
x2 = 9 −
จะได้อสมการ
3
4(2x2 − 3x − 2) > 1 − 6x + 9x2
→ x2 + 6x + 9 < 0 → (x + 3)2 < 0 → x = −3
(เป็นไปไม่ได้ในกรณีน)ี้
กรณีที่ 1 − 3x < 0 → x
>
1
3
จะได้อสมการเป็นจริงเสมอ ทุกค่า x ที่ใช้ได้ในรูท้
นั่นคือ x ∈ (−∞, −1/2] ∪ [2, ∞) (ซึ่งคํานวณไว้แล้ว)
แต่เงือ่ นไขของกรณีนคี้ ือ x > 1/3 เท่านัน้ ..
∴ Rr−1 = [2, ∞)
(18)
x =
1
xy − y = 1 → y =
→ Dr = R − {1}
x − 1
0 →x
นั่นคือ
เป็น
2
x > 11; 15 − x > 0 → x < 15
Rr = R − (−
ก. ∃x∀y[x + y = y] ไม่ถูก เพราะ x + y
แสดงว่า x = 0 แต่ใน U ไม่มี 0
ข. ∀x∃y[x + y = 0] ถูก เพราะไม่ว่าหยิบ
ก็จะหา y ทีต่ รงเงือ่ นไขได้เสมอ
4
(23.1) Dr = [−4, 4]
x2 − 2x +1 =
1
+ 3 +1 →
y
1
4y + 1
+4 =
(x − 1)2 =
y
y
= y
x
ตัวใด
Rr = [−4, 4]
-4
Dr = [0, 4]
(23.3)
4
-4
2
2
(2,0)
Rr = [−2, 2]
y + 2 = x2 + 2x → y + 3 = (x + 1)2
Dr = R
(-1,-3)
(23.4) กราฟเหมือนข้อที่แล้ว
แต่มีแค่ช่วงเดียว
Dr = [−3, 2)
(24)
1
→
y
4y + 1
>0
→
y
เขียนเส้นจํานวนได้ (−∞, −1 / 4] ∪ (0, ∞)
ดังนัน้ คอมพลีเมนต์คอื (−1 / 4, 0]
(2,6)
(-3,1)
Rr = [−3, 6)
(-1,-3)
1
2y + 1
x −1
x−1
1
2
< 0 → Dr = ( , 1]
→
y =
1 − 2x
2x − 1
2
ดังนัน้ Rr ∩ Dr ' = R − ( 1 , 1]
2
−1
1 1
, )= U
3 3
Rr = [−3, ∞)
นํามารวมกันได้เป็น Dr = [2, 15]
ข. ในช่วง 2 < x < 11 จะได้ y2 = x − 2
แสดงว่า y มีค่าเพิ่มขึ้นจาก 0 ไปถึง 3
ส่วนในช่วง 11 < x < 15 จะได้ y2 = 15 − x
แสดงว่า y มีค่าลดลงจาก 2 ถึง 0
(จะใช้วิธีทดลองพล็อตเป็นกราฟพาราโบลาก็ได้)
สรุป Rr = [0, 3] → A = Dr ∩ Rr = [2, 3]
และผลบวก 3 + 2 = 5
2
(20) x = y 2 + 1 → Rr = R
จํานวนเต็มบวกทีน่ ้อยที่สดุ คือ 2
(21) Dr = Rr → x2 − 2x − 3 =
1
1
→ 9 − x2 = 2 →
9 − x2
y
1
9y2 − 1
9y2 − 1
>0
=
→
2
2
y
y
y2
(3y − 1)(3y + 1)
> 0 เขียนเส้นจํานวนได้ผล
y2
(23.2)
1+ y
→ Rr = R − {0}
y
ดังนัน้ Rr − Dr = {1}
(19) ก.>x 11; x − 2
y2 =
1
1
1
-1
(24.1) 1 ตร.หน่วย
(24.2) 1/2 ตร.หน่วย
1
-1
1
1
(24.3) 1 ตร.หน่วย
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
-1
(24.4) หาค่าไม่ได้
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
141
(25) หาจุดยอดของ
(30)
Δ ได้เป็น
(1, 2), (−2, −1), (2.5, −1)
ดังนัน้ พื้นที่ = 1 × 3 × 4.5
2
= 6.75
(26.1)
พื้นที่ =
−
ตร.หน่วย
1
×4×4
2
= 32 − 8 = 24
=
π ตร.หน่วย
(31.1) ผิด
1
× (π × 22)
4
พื้นที่
= 4π
=
4
1
(π × 42)
4
4
1
r1 ∩ r2
(27)
8
4(
+
)
1
1 8
= 4 ( × 8 × 4 + × × 4)
2
2 3
256
=
≈ 85.33 ตร.หน่วย
3
(28)
A = Dr1 ∩ r2 = [−4, 4]
B = [−2, 2]
4
4
(8/3,8/3)
8
2
2
2
(33) ใช้วิธสี ังเกตว่า x เดียวให้คา่ y เดียวหรือไม่
(ถ้ามี yเลขคู่ หรือ |y| จะไม่เป็นฟังก์ชัน, ถ้ามี xเลขคู่
หรือ |x| จะไม่เป็น 1-1) หรือจะใช้วิธีเขียนรูปกราฟก็
ได้ (ถ้ามีเส้นตรงในแนวตั้งที่ตดั กราฟเกิน 1 จุดได้ จะ
ไม่เป็นฟังก์ชัน, ถ้ามีเส้นตรงแนวนอนทีต่ ัดกราฟเกิน
1 จุดได้ จะไม่เป็น 1-1)
33.1
4
(±7, ±2)
ดังนัน้
Dr1 ∩ r2 = [−7, −5] ∪ [5, 7]
33.4
-5 5
53
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
1− 1
33.5
(33.4) เป็นฟังก์ชัน แต่ไม่เป็น
(33.5) ไม่เป็นฟังก์ชัน
(33.6) เป็นฟังก์ชัน 1 − 1
Math E-Book Release 2.2.04
33.3
33.2
(33.1) เป็นฟังก์ชันแต่ไม่เป็น
(33.2) ไม่เป็นฟังก์ชัน
(33.3) เป็นฟังก์ชัน 1 − 1
A − B = [−4, −2) ∪ (2, 4]
ผลบวก = −4 − 3 + 3 + 4 = 0
(29) แก้ระบบสมการ
ได้จุดตัดทั้งสี่เป็น
- 53
r −1
(31.3) ถูก
(31.4) ผิด
1
(32) พื้นที่ = 4( × 1 × 2)
2
2
= 4 ตร.หน่วย
r2 = r1−1
r1
ตร.หน่วย
=
r
2
4
พื้นที่
(31.2) ถูก
r = r −1
4
(26.4)
4
r = r −1
r −1
4
2
2
1
ตร.หน่วย
=
Rr = [−1, 8]
r
2
2
(26.3) พื้นที่
(0,-1)
2
ตร.หน่วย
(3,8)
r = {(x, y) | x2 = y + 1, x ∈ [−1, 3]}
จะได้
(31)
4
(26.2)
พื้นที่ = 4 × ( 1 × 2 × 3)
= 12
2
-1
1
×8×8
2
A = [−1, 3]
(-1,0)
4
1
-1
ความสัมพันธและฟงกชัน
1− 1
33.6
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
33.8
33.7
(33.7)
ความสัมพันธและฟงกชัน
142
1
3
f(x) = (x + )2 +
2
4
เป็นฟังก์ชัน แต่ไม่
เป็น 1 − 1
(33.8) เป็นฟังก์ชัน 1 − 1
(33.9) เป็นฟังก์ชัน แต่ไม่เป็น 1 − 1
(33.10) เป็นฟังก์ชัน แต่ไม่เป็น 1 − 1
34.1
34.2
(34.1) ไม่เป็น
(34.2) เป็น
(35) มีเพียง (35.4) ที่เป็น ดังรูป
35.1
(38) ฟังก์ชนั จาก R ไปทั่วถึง [0, ∞)
แสดงว่า Df = R และ Rf = [0, ∞)
พิจารณาทุกข้อแล้ว Df = R แน่นอน เพราะ x
เป็นเท่าใดก็ได้ ดังนั้น ต้องพิจารณา Rf ว่าเป็นเท่าใด
(38.1) ใช่ เพราะ y > 0
(38.2) ไม่ใช่ เพราะ y − 2 = (x − 1)2 → y > 2
(38.3) ใช่ เพราะ x2 − 4 > −4 → y > 0
(38.4) ใช่ เพราะ y = |x + 1|3 → y > 0
(39.1) เป็น เพราะเป็นเส้นตรง ความชัน 5
(39.2) ไม่เป็น (ความชัน −2 )
(39.3) และ (39.4) ไม่เป็น เพราะเป็นพาราโบลา
หงาย (มีช่วงที่เกิดฟังก์ชันลดด้วย)
(39.5) f(x) − 2 = (x − 2)3 และ
(39.6) f(x) = (x + 1)3 เป็นทั้งสองข้อ ดังรูป
(40.1)
y = x2 − 2x + 4 → y − 3 = (x − 1)2
→ Df = R, Rf = [3, ∞)
35.3
35.4
(40.2)
ดังนัน้
y =
1− 1
3
ทุกข้อยกเว้น (36.4) ดังรูป
36.1
3/2
36.2
(4,-3)
(รูปพาราโบลาหงาย)
(x − 5)(x + 5)
→ Df = R − {5}
x−5
Rf = R − {10}
(40.3) ก.
(36) เป็น
(-1,0)
(2,2)
35.2
x+y=1
x+y=-1
39.6
39.5
y =
2
1+ x
x
... เพราะ
x ≠ 5
→ Df = R − {0}
y2 − 4
2
→ y2 − 4 > 0 → Rf = R − (−2, 2)
ข.
x2 − xy + 1 = 0 → x =
y ±
(41) −2 < t + 3 < 8 → − 5 < t < 5
ดังนัน้ f(t + 3) = (t + 3)2 เมื่อ −5 < t < 5
(42.1) ให้ A = x + 1 → x = A − 1 → จะได้
f(A) = (A − 1)2 + 3(A − 1) + 9
36.3
(-4,3)
36.4
= A2 + A + 7
3
ดังนัน้
f(x) = x2 + x + 7
(42.2) ให้ 2 = x2 − 1 จะได้
ดังนัน้ f(2) = 5 + 2 = 7
(37) ฟังก์ชนั จาก R ไป R แสดงว่า Df = R
(37.1) ไม่ใช่ เพราะ 9 − x2 > 0 แสดงว่า
−3 < x < 3 เท่านัน
้
(37.2) ใช่ เพราะ 9 + x2 > 0 เสมอ → x ∈ R
(37.3) ไม่ใช่ เพราะ x ≠ 0
(37.4) ไม่ใช่ เพราะ x = 5 − | y | → x < 5
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
x2 = 5
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(42.3)
f(4x) =
4x
4x + 2
(48) อินเวอร์สจะเป็นฟังก์ชนั ก็ตอ่ เมื่อ f เป็น
ฟังก์ชนั 1-1 ดังนั้นให้ตรวจสอบว่าแต่ละข้อเป็น
ฟังก์ชนั 1-1 หรือไม่ ดังนี้
(48.1) เป็น เพราะ y = x2 เมื่อ x > 0
และ y = −x2 เมื่อ x < 0 ดังรูป
x
→ xf(x) + 2f(x) = x
x +2
−2f(x)
→ xf(x) − x = −2f(x) → x =
f(x) − 1
ดังนั้น f(4x) = 4x = 1 1 =
4x + 2
1+
2x
1
4f(x)
=
f(x) − 1
3f(x) + 1
1−(
)
4f(x)
แต่
f(x) =
48.1
48.2
(43.1) (gof)(x) = g(2x) = 2x + 3
และ (fog)(x) = f(x + 3) = 2x + 6
(43.2) (gof)(x) = g(x + 1) = x + 1
และ (fog)(x) = f( x) = x + 1
(43.3) (gof)(x) = g(4x + 1) = (4x + 1)2
และ (fog)(x) = f(x2) = 4x2 + 1
(43.4) ก. กรณีแรก
(gof)(x) = g( 4 − x) = 4 − x + 1 = 5 − x
เมื่อ “ x < 0 และ 4 − x > 2 ” → x < 0
กรณีที่สอง (gof)(x) = g(6 − x) = (6 − x)2 + 1
เมื่อ “ x > 4 และ |6 − x | > 2 ” → x > 8
ข. กรณีแรก (fog)(x) = 4 − (x2 + 1) = 3 − x2
เมื่อ “|x | > 2 และ x2 + 1 < 0 ” ... เป็นไปไม่ได้
กรณีที่สอง (fog)(x) = 6 − (x2 + 1) = 5 − x2
เมื่อ “|x | > 2 และ x2 + 1 > 4 ” → |x | > 2
(44) 3f(x)2 − 2f(x) + 1 = f(x)2 − f(x) + 2 →
1
หรือ 1
2f(x)2 − f(x) − 1 = 0 → f(x) = −
ดังนัน้
1
(gof)(1) = g(f(1)) = g(− )
2
2
หรือ
g(1)
= 11 / 4 หรือ 2
(45) g(x) + 1 = x → xg(x) = g(x) + 1
g(x)
→ g(x) =
1
; x ≠ 1
x −1
f(x)2 + f(x) + 2 = x2 − x + 2
1
1
→ [f(x) + ]2 = [x − ]2
2
2
(46)
→ f(x) = x − 1
(47)
f(x) = −x
หรือ
(fof)(x) = 4x − 9
→ A(Ax + B) + B = 4x − 9 →
A2 = 4
และ
โจทย์ให้
A > 0
AB + B = −9
ดังนัน้
ความสัมพันธและฟงกชัน
143
A = 2 → B = −3
48.3
48.4
(48.2)
(48.3)
(48.4)
(49.1)
x =
ไม่เป็น เช่น y=1 จะได้ x=0 หรือ -2
ไม่เป็น เช่น y=0 จะได้ x=3 หรือ -3
ไม่เป็น เช่น y=1 จะได้ x=1 หรือ -1
จาก y = 5 − x ; y > 0 กลายเป็น
5 − y → y = 5 − x2 ; x > 0
(49.2) จาก
x =
y =
5x + 4 ; y > 0
y−1
→ y = 3x + 1
3
(49.4) จาก y = 1 กลายเป็น
x−1
1
1
→ y =
+ 1; x ≠ 0
x =
y−1
x
x =
(49.5) จาก
x =
y =
x−2
x−3
กลายเป็น
y −2
→ xy − 3x = y − 2
y−3
3x − 2
;x ≠ 1
x −1
(49.6) จาก y = x กลายเป็น
2x − 1
y
→ 2xy − x = y
x =
2y − 1
→ y =
x
1
;x ≠
2x − 1
2
(49.7) จาก y = 2x − 3 กลายเป็น
3x − 2
2y − 3
→ 3xy − 2x = 2y − 3
x =
3y − 2
→ y =
→ y =
Math E-Book Release 2.2.04
กลายเป็น
x −4
;x > 0
5
x−1
กลายเป็น
y =
3
5y + 4 → y =
(49.3) จาก
2
2x − 3
2
;x ≠
3x − 2
3
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(50) กรณีแรก
→ y =
x
+1
2
x = 2y + 2
;y > 0
∴ 2y + 2 > 2 )
;y < 0
→ y = − − x − 1 ; x < −1
f −1(−1) → 4x − 5 = −1 → x = 1
ให้
→ g(4) = 2 − 3(7) = −19
(53.3) หา
x−3 = 4 → x = 7
g−1(−4) → 2 − 3x = −4 → x = 2
→ g (−4) = 2 − 3 = −1
⎧ x +1 ; x>2
⎪
f (x) = ⎨ 2
⎪⎩ − x − 1 ; x < −1
−1
(51.1) f −1(4x + 3) = 3x − 4
ให้ A = 4x + 3 → x = A − 3
4
(f −1og−1)(−4) = f −1(−1) = 4
(53.4) หา
→
f(2x + 1) = 3f(2x + 1) − 3x + 2
3
3
→ f(2x + 1) = x − 1 → f −1( x − 1) = 2x + 1
2
2
ให้ A = 3 x − 1 → x = 2 (A + 1) →
2
3
2
จะได้ f −1(A) = 2( )(A + 1) + 1 = 4A + 7
3
3
4x + 7
−1
∴ f (x) =
3
(51.4)
(52) f −1(x3 − 3x2 + 3x + 5) = x − 1 →
ให้ x3 − 3x2 + 3x + 5 = 5
จะได้ x = 0 เท่านัน้ → ∴ f −1(5) = 0 − 1 = −1
(53.1) หา g−1(5) โดย g−1(2 − 3x) = x − 3 →
ให้ 2 − 3x = 5 → x = −1 → g−1(5) = −4
หา (fog−1)(5) = f(−4) โดยให้ x + 3 = −4
(หาไว้แล้วในข้อที่แล้ว)
f −1(3) → 4x − 5 = 3 → x = 2
→ f −1(3) = 2 + 3 = 5
(g−1of −1)(3) = g−1(5) = −4
(54.1) กรณีแรก
ใช้ไม่ได้เพราะ
จะได้ f −1(A) = 3(A − 3) − 4 = 3A − 25
4
4
3x − 25
−1
→ f (x) =
4
−1 x
(51.2) f ( − 1) = x + 1 →
2
2
x
ให้ A = − 1 → x = 2(A + 1) →
2
2(A + 1)
−1
f (A) =
+ 1 = A + 2 → f −1(x) = x + 2
2
(51.3) f −1(5x − 7) = x + 1 →
x −3
5x − 7
3A − 7
ให้ A =
→ x =
x−3
A −5
3A − 7
4A − 12
−1
∴ f (A) =
+1=
A−5
A −5
4x − 12
−1
→ f (x) =
;x ≠ 5
x −5
→ x = −7 → f(−4) = −33
(gof −1)(−1) = g(4) →
−1
(เครื่องหมายลบเท่านั้น เพราะ y < 0 เสมอ)
(เงื่อนไขมาจาก y < 0 → −y2 < 0 →
∴ −y2 − 1 < −1 )
ดังนัน้
(53.2) หา
→ f −1(−1) = 1 + 3 = 4
;x > 2
(เงื่อนไขมาจาก y > 0
กรณีที่สอง x = −y2 − 1
ความสัมพันธและฟงกชัน
144
กรณีที่สอง
−
(หาไว้แล้วในข้อแรก)
g−1(0) = −
1
2
1
2
>0
g−1(0) = −
1
3
ใช้ได้ เพราะ
−
1
< 0
3
1
1
f −1(− ) หาโดยให้ 2x + 3 = −
3
3
5
1
5
2
∴ f −1(− ) = − + 1 = −
→ x = −
3
3
3
3
ต่อมา
(54.2)
f −1(0)
หาจาก
2x + 3 = 0 → x = −
3
2
3
1
+1= −
2
2
กรณีแรก g−1(− 1) = − 3 ใช้ไม่ได้เพราะ − 3 > 0
4
2
4
1
1
1
−1
กรณีที่สอง g (− ) = − ใช้ได้เพราะ − < 0
2
2
2
1
ตอบ −
2
→ f −1(0) = −
(55.1) กรณีแรก (f − g)(x) = −2x − x2
เมื่อ x > 0 และ x > 3 → x > 3
กรณีที่สอง (f − g)(x) = −2x + x = −x
เมื่อ x > 0 และ x < 3 → 0 < x < 3
กรณีที่สาม (f − g)(x) = 3 + x
เมื่อ x < 0 และ x < 3 → x < 0
(55.2) Df / g = Df ∩ Dg โดยที่ g(x) ≠ 0
ดังนัน้ x ≠ 0 → Df / g = R − {0}
(56.1) [(gof) + h](x) = 1 − x + 1 + 1 − x2
เงื่อนไขคือ x + 1 > 0 → x > −1
และ 1 − x + 1 > 0 → x < 0
นั่นคือเงือ่ นไขของ x เป็น −1 < x < 0
(56.2)
(
fog
)(x) =
h
เงื่อนไขคือ
1− x + 1
1 − x2
>
1− x
0 → x < 1
1 − x + 1 > 0 → เป็นจริงเสมอ
และ 1 − x2 ≠ 0 → x ≠ 1, x ≠ −1
สรุปเงือ่ นไขของ x คือ x ∈ (−∞, 1) − {−1}
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
f(2x − 3) = 3x − 2
A+3
3x + 5
) − 2 → f(x) =
→ f(A) = 3(
2
2
2x − 5
−1
∴ f (x) =
...
3
(60.2) f(1) = 2 − 1 = 1 →
หา g−1(1) + f −1(1) = 2 + 1 =
(57.1)
3
(61.1) หา
(f + g)(x) = x2 + x − 3 จะได้
3x + 5
g(x) = x2 + x − 3 −
2
3x + 5 2x − 5
−1
2
∴ (g + f )(x) = x + x − 3 −
+
2
3
x − 43
2
= x +
6
จาก
(57.2)
=
2
x + x−3−
g
( )(x) =
f
;
x ≠ −
g(x + 5) = x2 − 25
2
5
3
f −1(−2) → 4x = −2 → x = −
→ f −1(−2) = −
1
2
1
2
g(−2) = (−2)2 + 1 = 5
จะได้
กรณีแรก h−1(−2) = −3 ใช้ไม่ได้ เพราะ −3 > 0
กรณีที่สอง h−1(−2) = −1 ใช้ได้ เพราะ −1 < 0
ดังนัน้ ได้คําตอบ − 1 + 5 − 1 = 7
2
2
(60.1)
f(x) + g(x) = 2x + 1
f(x) − g(x) = 3 − 4x
g(2)
โดย
f −1(4) = 2
(หาแล้วในข้อที่แล้ว)
(gof)(4) = g(f(4))
หา f(4) โดย x = 4 → x = 8
x−2
3
8
→ f(4) =
3
8
หา g( ) โดย f(g(8)) = 8 + 2 = 14
3
3
3
3
8
14 / 3
7
−1 14
→ g( ) = f ( ) =
=
3
3
14 / 3 − 2
4
7
7
ดังนัน้ ตอบ ⋅ 2 =
4
2
f(3)
−1
+ f (3) →
(62.1) หา
g(3)
f(3)
ได้จาก
f(2x + 3) = x + 1 → 2x + 3 = 3
∴ f(3) = 1
→ x=0
−1
f (3)
ได้จาก
−1
f (x + 1) = 2x + 3 → x + 1 = 3
−1
→ x = 2 → f (3) = 2(2) + 3 = 7
g(3)
ได้จาก
f(g(3)) ⇒ x − 1 = 3 → x = 4
g(3) = f −1(21) = 2(20) + 3 = 43
ดังนัน้ ตอบ 1 + 7 = 7 1
43
43
(62.2)
f −1(1)
หาจาก
→ f (1) = 2(0) + 3 = 3
หา (fg)(3) = f(3) ⋅ g(3)
หาแล้วจากข้อแรก คือ 1 ⋅ 43 = 43
แก้ระบบสมการ จะได้
f(x) = 2 − x และ g(x) = 3x − 1
หา
(fog)−1(−2) →
→ (fog)−1(−2) =
5
3
ให้
3 − 3x = −2 → x =
x +1= 1→ x = 0
−1
และ
→ (fog)(x) = 2 − (3x − 1) = 3 − 3x
x
)= x →
x−2
→ f(g(3)) = 20 + 1 = 21 →
(gof −1)(2) ⋅ h(2)
1
f −1(2) → 4x = 2 → x =
2
1
1
1
5
→ f −1(2) =
+1=
; g( ) =
2
2
4
4
5
15
h(2) = 2 + 1 = 3 → ได้คาํ ตอบ
⋅3 =
4
4
(59.2) หาค่า
f(
โดย
x
= 2 → x = 4 → f(2) = 4
x−2
(61.2)
→ g(A) = (A − 5)2 − 25 → g(x) = x2 − 10x
f
x +5
∴ ( )(x) = 2
; x ≠ 0, 10
g
x − 10x
(59.1)
f(2)
5
3
(fog)(x) = x + 2 → f(g(2)) = 4
4
→ g(2) = f −1(4) =
= 2
4−2
ดังนัน้ (f + g)(2) = 4 + 2 = 6
หา
2
2x − x − 11
3x + 5
(58)
ให้
3x + 5
3x + 5
2
ความสัมพันธและฟงกชัน
145
5
3
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ความสัมพันธและฟงกชัน
146
eÃ×èo§æ¶Á
หลักในการหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน fog..
สมมติวา่ f (x) = x2 + 6 และ g (x) = 3 − x 2 ต้องการหา Dfog
ไม่ควรคิดโดยหา fog ก่อนแล้วจึงหาโดเมนและเรนจ์ เพราะคําตอบที่ได้อาจผิด
ในตัวอย่างนี้ หากคิดโดยหา fog ก่อน จะเป็น
(f D g)(x) =
(
3 − x2
)
2
+6 =
3 − x2 + 6 =
9 − x2
หาโดเมนได้จากเงื่อนไข 9 − x2 > 0 จะได้คําตอบคือ x ∈ [−3, 3] แต่เป็นคําตอบที่ผดิ !!
เช่น เมือ่ เราพิจารณาค่า (f D g)(2) จะพบว่า g (2) นั้นไม่นิยาม.. ฟังก์ชัน fog จึงไม่ควรมี 2 อยู่ในโดเมน
สาเหตุที่คาํ ตอบผิดก็เพราะในการหา fog นัน้ มีขนั้ ตอนที่เครือ่ งหมายรูท้ ถูกยกกําลังสองให้หายไป
เงื่อนไขของโดเมน (ทีอ่ ยู่ในรูท้ ) ก็เลยหายไปด้วย..
หลักในการหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันประกอบ (เช่น fog) ทีถ่ ูกต้องเป็นดังนี้
(1) เขียน f(g(x)) โดยใส่ g(x) ลงไปใน f ก่อน (ต้องคงค่า g(x) ไว้ อย่าเพิ่งแทน x ลงไป)
(2) ถ้าหา Dfog ให้พจิ ารณาโดเมนของ f(g(x)) ที่เราเขียน ว่า g(x) เป็นอะไรได้บ้าง แล้วจึงย้อนไปคิด x
ถ้าหา Rfog ให้หาเรนจ์ของ g(x) ก่อนแล้วเอามาใส่ลงใน f(g(x)) ที่เราเขียนไว้ เพื่อให้ทราบเรนจ์
ตัวอย่าง กําหนดให้
เริ่มต้น เขียน
1
f (x) =
(f D g)(x) =
1 − x2
1
1 − g(x)2
และ
g (x) =
4 − x2
ให้หาเซต
Dfog
ข. หาเรนจ์; เริ่มจากหาเรนจ์ของ g(x) ซึ่งอาจมองลัดได้ดังนี้
จาก x ∈ R → x2 > 0 → 4 − x2 < 4 → 0 < 4 − x2
นําขอบเขตของค่า g นี้ไปใส่ใน f ต่อ ได้เป็น
<2
→ 3 < x2 < 4
...แสดงว่า g(x) มีค่าในช่วง [0,2]
0 < g (x) < 2 → 0 < g (x)2 < 4 → − 3 < 1 − g (x)2 < 1 → 0 <
1<
1
1 − g (x)2
< ∞
แสดงว่า
Rfog
ก่อน
ก. หาโดเมน; พิจารณาเงือ่ นไขรูท้ และเป็นตัวส่วน ดังนั้น 1 − g(x)2 > 0
แยกตัวประกอบแล้วเขียนเส้นจํานวน จะได้ −1 < g (x) < 1
จากนั้นจึงแทน x ลงไปได้วา่ −1 < 4 − x 2 < 1 → 0 < 4 − x 2 < 1
ดังนัน้ Dfog = [−2, − 3) ∪ ( 3, 2]
ดังนัน้
และ
1 − g (x)2 < 1
Rfog = [1, ∞)
เพื่อทดสอบความเข้าใจ ลองดัดแปลงวิธีเพื่อหา Dgof และ Rgof ของตัวอย่างนีด้ ูนะครับ
(เริ่มจากเขียน g(f(x)) โดยคงค่า f(x) ไว้ อย่าเพิง่ แทน x ลงไป)
คําตอบที่ถูกคือ [− 3 /2, 3 /2] และ [0, 3] ตามลําดับ..
และนอกจากนี้ยังมีในข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยอยูห่ ลายครั้งด้วย ก็ลองฝึกทําได้ครับ
(ตามเลขข้อที่ระบุไว้ใน “ข้อสอบเข้าฯ แยกตามหัวข้อ”) :]
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
กําหนดการเชิงเสน
147
linear
º··Õè
6 ¡íÒ˹´¡ÒÃeªi§eʹ
กําหนดการเชิงเส้น (Linear Programming)
เป็นเทคนิคที่เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1947 ในช่วงที่
สหรัฐอเมริกากําลังประสบปัญหาทรัพยากรไม่เพียงพอ
และต้องหาวิธีจัดสรรให้ได้ประโยชน์สูงที่สุด เทคนิค
การแก้ปัญหาแบบนี้นําไปใช้ในหลายด้าน เช่น การ
ผลิตสินค้าแต่ละประเภทด้วยวัตถุดิบที่มีให้ได้กําไรสูง
ที่สุด การขนส่งให้สิ้นเปลืองน้อยที่สุด การหาปริมาณ
วัตถุผสมให้ได้ส่วนประกอบตามต้องการโดยเสีย
ค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด การมอบหมายงานให้แต่ละกลุ่ม
เพื่อให้งานสําเร็จในเวลาน้อยที่สดุ ฯลฯ
ตัวอย่างสถานการณ์ ในการผลิตเก้าอี้สองชนิดคือขนาดเล็กและขนาดใหญ่ พบว่า เก้าอี้
ขนาดเล็กแต่ละตัวต้องเสียเวลาในการเลื่อยไม้ 1 ชั่วโมง ประกอบและตกแต่ง 2 ชั่วโมง ขายได้กําไร
ตัวละ 30 บาท ส่วนเก้าอี้ขนาดใหญ่ต้องเสียเวลาในการเลื่อยไม้ 2 ชั่วโมง ประกอบและตกแต่ง 2
ชั่วโมง และขายได้กําไรตัวละ 50 บาท ถ้าหากคนงานเลื่อยไม้ทํางานได้วันละไม่เกิน 8 ชั่วโมง และ
คนงานประกอบตกแต่งทํางานได้วันละไม่เกิน 10 ชั่วโมง ต้องการทราบว่าในแต่ละวันควรจะผลิตเก้าอี้
แต่ละชนิดเป็นจํานวนเท่าใดจึงจะได้กําไรมากที่สุด และได้กําไรเท่าใด
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
กําหนดการเชิงเสน
148
ขั้นตอนการแก้ปัญหา จะเริ่มจากการเปลี่ยนสถานการณ์ให้เป็น แบบจําลองทาง
คณิตศาสตร์ ก่อน โดยสมมติตัวแปร x และ y แทนจํานวนผลิตที่เราต้องการทราบ นั่นคือ
ให้ x แทนจํานวนเก้าอี้ขนาดเล็กที่ผลิตใน 1 วัน
y แทนจํานวนเก้าอี้ขนาดใหญ่ที่ผลิตใน 1 วัน
1. สิ่งที่เราต้องการคือกําไรมากที่สุด ดังนั้นถ้าให้ P แทนกําไรที่ได้ จะเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
P = 30 x + 50 y
เรียกว่า สมการจุดประสงค์ หรือ ฟังก์ชันจุดประสงค์ (P เป็นฟังก์ชันที่ขึ้นกับตัวแปร x และ y)
2. เงื่อนไข (หรือข้อจํากัด) ที่มีอยู่ ได้แก่จํานวนชั่วโมงทํางานของคนงานเลื่อยไม้ และคนงาน
ประกอบตกแต่ง ซึ่งนํามาเขียนเป็นอสมการได้ดังนี้
(เลื่อยไม้)
x +2y < 8
(ประกอบตกแต่ง) 2 x + 2 y < 10
ค่า x และ y เป็นจํานวนเก้าอี้ จึงไม่สามารถเป็นค่าติดลบได้
x > 0
y > 0
เนื่องจาก x และ y ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขเหล่านี้ จึงเรียกอสมการทั้งสี่ว่า อสมการข้อจํากัด
3. เขียนกราฟของระบบอสมการข้อจํากัด และแรเงาบริเวณที่ “ตรงตามเงื่อนไขทุกข้อ”
y
เรียกบริเวณที่แรเงานี้ว่า อาณาบริเวณที่หาคําตอบได้
(Feasible Region) เนื่องจากค่า x และ y ที่เป็น
5
ไปได้ จะต้องอยู่ในบริเวณที่แรเงาเท่านั้น
2x + 2y = 10
4
x + 2y = 8
O
5
8
x
4. หาจุดยอดมุมทั้งหมดของบริเวณที่แรเงา (ถ้าเป็นจุดที่เกิดจากเส้นตรงตัดกัน ไม่ได้อยู่บนแกน x
หรือ y ก็ต้องใช้วิธีแก้ระบบสมการเพื่อหาจุดตัด)
ในตัวอย่างนี้หาจุดยอดมุมได้เป็น (0, 0),(0, 4),(2, 3),(5, 0)
คู่อันดับ x และ y เหล่านี้เท่านั้น ที่มีโอกาสทําให้เกิดค่า P มากที่สุดดังต้องการ
5. นําคู่อันดับ x และ y ทั้งสี่จุดที่ได้ ไปหาค่า P
จะพบว่าค่า P ที่มากที่สุดเกิดเมื่อ (x,y) = (2,3) คือ
P = 30 (2) + 50 (3) = 210
สรุปว่า ใน 1 วัน ควรผลิตเก้าอี้ขนาดเล็ก 2 ตัว ขนาดใหญ่ 3 ตัว จึงจะทําให้ได้กําไรมากที่สุด และ
กําไรที่มากที่สุดนั้นเท่ากับ 210 บาท
ข้อสังเกต
1. ฟังก์ชันที่ต้องการค่าสูงสุดมักให้ชื่อเป็น P (Profit), ค่าต่ําสุดเป็น C (Cost)
2. ในทุกสถานการณ์ นอกจากข้อจํากัดที่โจทย์ให้มาแล้ว มักจะต้องเพิ่มอสมการ
ด้วยเสมอ (คือ ค่า x และ y โดยส่วนมากไม่สามารถเป็นค่าลบได้)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
x > 0, y > 0
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
กําหนดการเชิงเสน
149
3. ในบางสถานการณ์ ค่า x หรือ y อาจต้องเป็นจํานวนเต็มเท่านั้น หากค่าทีไ่ ด้เป็นคําตอบไม่ใช่
จํานวนเต็ม ก็จําเป็นจะต้องเลือกจุดข้างเคียง (ภายในบริเวณที่แรเงา) ที่เป็นจํานวนเต็ม และให้ผล
ใกล้กับค่าที่ต้องการมากที่สุด ดังแสดงให้เห็นในตัวอย่างถัดไป
4. ในบางครั้งอาณาบริเวณที่แรเงาอาจล้อมรอบด้วยเส้นประ (เช่น กรณีที่ในข้อจํากัดใช้คําว่าระหว่าง,
น้อยกว่า, หรือ มากกว่า) จุดยอดมุมที่ได้เป็นคําตอบยังไม่สามารถใช้ได้ ก็ต้องใช้วิธีเลือกจุดข้างเคียง
ภายในบริเวณที่แรเงา เช่นเดียวกัน
•
ตัวอยาง โดยปกติเครื่องบินลําหนึ่งมีทีน่ ั่ง 15 ทีน่ งั่ บรรจุผูโดยสารและสินคารวมกันได 1,500 กก. แตถา
น้ําหนักสินคามากกวาน้ําหนักผูโดยสารเกิน 200 กก. เครื่องบินจะเอียงและบินไมได (สมมติวาผูโดยสารแต
ละคนมีน้ําหนักเฉลี่ย 75 กก.) ถามวาเที่ยวบินแตละเที่ยวจะมีรายไดมากทีส่ ุดเทาใด หากคาโดยสารที่นั่งละ
6,000 บาท และคาขนสงสินคากิโลกรัมละ 100 บาท
วิธีคิด ใหจํานวนผูโดยสารเปน x คน และน้ําหนักสินคาเปน y กิโลกรัม
และ Z เปนรายไดตอเที่ยวที่ตองการ ดังนั้นฟงกชนั จุดประสงคคือ Z = 6000 x + 100 y
สวนเงื่อนไขทีม่ ีไดแก (1) ที่นั่งผูโ ดยสารมี 15 ทีน่ งั่
0 < x < 15
75 x + y < 1500
(2) เครื่องบินบรรทุกได 1,500 กก.
(3) น้ําหนักสินคามากกวาผูโ ดยสารไดไมเกิน 200 กก.
y − 75 x < 200
(4) (เพิ่มเติมเอง) น้ําหนักสินคาไมเปนคาติดลบ
y > 0
หาอาณาบริเวณที่เปนคําตอบไดดังกราฟ และจุดยอดมุมทั้งหมดไดแก
y
(0,0), (0,200), (8.67,850), (15,375), และ (15,0)
เมื่อแทนคาในฟงกชันจุดประสงคแลว พบวาจุด
1,500
(8.67,850) ใหคารายไดมากที่สุด คือ Z = 137,000
แตมีปญหาวา x เปนจํานวนผูโดยสาร ตองเปนจํานวน
(8.67,850)
เต็มเทานั้น เมื่อพิจารณาจุดใกลเคียงในบริเวณที่แรเงา จะ
(15,375)
200
x มี (8,800) ซึ่งใหคา Z = 128,000 บาท
O
15 20
และ (9,825) ซึ่งใหคา Z = 136,500 บาท
ดังนั้นจึงตองเลือกจุดหลัง และไดคําตอบวาเที่ยวบินแตละเที่ยวจะมีรายไดมากที่สุด 136,500 บาท
(เมื่อมีผโู ดยสาร 9 คน, สินคา 825 กก.)
หมายเหตุ
1. การแก้ปัญหาด้วยกําหนดการเชิงเส้น นอกจากใช้หาค่าสูงสุดของฟังก์ชันจุดประสงค์แล้ว ยังใช้กับ
หาค่าต่ําสุดได้เช่นกัน โดยจุดคําตอบจะเป็นหนึ่งในบรรดาจุดยอดมุม ที่ทําให้ค่าฟังก์ชันน้อยกว่าจุดอื่น
2. การที่คําตอบทุกข้อจะเป็นหนึ่งในจุดยอดมุมเสมอ ก็เพราะฟังก์ชันจุดประสงค์ Z = a x + b y มี
ลักษณะเป็นสมการเส้นตรง (ความชัน –a/b) ที่แปรเปลี่ยนระดับความสูงไปตามค่า Z ดังภาพ จะ
เห็นว่าค่าสูงสุดหรือต่ําสุดของ Z ย่อมเกิดที่จุดยอดมุมสุดท้าย ก่อนเส้นตรงเส้นนี้จะหลุดออกนอก
บริเวณที่แรเงา (ดูภาพในหน้าถัดไปประกอบ)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
กําหนดการเชิงเสน
150
y
y
6000x + 100y = 140000
6000x + 100y = 137000
6000x + 100y = 70000
x
O
x
O
6000x + 100y = 0
3. ในตัวอย่างข้อนี้หากเปลี่ยนตัวเลขเป็น
ค่าโดยสารที่นั่งละ 8,000 บาท จะทําให้
ฟังก์ชันจุดประสงค์เปลี่ยนเป็น
Z = 8000 x + 100 y (ความชันเปลี่ยน)
ซึ่งจุดยอดมุมที่ทําให้เกิดค่ามากที่สุด
กลายเป็นจุด (15,375) ก็จะไม่มีปัญหา
เรื่องค่า x เป็นทศนิยม
S e¾ièÁeµiÁ! S
ËÅa§¨Ò¡ÅÒ¡eʹµÃ§æµÅaeʹæÅÇ eʹµÃ§¨a溧ÃÙ»oo¡e»¹Êo§Êǹ ... eÃÒ
¾i¨ÒóÒÇÒ¨aæÃe§Òã¹Êǹã´ä´ËÅÒÂÇi¸Õ eª¹
(1) ·´Åo§¹íÒ¨u´ã´¡çä´ã¹ºÃiedz˹Öè§ä»æ·¹ã¹oÊÁ¡Òà ¶Ò¾ºÇÒoÊÁ¡ÒÃ
e»¹¨Ãi§¡ç¨aæÃe§ÒÊǹ¹aé¹ ¶Òe»¹e·ç¨¡çãËæÃe§Òã¹oÕ¡Êǹ·ÕèeËÅ×o
(2) ãªÇi¸ÕÁo§Åa´ ¤×o¶Ò x > .. æÃe§Ò´Ò¹¢ÇÒ, ¶Òe»¹ x < .. æÃe§Ò´Ò¹«ÒÂ
ËÃ×o´Ù·èÕ y ¡çä´ ¶Òe»¹ y > .. æÃe§Ò´Ò¹º¹, ¶Òe»¹ y < .. æÃe§Ò´Ò¹ÅÒ§
** æµËÒÁ´ÙµaÇæ»Ã·ÕèÊaÁ»ÃaÊi·¸iìµi´Åº¹a¤Ãaº! (e¾ÃÒa¼Å¨a¡Åaº´Ò¹¡a¹)
แบบฝึกหัด
(1) จงเขียนกราฟแสดงบริเวณที่เป็นคําตอบของระบบอสมการแต่ละข้อ พร้อมทั้งหาจุดยอดมุมที่
เกิดขึ้นทั้งหมดด้วย
(1.1)
(1.3)
(1.5)
x+y < 4
3x −2y < 6
x > 0, y > 0
x +2y > 4
2 x + 4 y < 12
x > 0, y > 0
(1.2)
x+y < 4
2x−y < 4
(1.4)
5x+3y > 0
x −2y > 0
3x+y < 6
x−y < 1
x+y < 4
x > 0, y > 0
x > 0, y > 0
2 < x < 4
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
ÊíÒËÃaºº·¹ÕéËÒ¡ÁÕ¡ÃÒ¿eʹµÃ§ÁÒ¡¡ÇÒ 2 eʹæÅÇ ¤ÇÃe¢Õ¹
¡ÃÒ¿ãËã¡Åe¤Õ§Êa´Êǹ¨Ãi§ÁÒ¡·ÕèÊu´ e¾×èoäÁãËÊaºÊ¹ÇÒ¨u´
Âo´ÁuÁ¢o§¾×é¹·ÕèæÃe§Ò¹aé¹ e¡i´¨Ò¡eʹ㴵a´¡aºeʹ㴺ҧ..
(2) สําหรับข้อ (2.1) ถึง (2.3) ให้หาค่า P ทีส่ ูงที่สุด หรือค่า C ที่ต่ําที่สุด
และสําหรับข้อ (2.4) ถึง (2.8) ให้หาทั้งค่าสูงสุดและต่ําสุดของฟังก์ชันจุดประสงค์
(2.1)
P = 5x+3y
2 x + 5 y < 300
x + y < 90
0 < x < 70
y > 0
(2.2) [พื้นฐานวิศวะ’37]
Math E-Book Release 2.2.04
C = 2x+3y
x+y > 4
5 x + 2.5 y < 25
0 < x < 5
0 < y < 5
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(2.3)
(2.5)
(2.7)
กําหนดการเชิงเสน
151
P = 2x+3y
2 x + 3 y < 30
Z = 3x+2y
y−x < 5
x+y > 5
x > 10, y > 0
(2.4)
2 x + 3 y < 12
2x+y < 8
x > 0, y > 0
Z = 20 x + 30 y
4 x + 2 y > 100
(2.6)
2x + 4 y > 140
x < 60, y < 40
Z = x −2y + 4
x+y < 4
x + 2 y > −2
x − y > −2
(2.8)
Z = 40 x + 35 y
3 x + 5 y > 62
5 x + y > 30
x > 0, y > 0
Z = 8x +5y
3x+y > 6
x +5y > 8
x+y > 4
x > 0, y > 0
x < 3
(3) บริเวณที่แรเงาเป็นกราฟของระบบอสมการใด
(3.1) y
(3.2) y
15
x+y=3
x-y=2
5
x
O
O
4
8
x
y
(3.3)
450
400
O
600 1200
x
(4) โรงงานลิ้นจี่กระป๋องและสับปะรดกระป๋องแห่งหนึ่ง ขายลิ้นจี่ได้กําไรกระป๋องละ 4 บาท
สับปะรดกําไรกระป๋องละ 7 บาท โดยกรรมวิธีการผลิตมี 2 ขั้นตอน คือ
- ปอกและต้มในน้ําเชื่อม (เครื่องจักรทํางานได้ไม่เกินครั้งละ 30 ชั่วโมง)
- บรรจุกระป๋อง (เครื่องจักรทํางานได้ไม่เกินครั้งละ 20 ชั่วโมง)
ลิ้นจี่ 1 กระป๋องต้องผ่านขั้นตอนแรก 3 นาที ขั้นตอนหลัง 1 นาที
สับปะรด 1 กระป๋องต้องผ่านขั้นตอนแรก 4 นาที ขั้นตอนหลัง 3 นาที
การผลิตแต่ละครั้งควรผลิตอย่างละกี่กระป๋อง จึงจะได้กําไรมากที่สุด
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
กําหนดการเชิงเสน
152
(5) โรงงานผลิตจานและชามพลาสติก มีรายละเอียดการใช้เครื่องจักร และกําไรที่ได้ ดังแสดงใน
ตาราง ให้หาว่าควรผลิตอย่างละกี่ใบใน 1 วัน จึงจะได้กําไรสูงสุด
เครื่องจักร A
เครื่องจักร B
กําไร
จาน 1 ใบ
2 นาที
1 นาที
1.00 บาท
ชาม 1 ใบ
1 นาที
3 นาที
1.20 บาท
เครื่องจักรทํางานได้
ไม่เกินวันละ 3 ช.ม.
ไม่เกินวันละ 5 ช.ม.
(6) โรงงานผลิตสินค้าสองชนิด แต่ละวันจะใช้เหล็ก 250 กก. สินค้าชนิดที่หนึ่งใช้เหล็กชิ้นละ 10
กก. ชนิดที่สองใช้เหล็กชิ้นละ 25 กก. และสําหรับเวลาที่ใช้ผลิตแต่ละวันมี 260 นาที ทั้งสองชนิดใช้
เวลาชิ้นละ 20 นาทีเท่ากัน ส่วนการทาสีมีเวลารวมวันละ 100 นาที ชนิดแรกใช้เวลาทาสีชิ้นละ 10
นาที ชนิดที่สองชิ้นละ 4 นาที ถ้าสินค้าชนิดแรกกําไรชิ้นละ 30 บาท ชนิดที่สองกําไรชิ้นละ 25
บาท ควรจะผลิตอย่างละกี่ชิ้นใน 1 วันจึงได้กําไรสูงที่สุด
(7) โรงงานผลิตสินค้าทําสินค้าออกมาสองชนิด คือ x กับ y โดยสินค้าแต่ละอย่างต้องผ่าน
กระบวนการ 3 ขั้นตอน ดังตาราง หากกําไรต่อชิ้นของสินค้า x เป็น 5,000 บาท สินค้า y เป็น
3,500 บาท ควรจะผลิตอย่างละกี่ชิ้นใน 1 วัน
ขั้นตอนที่ 1
ขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 3
สินค้า x 1 ชิ้น
3 ช.ม.
1 ช.ม.
1 ช.ม.
สินค้า y 1 ชิ้น
2 ช.ม.
2 ช.ม.
1 ช.ม.
เครื่องจักรทํางานได้
24 ช.ม. ต่อวัน
16 ช.ม. ต่อวัน
9 ช.ม. ต่อวัน
(8) บริษัทผลิตวิทยุแห่งหนึ่งผลิตวิทยุออกมา 2 รุ่น คือรุ่น A กับรุ่น B โดยที่รุ่น A มีกําไรเครื่องละ
250 บาท รุ่น B 300 บาท แต่ละวันตั้งใจจะผลิตรุ่น A ไม่น้อยกว่า 80 เครื่อง รุ่น B ไม่น้อยกว่า
100 เครื่อง แต่ผลิตได้รวมกันไม่เกินวันละ 200 เครื่อง ควรจะผลิตอย่างไรจึงจะได้กําไรสูงสุด และ
กําไรสูงสุดนั้นเป็นเท่าใด
(9) โรงงานเฟอร์นิเจอร์ทําตู้และเตียงซึ่งจะใช้แรงงานช่างไม้กับช่างทาสี โดยตู้ 1 ใบช่างไม้ใช้เวลาทํา
15 ชั่วโมง ช่างทาสีอีก 12 ชั่วโมง และเตียง 1 หลังช่างไม้ใช้เวลาทํา 5 ชั่วโมง ช่างทาสี 4 ชัว่ โมง
ถ้าแต่ละวันช่างไม้ทุกคนช่วยกันทํางานได้เวลารวมกันอย่างมาก 60 ชั่วโมง ช่างทาสีรวมกัน 40
ชั่วโมง ส่วนกําไรนั้นตู้ใบละ 500 บาท เตียงหลังละ 400 บาท ควรจะผลิตตูแ้ ละเตียงอย่างละเท่าใด
ต่อวัน
(10) ผู้จัดการบริษัทต้องการซื้อตู้เก็บเอกสารใหม่จํานวนหนึ่ง เขาสอบถามได้ข้อมูลว่าตู้ยี่ห้อ A ราคา
ตู้ละ 400 บาท ใช้พื้นที่วาง 6 ตารางฟุต จุเอกสารได้ 8 ลูกบาศก์ฟุต ส่วนตู้ยี่ห้อ B ราคาตู้ละ 800
บาท ใช้พื้นที่วาง 8 ตารางฟุต จุเอกสารได้ 12 ลูกบาศก์ฟุต หากเขามีงบไม่เกิน 5,600 บาท และมี
พื้นที่ไม่เกิน 72 ตารางฟุต เขาควรจะซื้ออย่างละกี่ตู้เพื่อให้เก็บเอกสารได้มากที่สุด และถามว่าเก็บ
เอกสารได้เท่าใด
(11) ต้องการจ้างคนงานสองคนมาทําความสะอาดตู้ 5 ตู้ โต๊ะ 12 ตัว และหิ้งหนังสือ 18 หิ้ง โดย
คนงานคนที่หนึง่ สามารถทําความสะอาดตู้ได้ 1 ตู้ โต๊ะ 3 ตัว และหิ้งหนังสือ 3 หิ้งต่อชั่วโมง คนที่
สองทําความสะอาดตู้ 1 ตู้ โต๊ะ 2 ตัว และหิ้งหนังสือ 6 หิ้งต่อชั่วโมง ค่าแรงคนที่หนึ่ง 25 บาทต่อ
ชั่วโมง ค่าแรงคนที่สอง 22 บาทต่อชั่วโมง ควรจะจ้างคนงานทั้งสองทํางานคนละกี่ชั่วโมงเพื่อเสีย
ค่าแรงน้อยที่สุด
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
กําหนดการเชิงเสน
153
(12) ปุ๋ยเคมีสองชนิดมีส่วนผสมดังตาราง หากต้องการปุ๋ยทีม่ ีฟอสฟอรัสไม่ต่ํากว่า 9 หน่วย
ไนโตรเจนไม่ต่ํากว่า 8 หน่วย และโพแทสเซียมไม่เกิน 7 หน่วย จะเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ยน้อย
ที่สุดเท่าใด
ชนิดที่ 1
ชนิดที่ 2
ฟอสฟอรัส
3 หน่วย
1 หน่วย
ไนโตรเจน
1 หน่วย
2 หน่วย
โพแทสเซียม
1 หน่วย
1 หน่วย
ราคาต่อถุง
50 บาท
40 บาท
(13) บริษัทแห่งหนึ่งมีเหมืองอยู่ 2 แห่ง ในแต่ละวันเหมืองแรกผลิตแร่เกรด A ได้ 1 ตัน เกรด B 3
ตัน และเกรด C 5 ตัน ส่วนเหมืองที่สองผลิตแร่ทั้งสามเกรดได้เกรดละ 2 ตันเท่ากัน หากบริษัท
ต้องการผลิตแร่ส่งลูกค้าโดยเป็นแร่เกรด A 80 ตัน เกรด B 150 ตัน และเกรด C 200 ตัน ให้หา
ว่าบริษัทควรจะเปิดเหมืองเพื่อผลิตแร่แห่งละกี่วันจึงจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด (ค่าใช้จ่ายในการขุดแร่
แต่ละเหมืองเป็น 6,000 บาทต่อวัน เท่ากัน)
* (14) อาหารปลาชนิดแรกราคาถุงละ 6 บาท มีอัตราส่วนระหว่างโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต
เท่ากับ 1 : 2 : 2 ในขณะที่อาหารปลาชนิดที่สองราคาถุงละ 4 บาท มีอัตราส่วนเป็น 1 : 1 : 5 ให้
หาอัตราส่วนระหว่างอาหารชนิดที่หนึ่งกับชนิดที่สองที่ผู้เลี้ยงปลาควรจะซื้อ ถ้าอัตราส่วนระหว่าง
โปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต ที่จําเป็นต้องใช้ ไม่ต่ํากว่า 3 : 4 : 10
เฉลยแบบฝึกหัด (คําตอบ)
(1.1) (0,0), (0,4), (2,0), (14/5,6/5)
(1.2) (0,0), (0,4), (2,0), (8/3,4/3)
(1.3) (0,2), (0,3), (4,0), (6,0)
(1.4) (2,1), (4,2), (2,-10/3), (4,-20/3)
(1.5) (0,0), (0,4), (1,0), (1,3), (7/4,3/4)
(2.1) 410 (2.2) 8 (2.3) 30
(2.4) 13, 0 (2.5) 2400, 1100
(2.6) หาค่าไม่ได้, 434 (2.7) 12, -1
(2.8) หาค่าไม่ได้, 23
(3.1) x − y < 2 , x + y < 3 , x > 0 , y > 0
(3.2) 5x + 8y < 40 , 15x + 4y < 60 ,
x>0, y>0
(3.3) 3x + 4y < 1800 , x + 3y < 1200 ,
x>0, y>0
(4) ลิ้นจี่ 120 กระป๋อง, สับปะรด 360 กระป๋อง
(5) จาน 48 ใบ, ชาม 84 ใบ
(6) ชนิดทีห่ นึ่ง 8 ชิ้น, ชนิดทีส่ อง 5 ชิน้
(7) สินค้า x 6 ชิ้น, สินค้า y 3 ชิ้น
(8) รุ่น A 80 เครื่อง, รุ่น B 120 เครือ่ ง,
กําไร 56,000 บาท
(9) ผลิตเตียง 10 หลังโดยไม่ผลิตตู้เลย
(10) ยี่หอ้ A 8 ตู,้ ยี่ห้อ B 3 ตู,้ เก็บได้ 100 ลบ.ฟุต
(11) คนแรก 2 ช.ม., คนที่สอง 3 ช.ม.
(12) 220 บาท (ชนิดที่ 1 สองถุง ชนิดที่ 2 สามถุง)
(13) เหมืองแรก 36 วัน เหมืองที่สอง 22 วัน
หรือ เหมืองแรก 34 วัน เหมืองที่สอง 24 วัน ก็ได้
(14) 5 : 14
เฉลยแบบฝึกหัด (วิธีคดิ )
y
(1.1)
y
(1.2)
4
4
3x-2y=6
2x-y=4
(14/5,6/5)
O
2
4 x+y=4
(8/3,4/3)
x
Math E-Book Release 2.2.04
O
2
4 x+y=4
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
x
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
y
(1.3)
กําหนดการเชิงเสน
154
(2.4) y
Zmax = 13
3
2
2x+4y=12
O
4
y
x=2 x=4
O
(2,-10/3)
Pmax
O
(7/4,3/4)
x
12
4 x+y=4
หาค่าไม่ได้
= 434 ทีจ
่ ุด
(50,40)
(70,20)
O 70 90 150
x
Cmin = 2(4) + 3(0)
= 8
เกิดที่
Pmax
10
= 2(10) + 3( )
3
= 30
(10,
O
(3,-2.5)
Zmin
(3.1)
(3,1) (8,0)
หาค่าไม่ได้
= 23 ที่จด
ุ (1, 3)
x
x + y < 3, x − y < 2,
x > 0, y > 0
y
10
5
(3,1)
Zmax
O
10
)
3
Pmax
4
4
x
ทีจ่ ุด (3, −2.5)
ที่จดุ (1, 3)
y
(1,3)
5
62
)
5
x
5
4
Zmin = −1
(0,6)
(2.5,5)
O
(2.3)
(-2,0)
O
(2.8)
y
(4, 0)
Zmax = 12
(1,3)
90
60
(0,
x
(30,0)
(2.7) y
y
เกิดที่
Zmax
(4,10)
O
3x+y=6
(70, 20)
ที่จดุ (60, 40)
ที่จดุ (10, 30)
x
(0,62/5)
x-y=1
Pmax = 5(70) + 3(20)
= 410
Cmin
(60,5)
Zmin
(1,3)
(2.2)
Zmin = 1,100
(10,30)
O
(2.6) y
(4,-20/3)
6
4
เกิดที่
Zmax = 2,400
(5,40) (60,40)
x
y
(2.1)
x
x-2y=0
5x+3y=0
(1.5)
4
(2.5) y
(4,2)
(2,1)
O
Zmin = 0
x
6
x+2y=4
(1.4)
4
(3,2)
ทีจ่ ุด (3, 2)
ทีจ่ ุด (0, 0)
(3.2) ต้องสร้างสมการเส้นตรงด้วย intercept form
( x + y = 1 ) ก่อน.. ได้เป็น
(10,10/3)
5 10 15
x
a
x
+
4
x
+
8
x >
b
y
= 1 → 15x + 4y < 60 ,
15
y
= 1 → 5x + 8y < 40
5
0, y > 0
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
155
(3.3) เช่นเดียวกับข้อ 3.2
(7)
x
y
+
= 1 → 3x + 4y < 1,800 ,
600 450
x
y
+
= 1 → x + 3y < 1,200 ,
1,200 400
x > 0, y > 0
(4)
กําหนดการเชิงเสน
P = 5, 000x + 3, 500y
3x + 2y < 24
y
x + 2y < 16
x+y<9
x > 0, y > 0
P = 4x + 7y
3x + 4y < 1, 800
(นาที)
(นาที)
x + 3y < 1, 200
x > 0, y > 0
O
x
8
ที่จดุ (6, 3)
ตอบ สินค้า x 6 ชิ้น สินค้า y
(8) P = 250x + 300y
Pmax = 40,500
x > 80 , y > 100
(120,360)
3
x
(80,120)
Pmax = 3,000
ที่จดุ (120, 360)
ตอบ ลิ้นจี่ 120 กระป๋อง สับปะรด 360 กระป๋อง
(5) P = x + 1.2y
2x + y < 180 (นาที)
x + 3y < 300 (นาที)
x > 0, y > 0
(100,100)
(80,100)
x
O
Pmax = 56,000
ที่จดุ (80, 120)
ตอบ รุน่ A 80 เครื่อง รุ่น B 120 เครื่อง
และกําไร 56,000 บาท
(9) P = 500x + 400y
y
15x + 5y < 60
(48,84)
100
ชิ้น
y
x + y < 200
600
12x + 4y < 40
y
x > 0, y > 0
O
Pmax = 148.80
(6,3)
O
y
400
(2,7)
8
x
90
10
ที่จดุ (48, 84)
ใบ ชาม 84 ใบ
ตอบ จาน 48
(6) P = 30x + 25y
O
10x + 25y < 250
Pmax = 4,000
20x + 20y < 260
x > 0, y > 0
10
x
(0, 10)
ตอบ ผลิตเตียง 10 หลัง โดยไม่ผลิตตู้
(10) P = 8x + 12y
y
10x + 4y < 100
ที่จดุ
40/12
400x + 800y < 5, 600
6x + 8y < 72
(5,8)
O
ที่จดุ (8, 5)
ตอบ ชนิดที่หนึ่ง 8 ชิ้น ชนิดทีส่ อง
x
10
Pmax = 365
5
y
x > 0, y > 0
(8,5)
ชิ้น
7
(8,3)
O
12
ที่จดุ (8, 3)
ตอบ ยีห่ อ้ A 8 ตู้ ยี่หอ้ B
และจุได้ 100 ลบ.ฟุต
Pmax = 100
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
3
ตู้
x
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(11)
C = 25x + 22y
(13)
x+y>5
3x + 2y > 12
y
3x + 6y > 18
x > 0, y > 0
กําหนดการเชิงเสน
156
C = 6, 000x + 6, 000y
x + 2y > 80
3x + 2y > 150
5x + 2y > 200
x > 0, y > 0
(0,6)
และ
x, y ∈ I
y
(2,3)
(4,1) (6,0)
O
ที่จดุ (2, 3)
ตอบ คนที่หนึ่ง 2 ช.ม. คนทีส่ อง
(12) C = 50x + 40y
(25,37.5)
(35,22.5)
O
Cmin = 116
3x + y > 9
3
ช.ม.
(1,6)
(2,3)
(6,1)
x
O
Cmin = 220
ที่จดุ
บาท
(2, 3)
ตอบ 220
(14) C = 6x + 4y
x y
3
+ >
5 7
17
2x y
4
+ >
5
7
17
2x 5y
10
>
+
5
7
17
x > 0, y > 0
(80,0)
y
(0,28/17)
(5/17,14/17)
(25/51,28/51)
O
Cmin = 86
ตอบ
5 : 14
ที่จดุ
(25/17,0)
x
ที่จดุ (35, 22.5)
แต่ y ไม่เป็นจํานวนเต็ม จึงต้องเลือกจุดข้างเคียงแทน
ก. ลด y สมมติ y = 22 จะได้ x = 36
(หาค่า x จาก x + 2y = 80 ) → C = 348,000
ข. เพิ่ม y สมมติ y = 23 จะได้ x = 34.67
ใช้ไม่ได้!
เปลี่ยนเป็น y = 24 จะได้ x = 34
(หาค่า x จาก 3x + 2y = 150 ) → C = 348,000
ปรากฏว่า C เท่ากัน จึงเลือกตอบจุดใดก็ได้
ตอบ (36 วัน, 22 วัน) หรือ (34 วัน, 24 วัน)
[หมายเหตุ ถ้าค่า C ไม่เท่ากัน ก็ให้เลือกตอบจุดทีค่ ่า
C น้อยกว่า]
Cmin = 345,000
y
x + 2y > 8
x+y< 7
x > 0, y > 0
(0,100)
x
x
5 14
( , )
17 17
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
157
π = rˆig + θn
º··Õè
7 ¿§¡ª¹a µÃÕo¡³Áiµi
ตรีโกณมิติ (Trigonometry) เป็นวิชาที่
เกี่ยวกับการวัดส่วนประกอบของรูปสามเหลีย่ ม เช่น
ความยาวด้าน, ขนาดของมุม, และขนาดพื้นที่ โดยมี
ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องอยู่ 6 ฟังก์ชัน เรียกว่า ฟังก์ชัน
ตรีโกณมิติ (Trigonometric Function) ได้แก่
ฟังก์ชันไซน์ (Sine; sin) โคไซน์ (Cosine; cos)
แทนเจนต์
(Tangent;
tan)
โคแทนเจนต์
(Cotangent; cot) ซีแคนต์ (Secant; sec) และโคซี
แคนต์ (Cosecant; cosec หรือ csc)
แต่ละฟังก์ชันมีโดเมนเป็นขนาดของมุม θ และค่าเรนจ์ที่ได้ออกมานั้นเป็นจํานวนจริง ซึ่งจะ
พบว่า หาก 0° < θ < 90° แล้ว ค่าฟังก์ชันทีไ่ ด้คือ “อัตราส่วนระหว่าง 2 ด้านในรูปสามเหลี่ยมมุม
ฉาก ที่มุมหนึ่งมีขนาดเท่ากับ θ”
a
c
b
cos θ =
c
sin θ
a
tan θ =
=
cos θ
b
sin θ =
cosec θ =
1
c
=
sin θ
a
1
c
=
cos θ
b
cos θ
1
b
=
=
cot θ =
tan θ
sin θ
a
c
sec θ =
a
θ
b
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
158
ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่ควรทราบ
θ
0°
30°
45°
60°
90°
sin θ
cos θ
tan θ
0
1/2
1/ 2
3 /2
1
1
3 /2
1/ 2
1/2
0
0
1/ 3
1
3
หาค่าไม่ได้
เอกลักษณ์ของตรีโกณมิติ ที่สําคัญ ได้แก่
1. sin 2 θ + cos 2 θ = 1 เป็นความสัมพันธ์ระหว่างค่า sin และ cos ของมุมใดๆ
ซึ่งได้มาจากทฤษฎีบทปีทาโกรัสในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ( a 2+ b 2= c 2 ..นํา c 2 หารทั้งสองข้าง)
นอกจากนี้ เมื่อนํา sin 2 θ หารทั้งสองข้างของสมการอีก จะได้ 1 + cot 2 θ = cosec 2 θ
หรือถ้านํา cos 2 θ หารทั้งสองข้างของสมการ ก็จะได้ tan 2 θ + 1 = sec 2 θ
2. sin θ = cos (90°−θ) เป็นความสัมพันธ์แบบ โค-ฟังก์ชัน (Co-function) ซึ่งสังเกตได้
จากความสัมพันธ์ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากเช่นกัน
กล่าวว่า “ถ้ามุมสองมุมรวมกันได้ 90° แล้ว ค่า sin ของมุมหนึ่งจะเท่ากับค่า cos ของอีกมุม”
และนอกจากนี้ยังมีอีกสองคู่ คือ tan θ = cot (90°−θ) และ sec θ = cosec (90°−θ)
7.1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติในวงกลมหนึ่งหน่วย
จากความสัมพันธ์ที่ว่า sin 2 θ + cos 2 θ = 1 เสมอ (ทุกๆ ค่า θ ) ถ้าให้ sin θ , cos θ
เป็นแกน x, y แล้ว จะได้กราฟเป็นรูปวงกลมรัศมี 1 หน่วย โดยมีข้อตกลงที่ใช้เป็นมาตรฐาน คือให้
“แกน x เป็น cos θ และแกน y เป็น sin θ ” กําหนดแบบนี้ก็เพื่อให้ θ เป็นมุมที่ทํากับแกน x
โดยเริ่มวัดเป็น 0° ในแนว +x และเพิ่มขึ้นในทิศทวนเข็มนาฬิกา เรียงไปตามลําดับควอดรันต์
(คือเป็น 90° ในทิศ +y, เป็น 180° ในทิศ –x, ...) พอดี
y
90° (0,1)
sin 45° = 1/ 2
60° ( 1 , 3 )
120
°
2 2
3 /2
cos 60° = 1/2
1
1 3
45
°(
, 1 )
2 /2
sin 90° = 1
(− , )
2
cos 90° = 0
sin 120° =
2
3 /2
cos 120° = −1/2
sin 180° = 0
cos 180° = −1
180°
O
(-1,0)
sin 225° = −1/ 2
cos 225° = −1/ 2
sin 300° = − 3 /2
cos 300° = 1/2
หมายเหตุ
1°
225°
(−
(องศา; degree) แบ่งเป็น
1
,− 1
2
2
60 '
2
1/2
)
30° (
θ
0° (1,0)
x
1 2 3
2 2 2
300° ( 1 , −
270° (0,-1)
(ลิปดา; minute)
Math E-Book Release 2.2.04
2
3 1
, )
2 2
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
2
3
2
)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
159
ประโยชน์ของ วงกลมหนึ่งหน่วย (Unit Circle) คือ เราสามารถหาค่าฟังก์ชนั ของมุม θ
ต่างๆ ได้ง่ายขึ้น, สามารถขยายฟังก์ชันให้ใช้กับ θ ใดๆ ก็ได้ ไม่ว่าจะเกิน 90° หรือจะเป็นค่าติดลบ
ก็ตาม (วัดตามเข็มนาฬิกา), และช่วยให้เห็นแนวโน้มของค่าฟังก์ชันเมื่อ θ อยู่ในควอดรันต์ต่างๆ
ข้อสังเกต
จากกราฟวงกลมนี้ทําให้เราได้ทราบว่า
1. sin θ , cos θ มีค่าได้ตั้งแต่ –1 ถึง 1 เท่านั้น
... เพราะ θ, −θ จะอยู่เหนือแกนและใต้แกนตรงข้ามกันเสมอ
2. sin (−θ) = − sin θ
และ cos (−θ) = cos θ ... เพราะ θ, −θ จะอยู่ซ้ายหรือขวาเท่าๆ กันเสมอ
... ได้จากการนํา sin (−θ) หารด้วย cos (−θ)
ดังนั้น tan (−θ) = − tan θ
แบบฝึกหัด 7.1
(1) ให้หาค่าของ
(1.1) sin x + sin 2x + sin 4x
(1.2) cos 4x − cos 3x + cos
x
เมื่อ
เมื่อ
x = 60°
x = 120°
(2) จงหา sin θ + cos θ หากกําหนดเงื่อนไข θ ดังแต่ละข้อ
(2.1) ปลายส่วนโค้ง θ อยู่บนเส้นตรงซึ่งเชื่อมจุด (0, 0) กับ
(2.2) ปลายส่วนโค้ง θ อยู่บนเส้นตรง y = 2x −1
(3, 4)
(3) ให้หาค่าของ
(3.1) cos 2 35° + sec 2 70° − cosec 2 47° + sin 2 35° − tan 2 70° + cot 2 47°
(3.2)
sec 2 x
2 + 2 ta n 2 x
+ cot 2 x + cot 2 x sin 2 x + sin 2 x − cosec 2 x
(4) จงเขียนให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
1
(4.1)
+
2
1 + sin θ
1
1
1
+
+
1 + cos 2θ
1 + sec 2θ
1 + cosec 2θ
(4.2) 2 (sin 6 x + cos 6 x) − 3 (sin 4 x + cos 4 x) + 1
[Hint: กระจาย (sin 2x + cos 2x)3 และ (sin 2x + cos 2x)2 ก่อน]
(5) ถ้า
sin θ − cos θ = a
(6) ถ้า
(sin θ − cos θ)2 = a2
แล้ว
sin θ cos θ
แล้ว
มีค่าเท่าใด
cosec θ − sec θ
มีค่าเท่าใด
(7) ถ้า ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งมี A เป็นมุมฉาก และ
tan B = 3/4
แล้ว ให้หาค่าของ
sec C cot B cosec A
(8) กําหนดสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีมุม B เป็นมุมฉาก หากลาก BD
ตั้งฉากกับ AC ที่จุด D แล้วพบว่า AB = 10 , BD = 8 จงหาค่า
sin, cos ของมุม A และขนาดของ BC , CD
(9) จากภาพ หาก BC = 10 และพื้นที่สามเหลี่ยม ABC
เป็น 10 3 ตารางหน่วย ให้หาขนาดพื้นที่สามเหลี่ยม ACD
Math E-Book Release 2.2.04
C
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
A
D
120°
B
E
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
160
(10) ถ้า sin θ = 0.7310 และ 0 < θ < 90° ให้หาค่า θ นั้น
(ตารางระบุค่า cos 43° = 0.7314 และ cos 43° 10 ' = 0.7294 )
7.2 ระบบเรเดียน และการลดรูปมุม
นอกจากการวัดมุมในระบบ องศา (Degree; ° ) แล้ว ยังมีอีกระบบหนึ่งซึ่งวัดจากความยาว
ส่วนโค้ง (เส้นรอบวง) ของวงกลมหนึ่งหน่วย เรียกว่า เรเดียน (Radian; rad) นั่นคือ
360° คิดเป็น 2π เรเดียน (ความยาวเส้นรอบวง)
180° คิดเป็น π เรเดียน
90° คิดเป็น π /2 เรเดียน
60° คิดเป็น π /3 เรเดียน
45° คิดเป็น π /4 เรเดียน
30° คิดเป็น π /6 เรเดียน
การแปลงหน่วยระหว่างองศา กับเรเดียน
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
ใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางศ์ ตามปกติ
y
2π/3
3π/4
5π/6
π/2
π
¶Ö§æÁÁuÁ π eÃe´Õ¹ ¨ae·Õºe·Ò¡aº 180° æµÇÒ π ≠ 180 ¹a¤Ãaº ...
˹ÇÂeÃe´Õ¹¹Õé¤×o¤Ò¨íҹǹ¨Ãi§ (æ»ÅÇÒ π Âa§¤§ÁÕ¤Ò 3.14.. eª¹e´iÁ)
π/3
π/4
π/6
0
7π/6
5π/4
4π/3
3π/2
11π/6
7π/4
5π/3
a
x
θ
r
ความสัมพันธ์ระหว่างมุม θ (หน่วยเรเดียน)
กับความยาวส่วนโค้ง a ในวงกลมรัศมี r
ใดๆ คือ θ = a / r
หมายเหตุ การวัดมุมเป็นเรเดียน มักละหน่วยไว้ ไม่ต้องเขียนกํากับว่า rad ก็ได้
หากไม่มีสัญลักษณ์องศากํากับ แสดงว่าเป็นมุมเรเดียน เช่น sin 30 นั้นจะไม่เท่ากับ 1/2
การลดรูปขนาดมุม
หากขนาดของมุมที่จะหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิตินั้น มี nπ หรือ nπ/2 ไปบวกลบอยู่ เช่น
sin(2π−θ) , cos (π+θ) , sin(π /2−θ) , ฯลฯ เราสามารถกําจัดค่าคงที่เหล่านี้ทิ้งได้ ให้เหลือเพียงมุม
y
θ เช่น sin (θ±2π) = sin θ
cos (θ±2π) = cos θ
sin(θ± π) = − sin θ
θ+π/2
cos (θ± π) = − cos θ
θ
sin(θ± π/2) = ± cos θ
x
cos (θ± π /2) = ∓ sin θ
ความสัมพันธ์เหล่านี้ พิจารณาได้จากวงกลม
หนึ่งหน่วย
θ+π
θ -π
Math E-Book Release 2.2.04
θ-π/2
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
161
ข้อสังเกตคือ เมื่อตัดมุม nπ ออก ฟังก์ชันยังคงเป็นชื่อเดิมไม่เปลี่ยน แต่ถ้าตัดมุม nπ/2
ออก ฟังก์ชันจะเปลี่ยนชื่อเป็นโคฟังก์ชันเสมอ (แต่นอกจากนี้ยงั ต้องดูเครื่องหมายบวกลบด้วย ว่า
เปลี่ยนหรือไม่)
แบบฝึกหัด 7.2
(11) วงกลมวงหนึ่งมีรัศมี 24 ซม. ให้หาความยาวส่วนโค้งที่รองรับมุมที่จุดศูนย์กลางขนาด
(11.1) 2/3 เรเดียน
(11.2) 130°
(12) มุมที่จุดศูนย์กลางวงกลมที่รัศมียาว 4 ซม. และส่วนโค้งรองรับมุมนี้ยาว 8 ซม. จะมีขนาดเป็น
กี่เรเดียน
(13) ให้หารัศมีวงกลมซึ่งมุมที่จุดศูนย์กลางมีขนาด 5 เรเดียน และส่วนโค้งที่รองรับมุมนี้ ยาว 20
นิ้ว
(14) สามเหลี่ยมหน้าจั่วมีมุมยอด 22.5° บรรจุอยู่ในวงกลม โดยจุดยอดอยู่ที่จุดศูนย์กลางของ
วงกลม ถ้าส่วนโค้งของวงกลมที่ถูกแบ่งด้วยฐานของสามเหลี่ยม ยาว 4 ซม. ให้หาความยาวรัศมีของ
วงกลมนี้
(15) ให้หาค่าของ
(16) ถ้า
sin
2π
3
cos
π
3
− cos
+ tan
π−θ⎞
f (θ) = cos ⎛⎜
⎟
⎝ 3 ⎠
4π
3
3π
4
− tan
+ sin
แล้ว ค่าของ
5π
3
7π
6
f (2π) − f (0)
เป็นเท่าใด
(17) ตอบคําถามต่อไปนี้
(17.1) เมื่อ 0 < θ < π/2 ค่าของ θ กับ sin θ ค่าใดมากกว่ากัน
(17.2) ถ้า θ มากขึ้นจาก π/2 ไปสู่ π แล้ว ค่า cosec θ เป็นอย่างไร
(18) ประโยคใดจริงหรือเท็จบ้าง
(18.1) sin 1° > sin 1
(18.2) tan 1 < tan 2
(18.3) sin(1− π) = sin 1
(19) ให้หาค่าของ
sin(2π−θ)
(19.1)
(18.4)
(18.5)
(18.6)
sin(− π /6) < 0
sin(− 11π/6) < 0
tan(π /7) = tan(6π /7)
tan(π−θ) cot (3π −θ)
cot (2π+θ) tan(π +θ)
(19.2)
[sin θ + sin(
(20) ให้หาค่าของ
(21) ให้หาค่าของ
π − θ)] 2 + [cos θ − cos (π − θ)] 2
2
2
cos 300° + sin 450° + tan 495°
sin 2(−253°) + cos 2(287°)
2
1 − sin (217°)
−
sin 2(323°)
cos 2(37°)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
162
(22) ตอบคําถามต่อไปนี้ เมื่อ 0 < x < 2π
(22.1) ค่ามากที่สุดของ 2 − cos 2x เป็นเท่าใด เมื่อ x เป็นเท่าใด
(22.2) ค่าต่ําสุดของกราฟ y = 3 sin (2x − π/2) เป็นเท่าใด เมื่อ x เป็นเท่าใด
(23) [Ent’ต.ค.42] จงหาเซต
{cos A | 0 < A < 4π /3
และ
5 − 3 sin 3A
มีค่ามากที่สุด }
7.3 สมการตรีโกณมิติ
หลักในการแก้สมการที่เป็นฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่น
2
2 tan θ − sec θ = 1 โดยรวมเป็นดังนี้
4 sin 2x + 11 cos x − 1 = 0
หรือ
ขั้นแรก ถ้าในสมการ มีฟังก์ชันอื่นๆ ที่ไม่ใช่ sin กับ cos ให้แปลงเป็น sin กับ cos ก่อน
ขั้นที่สอง เมื่อได้สมการที่มีเพียง sin กับ cos แล้ว
- หากเหลือแค่ sin หรือ cos อย่างใดอย่างหนึ่ง สามารถแยกตัวประกอบต่อได้ทันที
- แต่ถ้าเหลือทั้ง sin และ cos ปนกัน ... ให้ใช้เอกลักษณ์ sin 2 θ + cos 2 θ = 1 มาเป็นสมการช่วย
มองเป็นระบบ 2 สมการ 2 ตัวแปร (คือตัวแปร sin กับ cos) จึงจะหาคําตอบต่อได้ และต้องตรวจ
คําตอบเสมอ เพราะมีการยกกําลังสองเกิดขึ้นอาจทําให้ได้คําตอบเกิน
ตัวอยาง ใหหาเซตคําตอบของสมการ tan θ sin θ + tan θ = 0 ในชวง 0 < θ < 2π
sin θ
sin θ
วิธีคิด แปลงเปน sin กับ cos ไดดังนี้ ... cos
⋅ sin θ +
= 0
cos θ
θ
นํา cos θ คูณทั้งสองขางของสมการ ไดเปน sin θ + sin θ = 0
แยกตัวประกอบ ... (sin θ)(sin θ + 1) = 0 ... จะได sin θ = 0, − 1
แตเนื่องจากในโจทยมีฟงกชัน tan (คือมี cos เปนตัวสวน) ดังนั้น sin θ = −1 ไมได เพราะจะทําให
cos θ = 0 ... สรุปวา sin θ = 0 เทานั้น และไดเซตคําตอบเปน {0, π, 2π}
หมายเหตุ ในขัน้ ตอนการแยกตัวประกอบ อาจสมมติให sin θ = A เพือ่ ชวยใหมองงายขึ้น
•
2
ตัวอยาง กําหนดให 2 cosec x − 2 sin x = 2 cot x จะได cos x มีคาเทาใด
x
วิธีคิด แปลงเปน sin กับ cos ไดดังนี้ ... sin2 x − 2 sin x = 2 cos
sin x
นํา sin x คูณทั้งสองขางของสมการ ไดเปน 2 − 2 sin x = 2 cos x ________ (1)
เนื่องจากมีทั้ง sin และ cos เราจึงอาศัยเอกลักษณ sin x + cos x = 1 ______ (2)
โดยแทนคา sin x = 1 − cos x ลงไปในสมการแรก
กลายเปน 2 − 2(1 − cos x) = 2 cos x → 2 cos x − 2 cos x = 0
แยกตัวประกอบ ... ( 2 cos x) ( 2 cos x − 1) = 0 ... นัน่ คือ cos x = 0, 1/ 2
หมายเหตุ เนื่องจากในโจทยมีตวั สวนเปน sin x แตในคําตอบไมมีคาใดที่ทําให sin x = 0
ดังนั้นจึงตรวจสอบคําตอบ (เนื่องจากมีการยกกําลังสองเอง) พบวาใชไดทั้งสองคําตอบ
•
2
2
2
2
2
2
2
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
163
S ¡ÒÃæ¡ÊÁ¡ÒõÃÕo¡³ÁiµiÁÕ¢o¤ÇÃÃaÇa§´a§¹Õé
1. ¡Ò÷ÃÒº¤Ò¿§¡ªa¹¤Ò˹Öè§ eª¹ ·ÃÒºÇÒ sin θ = 1/2 ¨aÂa§äÁÊÒÁÒöÊÃu»ä´·a¹·ÕÇÒ θ oÂÙµÒí æË¹§ã´ e¾ÃÒa¨aÁÕ
Êo§¤íÒµoºoÂÙ㹤¹Åa¤Ço´Ãa¹µeÊÁo (eª¹ã¹¡Ã³Õ¹éÕ θ oÒ¨e»¹µíÒæË¹§ 30° ËÃ×o 150° ) ´a§¹aé¹eÃÒµo§·ÃÒº
e¾ièÁeµiÁ´ÇÂÇÒ ¤Ò θ ¹ÕéoÂÙ㹤Ço´Ãa¹µã´
o´Â»¡µieÃÒÊÒÁÒö·ÃÒº¤Ço´Ãa¹µä´¨Ò¡e¤Ã×èo§ËÁÒ¢o§¤Ò¿§¡ªa¹o×è¹ eª¹¶Ò·ÃÒºe¾ièÁÇÒ cos θ > 0 ¡ç
æÊ´§ÇÒe»¹¤Ço´Ãa¹µ 1 ¤×o 30° æµ¶Ò·ÃÒºÇÒ cos θ < 0 ¡çµo§e»¹
¤Ço´Ãa¹µ 2 ¤×o 150°
æ¼¹ÀÒ¾µo仹Õée»¹¡ÒÃÊÃu»e¤Ã×èo§ËÁÒ e¾×èo¤ÇÒÁÊa´Ç¡ã¹¡ÒÃËÒ¤íÒµoº
sin +
ALL +
tan +
cos +
Q1
e»¹ºÇ¡·a§é 6 ¤Ò
Q2 ÁÕe©¾Òa sin æÅa cosec ·Õèe»¹ºÇ¡
Q3 ÁÕe©¾Òa tan æÅa cot ·Õèe»¹ºÇ¡
Q4 ÁÕe©¾Òa cos æÅa sec ·Õèe»¹ºÇ¡
2. ÊÁÁµiÇÒµo§¡ÒÃ¤Ò θ 㹪ǧ 0 < θ < 2π æµÊÁ¡Ò÷Õèä´¹aé¹e»¹¤Ò 2θ (eª¹ sin 2θ = 1/ 2 ) ¨aµo§¢ÂÒÂ
ªÇ§¤íÒµoºe»¹ 0 < 2θ < 4π (æÅǨ֧¹íÒ¤íÒµoº 2θ ·Õäè ´·u¡¤íÒµoºËÒôÇÂÊo§) ËÒ¡äÁ¢ÂÒªǧ ¨a¡ÅÒÂe»¹
0 < 2θ < 2π ¤íÒµoº·Õèä´¨aäÁ¤Ãº
3. ¤íÒµoººÒ§¤íÒµoº (o´Âe©¾Òa·ÕèoÂÙº ¹æ¡¹ x ËÃ×o桹 y ) oÒ¨ãªäÁä´ ã¹¡Ã³Õ·èÊÕ Á¡ÒÃÁÕ¤íÒÇÒ tan , cosec ,
sec , cot e¾ÃÒa¤ÒeËÅÒ¹ÕéÁÒ¨Ò¡¡ÒÃËÒáa¹¢o§ sin, cos µo§µÃǨÊoº´ÇÂÇÒÁÕ¤íÒµoºã´ËÒ¤ÒeËÅÒ¹ÕéäÁä´ (¤×o µaÇ
Êǹe»¹ 0 ) ËÃ×oäÁ
4. ¶Òo¨·ÂäÁä´ÃaºuªÇ§¢o§¤íÒµoº ã˵oºã¹ÃÙ»·aèÇ仫Öè§¡ÒÃËÁu¹¢o§ θ e»¹¡ÕèÃoº¡çä´
eª¹ ¶Ò㹪ǧ [0, 2π] (¡ÒÃËÁu¹ÃoºæÃ¡) ÁÕ¤Òí µoº 1 ¨u´ ¤×o π/4 ã˵oºÇÒ π/4 ± 2nπ
ËÁÒÂe˵u ËÒ¡ÁÕ¤íÒµoºËÅÒ¨u´ã¹¡ÒÃËÁu¹ÃoºæÃ¡ oҨŴÃٻŧeËÅ×o»Ãao¤e´ÕÂÇä´
eª¹ ¶Ò¤íÒµoºe»¹ π/3, 2π/3 ¡çoÒ¨µoºÃÙ»·aèÇä»o´ÂÂÖ´¨u´¡Öè§¡ÅÒ§ ÇÒ π/2 ± π/6 ± 2nπ
แบบฝึกหัด 7.3
π/2 แล้ว ให้หาค่าของ
(24) เมื่อ
cos θ = 4/5
และ
0 < θ <
(25) เมื่อ
sin θ = −3/5
และ
tan θ > 0
(26) เมื่อ
tan θ = 15/8
และ π
(27) เมื่อ
sin x = 5/13
(28) กําหนดให้
และ
sec θ = 5/3
ให้หาค่าของ
< θ < 3π /2
cos x < 0
และ
0 < θ <
tan θ − cos θ
ให้หาค่าของ
ให้หาค่าของ
5 tan θ + 4 sec 2θ
sin θ + cos θ
sin (x − π) + cos (x − π)
π แล้ว ให้หาค่าของ
Math E-Book Release 2.2.04
sin θ − cos θ
tan θ − csc θ
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
164
(29) [Ent’ต.ค.43, ต้องใช้ความรู้เรื่องเมตริกซ์ด้วย]
ถ้า sin x = 3/5 และ tan x = −3/4 แล้ว จงหาค่าของ
(30) ตอบคําถามต่อไปนี้ เมื่อ 0 < θ < 2π
(30.1) ให้หาค่า θ ที่ทําให้ cos θ =
(30.2) ให้หาค่า θ ที่ทําให้ cos 2θ =
⎛ ⎡cosec x sec x ⎤ ⎞
det ⎜ 2 ⎢
1
cos x ⎥⎦ ⎟⎠
⎝ ⎣
3 /2
3/2
cos x
(31) เมื่อ
tan x + sec x = 2
(32) เมื่อ
cosec θ + cot θ = 5/3
(33) เมื่อ
2 sin x = sec x
ให้หาค่าของ
sin 4 x + cos 4 x
(34) เมื่อ
2 sin x = sec x
ให้หาค่าของ
1−
(35) เมื่อ
sin θ + cos θ = 1/5
และ
0 < θ <
π ให้หาค่าของ
(36) เมื่อ
2 tan 2θ − sec θ = 1
และ
0 < θ <
π/2 แล้ว ให้หาค่าของ
(37) เมื่อ
4 sin 2x + 11 cos x − 1 = 0
ให้หาค่าของ
แล้ว ให้หาค่าของ
sin θ
sin 2 x
cos 2 x
−
1 + cot x
1 + tan x
และ π <
x < 2π
tan θ
sec θ
ให้หาค่าของ
sin (−x) + cos (−x) + tan (−x)
(38) [Ent’36] กําหนดให้
4 sin 2θ + 11 cos θ − 1 = 0
(39) ให้หาค่า x จากสมการ
0 < θ < 2π
ที่ทําให้
(42) [Ent’35] สําหรับจํานวนจริง x ใดๆ ให้
ถามว่า
cot 2(θ+ π/2) + sec (θ− 3π)
มีค่าเท่าใด
cos 22x + 3 sin 2x − 3 = 0
(40) [Ent’38] ให้หาเซตคําตอบของอสมการ
(41) [Ent’25] ค่าของ
แล้ว
S = {x | −2π < x < 2π
และ
Ax
2 sin 4x + 3 sin 2x − 2 > 0
sin θ + cos θ < 0
Ax
เป็นเมตริกซ์ซึ่ง
โดยที่
0 < x < 2π
จะอยู่ในช่วงใด
⎡ 2 sin x 2 sin2x ⎤
Ax = ⎢
⎥
2
⎣⎢ 2 cos x cos x ⎦⎥
เป็นซิงกูลาร์เมตริกซ์ } มีจํานวนสมาชิกกี่ตัว
(43) จงหาผลบวกคําตอบทั้งหมดของสมการ x3 − 9x2 + 23x − 15 = 0 เมื่อเอกภพสัมพัทธ์
U = { x ∈ A | cos (−x) > − cos x } และ A = [0, 2π]
(44) [Ent’39] กําหนดให้ f (x) = cos 2x + cos x แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. ถ้า 0 < x < π แล้ว f (x) = 2 cos x
ข. ถ้า π < x < 2π แล้ว f (x) = 2 cos x
ค. ถ้า π/2 < x < 3π/2 แล้ว f (x) = 0
ง. ถ้า 3π/2 < x < 2π แล้ว f (x) = 0
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
165
7.4 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
การศึกษาเรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ โดยเฉพาะฟังก์ชัน sin และ cos จะเป็นประโยชน์ใน
การศึกษาเรื่องอื่นๆ ได้ เช่น คลื่น, เสียง, การเคลื่อนที่แบบเป็นคาบ (การแกว่ง), ไฟฟ้ากระแสสลับ
y = sin x
•
Dsin = R
1
π
O
2π
Rsin = [−1, 1]
x
คาบ = 2π
แอมพลิจูด = 1
-1
y = cos x
Dcos = R
1
π
O
2π
Rcos = [−1, 1]
x
คาบ = 2π
แอมพลิจูด = 1
-1
y = tan x
1
π
O
2π
x
2π
x
-1
Dtan = R − {π /2 ± nπ}
Rtan = R
คาบ = π
y = cosec x
1
O
π
-1
Dcosec = R − {±nπ}
Rcosec = R − (−1, 1)
คาบ = 2π
y = sec x
1
O
π
2π
x
Rsec = R − (−1, 1)
คาบ = 2π
-1
Math E-Book Release 2.2.04
Dsec = R − {π /2 ± nπ}
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
166
y = cot x
Dcot = R − {±nπ}
1
π
O
x
2π
Rcot = R
คาบ = π
-1
แบบฝึกหัด 7.4
(45) ให้
A = (−π /2, 0) ∪ (0, π /2)
ก. sin
(46) กราฟของ
x
y = sin
ฟังก์ชันใดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันลด บนเซต A
ข. cos x
ค. cosec x
ง. sec x
x และ y = cos x เมื่อ 0 < x < 2π ตัดกันกี่จุด และจุดใดบ้าง
7.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวก และผลต่างมุม
โดยทั่วไปการคํานวณค่าตรีโกณมิติอาจเกี่ยวข้องกับมุมที่เกิดจากการบวกกัน หรือลบกัน
ดังนั้นในหัวข้อนี้จะเป็นการสรุปสูตรที่สําคัญ เพื่อนําไปใช้ประโยชน์
สูตรชุดที่หนึ่ง .. สูตรเบื้องต้น
เราสามารถพิสูจน์สูตรหลัก คือ cos (α−β) = cos α cos β + sin α sin β ก่อน
(วิธีพิสูจน์ไม่ได้แสดงไว้ในที่นี้) และจากนั้นถ้าแทน β ด้วย −β จะได้สูตร cos (α+β)
รวมทั้งได้สูตร sin (α+β) กับ sin (α−β) จาก sin (α+β) = cos (90° − (α+β))
(1) cos (α+β) = cos α cos β − sin α sin β
⎧tan (α+β) = tan α + tan β
(2) cos (α−β) = cos α cos β + sin α sin β
⎪⎪
1 − tan α tan β
⎨
(3) sin (α+β) = sin α cos β + cos α sin β
⎪tan (α−β) = tan α − tan β
⎪⎩
1 + tan α tan β
(4) sin (α−β) = sin α cos β − cos α sin β
สูตรชุดที่สอง .. สูตรผลคูณ
เกิดจากสมการที่ (1) บวกลบกับ (2) … และสมการที่ (3) บวกลบกับ (4)
(5) 2 cos α cos β = cos (α+β) + cos (α−β)
... จาก (1)+(2)
... จาก (1)-(2)
(6) −2 sin α sin β = cos (α+β) − cos (α−β)
... จาก (3)+(4)
(7) 2 sin α cos β = sin (α+β) + sin (α−β)
... จาก (3)-(4)
(8) 2 cos α sin β = sin (α+β) − sin (α−β)
สูตรชุดที่สาม .. สูตรผลบวก และผลลบ
มีที่มาเดียวกับสูตรชุดที่สอง ... แต่กําหนดให้ A = α + β และ B =
(9) cos A + cos B = 2 cos (A + B) cos (A − B) ... จาก (5)
(10)
2
2
A +B
A −B
cos A − cos B = −2 sin (
) sin (
)
2
2
Math E-Book Release 2.2.04
... จาก (6)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
α −β
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(11)
(12)
ฟงกชันตรีโกณมิติ
167
A +B
A −B
sin A + sin B = 2 sin (
) cos (
)
2
2
A +B
A −B
sin A − sin B = 2 cos (
) sin (
)
2
2
... จาก (7)
... จาก (8)
สูตรชุดที่สี่ .. สูตรมุมสองเท่า และมุมครึ่ง
สูตรสําหรับมุมสองเท่าได้จากสมการชุดที่หนึ่งเช่นกัน คือใช้มุมเป็น
sin (2α) = 2 sin α cos α
cos (2α) = cos2α − sin2α
tan (2α) =
หรือ
α + α = 2α
cos (2α) = 1 − 2 sin2α = 2 cos2α − 1
2 tan α
1 − tan2α
สูตรสําหรับมุมครึ่ง ได้จากการย้ายข้างสมการ
โดยมองว่า α กลายเป็น α /2 และ 2α กลายเป็น α
cos (2α) = 1 − 2 sin2α = 2 cos2α − 1
sin (α /2) = ± (1− cos α)/2
cos (α /2) = ± (1+ cos α)/2
และ
tan (α /2) = ± (1− cos α)/(1+ cos α)
นอกจากนี้ยังสามารถพิสูจน์สูตรมุมใดๆ ต่อไปอีก โดยอาศัยหลักการเดียวกันกับสี่ชุดข้างต้น
เช่น อาจหาสูตรมุมสามเท่า sin(3α), cos (3α), tan(3α) หรือใช้สูตรชุดที่หนึ่งช่วยในการลดรูปขนาด
ของมุม θ ± nπ , θ ± nπ/2 เป็นต้น
แบบฝึกหัด 7.5
(47) ให้หาค่าของ
sin (75°) , cos (5π /12) ,
และ
tan (π /12)
(48) กําหนด cot A = 2.4 โดย A ∈ (π, 3π/2) และ sin B
(48.1) cos (A +B) และ sin (A +B) มีค่าเท่าใด
(48.2) มุม A +B อยู่ในควอดรันต์ใด
= 0.6
(49) จงหา
cos A
เมื่อ
sin (A +B) = 1/5 , cos (A −B) = 2/5
(50) จงหา
cos B
เมื่อ
A + B = 5π /4
และ
tan A = 1
และ
โดยที่
โดย
sin B = 3/5
0 < B <
(51) ให้หาค่าของ
(51.1) 2 cos 75° cos 15°
(51.2) 2 sin 25° cos 5° − sin 20°
(51.3) 4 sin 75° cos 15° + 4 cos 15° cos 165°
(51.4) sin 108° cos 42° + sin 42° cos 108°
(51.5) cos 68° cos 78° + cos 22° cos 12° − cos 10°
(51.6) 2 cos 35° cos 70° − cos 35° + cos 15°
(52) ให้หาค่าของ
(52.1) 2 cos 3θ sin 2θ − 2 cos 4θ sin θ − 2 cos 2θ sin θ
(52.2) sin 3θ sin 6θ + sin θ sin 2θ − sin 4θ sin 5θ
Math E-Book Release 2.2.04
B ∈ (π /2, π)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
π
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
168
(53) ให้หาค่าของ
(53.1) sin 2A + sin 2(60°+ A) + sin 2(60°− A)
(53.2) [Ent’20] cos 2A + cos 2(60°+ A) + cos 2(60°− A)
(54) ให้หาค่าของ
(54.1) cos 10° + sin 40°
(54.2)
(54.3)
(54.4)
(54.5)
sin 70°
sin 75° − sin 15°
cos 75° + cos 15°
tan 178° − tan 108°
1 + tan 178° tan 108°
⎛ cot A ⎞ ⎛ cot B ⎞
⎜⎜
⎟⎟ ⎜⎜
⎟⎟
⎝ 1+ cot A ⎠ ⎝ 1+ cot B ⎠
sin 3θ
cos 3θ
−
sin θ
cos θ
tan 10° = B
เมื่อ
เมื่อ
A +B = 225°
(55) ให้หาค่าของ
(55.1) sin 50° + sin 10° − cos 20°
(55.2) sin 10° + cos 40° − cos 20°
(55.3) cos 20° + cos 100° + cos 140°
(55.4) cos 10° + cos 20° + cos 40° + cos 50°
sin 10° + sin 20° + sin 40° + sin 50°
(56) ให้หาค่าของ
sin 40° + sin 20°
ในรูปของ
(57) ให้หาค่าของ
(57.1) cos π cos 3π
5
(57.3)
(57.4)
[Hint: นํา
5
(57.2) cos π
2 sin
3π
+ cos
5
5
π
2π
4π
cos cos
cos
7
7
7
5π
π
sin
cos
24
24
(57.5) [Ent’33]
(58) ให้หาค่าของ
5
tan 9° − tan 27° − tan 63° + tan 81°
= −2
และ
(60) [Ent’38] ถ้า 3 cos 2A − 2 cos 2B
แล้ว ให้หาค่าของ sin (A +B)
= −3
(61) [Ent’37] กําหนด
(62) [Ent’38] ถ้า
π คูณเศษและส่วน]
8 sin 70° sin 50° sin 10°
(59) กําหนด 4 sin 2A + 3 cos 2B
ค่าของ 2 cos (A +B)
จงหาค่า
sin 5°
sin 2A sec A = sin B
และ
sin 3θ + sin θ = 1 − 4 sin3θ
cos (α+β) =
3 − 4 3
10
และ
เมื่อ
sin A − 2 sin B = 0
จงหาค่าของ
cos (α−β) =
A, B ∈ [0, π /2]
เมื่อ
A, B ∈ [0, π /2]
sec 2θ + cos (3π /2 + θ)
3 + 4 3
10
แล้ว
sin 2α sin 2β
Math E-Book Release 2.2.04
ให้หา
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(63) ถ้า
tan x = 2
(64) จงหาค่า
(65) ถ้า
แล้ว จงหาค่า
sin 4θ
cos A =
ฟงกชันตรีโกณมิติ
169
เมื่อ
5 +1
4
sin 2x
1 + cos 2x
tan θ = 1/3
จงหา
และ
0 < θ <
π/2
sin(A +B) − sin(A −B) + sin(2A −B) − sin(2A +B)
(66) ข้อใดต่อไปนี้ผิด
ก. cos (x + y) + cos (x − y) = 2 cos x cos y
ข. sin(x + y) sin(x − y) = sin2x − sin2y
ค. cos (x + y) cos (x − y) = cos 2x − sin 2y
ง. cos 5x cos x + sin 5x sin x = cos 6x
7.6 ฟังก์ชันผกผันของตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติทั้งหกฟังก์ชนั (เช่น y = sin x ) สามารถหาอินเวอร์สได้โดยสลับที่
ระหว่างโดเมนและเรนจ์ตามปกติ (กลายเป็น x = sin y ) แต่อินเวอร์สที่ได้เหล่านี้ไม่เป็นฟังก์ชันเลย
เนื่องจาก x ค่าเดียว ให้ค่า y ได้หลายค่าไม่สิ้นสุด ดังนั้นหากจะกําหนดอินเวอร์สให้เป็นฟังก์ชันด้วย
เราจําเป็นต้องจํากัดช่วงของเรนจ์ และเราเรียกชื่อฟังก์ชันผกผันเหล่านี้โดยใช้คําว่า arc นําหน้า (เช่น
อินเวอร์สของ y = sin x คือ y = arcsin x ) หรือบางตําราใช้สัญลักษณ์ sin-1 x , cos-1 x , tan-1 x ,
… แทนคําว่า arc–
ความหมายของ
x = sin y
y
ต่างจาก
y = arcsin x
เพราะเรนจ์ไม่เท่ากัน
y = arcsin x
π
-1
1
O
π/2
x = sin y
-1
1
O
−π/2
x
−π
ช่วงของเรนจ์ที่ใช้กันเป็นมาตรฐานสําหรับฟังก์ชัน arcsin, arccos, arctan จะแสดงไว้ใน
กราฟต่อไปนี้ โดยมีวงกลมหนึ่งหน่วยกํากับเพื่อช่วยในการจํา ส่วนฟังก์ชัน arccosec, arcsec,
arccot จะไม่กล่าวถึงเนื่องจากไม่นิยมใช้
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
170
y = arcsin x
y = arccos x
y = arctan x
π
-1
π/2
π/2
1
-1
x
O
1
-1
x
O
−π/2
Darctan = R
Darccos = [−1, 1]
Rarcsin = [−π /2, π /2]
Rarctan = (−π /2, π /2)
Rarccos = [0, π]
0
1
= cos
π/2
∞
1
-1
0 = sin
−π/2
π
0 = tan
0
−π/2 −∞
-1
ข้อสังเกต
ฟังก์ชัน arcsin (กับ arctan) จะอยู่ในช่วงที่ cos เป็นบวกเสมอ
ส่วนฟังก์ชัน arccos จะอยู่ในช่วงที่ sin เป็นบวกเสมอ
ความสัมพันธ์ที่มีประโยชน์ในเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน คือ
arctan x + arctan y = arctan
x + y
1 − xy
ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้จากการใส่ฟังก์ชัน tan ทั้งสองข้างของสมการ
โดยความสัมพันธ์นี้ใช้ได้เมื่อ arctan x + arctan y ยังอยู่ในช่วง (−π/2, π/2)
แบบฝึกหัด 7.6
(67) ให้หาค่าของ
(68) ค่าของ
arcsin ( 3 /2)
และ
arccos (−1/2)
2 arcsin (− 3 /2) + arccos (1/ 2) + arccos (−1)
(69) ให้หาค่าของ
cos (arcsin (cos
เป็นเท่าใด
2π
2π
)+
)
7
7
(70) ให้หาค่าของ
(70.1) cos (arccos (4/5) + arccos (12/13))
(70.2) sin (arccos (3/5) + arcsin (−4/5))
(70.3) cos (2 arcsin (3/5))
(70.4) [Ent’39] tan (2 arcsin (−1/ 5))
(71) ให้หาค่าของ
และ
sin(
x
−π/2
Darcsin = [−1, 1]
π/2
1
O
π
2
+ 2 arctan( 2 − 1))
cos (3π /2 − 2 arctan x)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(72) ให้หาค่าของ A+2B เมื่อกําหนด
0 < A, B <
π /2
(73) จงหาค่า
ฟงกชันตรีโกณมิติ
171
7 tan(π /4 + A)
tan A = 1/7
เมื่อกําหนดให้
และ
sin B = 1/ 10
sin A = 1/3
และ π/2
(74) กําหนดให้
แหลม
tan A = 1/2 , tan B = 1/5 , tan C = 1/8
(75) ให้แสดงว่า
arccos (12/13) + arcsin (16/65) = arcsin (3/5)
(77) หาค่าของ
(78) ถ้า
⎛ arctan 3x + arctan x ⎞
tan ⎜
⎟
2
⎝
⎠
4 cos2(arctan x) − 1 = 0
และ
เมื่อ
e 1/ x < 1
< A <
จงหาขนาด
(76) ให้หาค่า x จากสมการต่อไปนี้
(76.1) arccos (4/5) − arcsin (−3/5) = arccos x
(76.2) arctan (x2/3 − x) = arcsin (7/25) + arccos (4/5)
(76.3) arctan(1/7) + arctan(1/8) + arctan(1/18) = arccot
(76.4) arctan (2x + 1) + arctan (2x −1) = arccos (1/ 5)
(76.5) arctan x + 2 arctan 1 = 3π/4
(76.6) [Ent’38] arctan (1+ x) + arctan (1− x) = π/4
(76.7) arccos (−1/2) + (π/2) = arcsin x
โดยที่
A +B + C
ที่เป็นมุม
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
x
¡ÒÃæ¡ÊÁ¡Ò÷ÕèÁÕ arc- eÁ×èoä´
¤íÒµoº («Öè§e»¹¤ÒÁuÁ) oo¡ÁÒ
æÅÇ ¨aµo§µÃǨ¤íÒµoºeÊÁo
e¾ÃÒaÁuÁ·Õèä´¹oéÕ Ò¨äÁoÂÙ㹪ǧ
Áҵðҹ¢o§ arc- ËÃ×oÁuÁ·Õè
ä´¹éoÕ Ò¨·íÒãËÊÁ¡ÒÃe»¹e·ç¨..
arctan 3x − arctan x =
จงหา
π
π/6
x + tan(arctan(x/2))
7.7 เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ
สมการใดๆ ที่มีฟังก์ชันตรีโกณมิติปรากฏอยู่ จะเรียกว่า สมการตรีโกณมิติ การแก้สมการ
ตรีโกณมิตินั้นมีข้อควรระวัง ซึ่งได้กล่าวไปแล้วทั้งหมดในหัวข้อ 7.3 และหากสมการตรีโกณมิตินั้น
เป็นจริงเสมอสําหรับทุกๆ ค่า (ที่หาค่าฟังก์ชันได้) จะเรียกว่าเป็น เอกลักษณ์ของตรีโกณมิติ
เอกลักษณ์ของตรีโกณมิติที่สําคัญมีหลายชุด ได้ศึกษาผ่านมาตั้งแต่ต้นบทจนถึงหัวข้อนี้ เช่น
sin θ + cos 2 θ = 1 , sin θ = cos (90°−θ) , sin (−θ) = − sin θ , cos (θ± π) = − cos θ ,
cos (α+β) = cos α cos β − sin α sin β , 2 cos α cos β = cos (α+β) + cos (α−β) ,
sin (2α) = 2 sin α cos α ฯลฯ
ซึ่งนอกจากนี้ยังมีเอกลักษณ์อีกมากมาย ดังจะได้ฝึกพิสูจน์เอกลักษณ์ในแบบฝึกหัดต่อไปนี้
2
แบบฝึกหัด 7.7
(79) ให้หาคําตอบของสมการต่อไปนี้ ภายในช่วงที่กําหนดให้
1
1
(79.1)
−
= 4
sin x + 1
(79.2)
(79.3)
sin x − 1
0 < x < 2π
sin 4θ + sin 2θ = 2 cos θ
0 < θ < 2π
2 sin 2θ + 3 cot 2θ − 3 cosec 2θ = 0
0 < θ <
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
π/2
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
172
(79.4) [Ent’31] cos4x − sin4x = 1
(79.5) [Ent’29] 4 sin2 x − 6 tan x + 2 sec2 x
(79.6) 4 sin x cos x + 2 2 cos x + 2 sin x +
(79.7) sin x + 3 cos x = sec (x + π)
0 < x < 2π
= 0
0
2 = 0
0
3
(79.8) [Ent’34]
(79.9) [Ent’30]
π/2
< x < 2π
< x < 2π
0 < x <
2 sin2x + 1 = − sin x + 2 2 sin2x + sin x
0 < x < 2π
sin x − sin 2x + sin 3x = 0
0 < x < 2π
(80) ให้หาช่วงคําตอบของอสมการต่อไปนี้
(80.1) [Ent’38] 2 sin4x + 3 sin2x − 2 > 0
(80.2) 3 sin x + cos x < 1
(81) [Ent’32] ให้หาคําตอบรูปทั่วไปของสมการ
0 < x < 2π
0 < x < 2π
cos 2θ = sin θ
(82) จงแสดงว่าเอกลักษณ์ต่อไปนี้เป็นจริง
(82.1) tan (90° − A) = cot A
(82.2) 1 − cos x = tan2 x
(82.3)
1 + cos x
2
sin x + sin y
x + y
= tan
cos x + cos y
2
(82.4)
tan2x − sin2x = tan2x sin2x
(82.5)
A
A⎞
⎛
− sin ⎟ = 1 − sin A
⎜ cos
2
2⎠
⎝
2
(83) ถ้า A, B, C เป็นมุมในรูปสามเหลี่ยม จงแสดงว่า
sin A + sin B
C
= cot
cos A + cos B
2
7.8 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์
กฎของไซน์ และกฎของโคไซน์ เป็นความสัมพันธ์ที่ใช้กับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ที่ทราบบาง
ส่วนประกอบ (ความยาวด้าน และขนาดมุม) เพื่อหาค่าของส่วนประกอบที่เหลือ มีประโยชน์กับ
การศึกษาเรขาคณิตวิเคราะห์ และเวกเตอร์
1. กฎของไซน์ (Law of Sine)
B
“อัตราส่วนของค่าไซน์ของมุมๆ หนึ่ง ต่อความยาวด้าน
ตรงข้าม จะเท่ากันทั้งสามมุม”
sin A
sin B
sin C
c
a
=
=
a
A
b
c
โดยกฎของไซน์นี้พิสูจน์มาจาก พื้นที่สามเหลี่ยม
( 1 bc sin A = 1 ca sin B = 1 ab sin C )
b
C
2
2
2
2. กฎของโคไซน์ (Law of Cosine)
“เราสามารถหาความยาวด้านที่เหลือ ได้จากความยาวด้านสองด้านและขนาดมุมตรงกลาง”
a 2 = b 2+ c 2− 2bc cos A
(ถ้ามุมตรงกลางนั้นเป็น
A = 90°
กฎนี้จะกลายเป็นทฤษฎีบทปีทาโกรัส)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
173
แบบฝึกหัด 7.8
(84) กําหนดสามเหลี่ยม ABC มีด้าน a ยาว 10 หน่วย, b ยาว
หน่วย ให้หาขนาดมุมทั้งสาม
(85)
ΔABC
มีด้าน
a = 2 5, b = 4 5
และ
c = 3 5
(86) สามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีอัตราส่วนความยาวด้านทั้งสามเป็น
สามเหลี่ยมรูปนี้มีมุมหนึ่งขนาดเป็นสองเท่าของอีกมุมหนึ่ง
(87)
ΔABC
B = 65° ,
มีมุม
a = 4, c = 8
ด้าน
10 3
ให้หาค่า
หน่วย และ c ยาว 10
sin (B/2)
a:b :c = 4:5:6
ให้แสดงว่า
ให้หาความยาวด้าน b (กําหนด
cos 65° = 0.422 )
(88)
ΔABC
มีด้าน
(89)
ΔABC
มีมุม A ขนาด
(90) ΔABC มีมุม
สามเหลี่ยมชนิดใด
(91)
ΔABC
มีมุม
c = 15 , a = 12
B = 30°
45°
และ
และ
และด้าน
A = 20° , B = 47°
A = 27° , sin A = 0.454
a = 2 2, b = 2 3
c = 150 , b = 50 3
และด้าน
b = 12
จงหามุม C
จงหาขนาดของมุมที่เหลือ
ให้พิจารณาว่าสามเหลี่ยมนี้เป็น
หน่วย ให้หาความยาวด้าน a (กําหนด
sin 20° = 0.342, sin 47° = 0.731 )
(92) สามเหลี่ยม ABC มีค่า
(a + b + c)(b + c − a) = 3bc
(93) [Ent’38] สามเหลี่ยม ABC มีค่า
จงหาขนาดของมุม A
(a + b + c)(a − b − c) = −3bc
และ
4a2 = 6b2
จงหาค่า
2
1 + 2 sin (3A −2B)
(94) [Ent’25] ถ้าความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยมเป็น x, y,
ลักษณะของสามเหลี่ยมนี้
x2+ xy + y2
ตามลําดับ ให้บอก
(95) เครื่องบินขับไล่สองลําบินในแนวราบ ออกจากฐานทัพพร้อมกัน โดยทิศทางการวิ่งทํามุมกัน
38° ถ้าเครื่องบินมีความเร็ว 320 และ 380 ไมล์ต่อชั่วโมง ตามลําดับ จงหาระยะทางระหว่าง
เครื่องบินสองลํานี้เมื่อเวลาผ่านไปหนึ่งชั่วโมง ( cos 38° = 0.788 )
7.9 การประยุกต์หาระยะทางและความสูง
ในชีวิตจริงการวัดระยะทางหรือความสูงของสิ่งต่างๆ ไม่สามารถใช้เครื่องมือวัดโดยตรงได้
เสมอไป เราจึงใช้ความรู้เรื่องตรีโกณมิติในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากช่วยในการคํานวณ
ศัพท์ที่ใช้เรียกมุมที่เกิดจากการสังเกตนั้น คือ มุมก้ม (Angle of Depression) และ มุม
เงย (Angle of Elevation) โดยมุมก้มคือมุมที่วัดลงไปจากแนวราบ (ระดับสายตา) ส่วนมุมเงยคือ
มุมที่วัดขึ้นจากแนวราบ
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
174
แบบฝึกหัด 7.9
(96) ชายคนหนึ่งอยู่ริมเขื่อนซึ่งสูงเหนือระดับน้ําทะเล 300 เมตร มองเห็นเรือ A กับ B อยู่ใน
ระนาบเดียวกัน เป็นมุมก้ม 33° และ 20° ตามลําดับ เรือสองลํานี้อยู่ห่างกันเท่าใด
(กําหนด sin 33° = 0.5446, cos 33° = 0.8387, sin 20° = 0.3430, cos 20° = 0.9397 )
(97) หากมองจากจุด A ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของตึก จะเห็นยอดตึกเป็นมุมเงย 45° แต่หากมองจากจุด
B ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของจุด A อีก 40 เมตร จะเห็นยอดตึกเป็นมุมเงย 30° แสดงว่าความสูง
ของตึกเป็นกี่เมตร
* (98) สามเหลี่ยมมุมฉาก PQR และ PQS ซ้อนทับกันโดยมีมุม Q เป็นมุมฉากร่วมกัน และ
ˆ
ˆ = arctan 0.6
QR : RS = 1 : 3 ให้หาค่า tan SPQ
เมื่อกําหนด SPR
[Hint: ใช้ความสัมพันธ์ arctan x ± arctan y ]
เฉลยแบบฝึกหัด (คําตอบ)
(33) 1/2 (34) 1/2
(56) 1 − 2 sin 25°
(1.1) 3 /2 (1.2) –2
(35) –4/3 (36) 3/2
(57.1) –1/4 (57.2) 1/2
(2.1) 7/5 (2.2) 7/5 หรือ –1
(37)
−
(1
+
3
15)/4
(38)
19
(57.3) –1/8
(3.1) 1 (3.2) 1/2 (4.1) 2
2
π
/4
±
n
π
(39)
(57.4) ( 2 + 1)/4
(4.2) 0 (5) (1−a )/2
(40) [π/ 4, 3π/ 4] ∪ [5π / 4, 7π / 4] (57.5) 1 (58) 4 (59) –1
(6) ±2a/(1 − a 2) (7) 20/9
(8) 4/5, 3/5, 13.33, 10.67
(41) [3π/4, 7π/4] (42) 9 (60) 1 (61) 39/28
(62) 12 3 /25 (63) 2
(9) 8 3 ตารางหน่วย
(43) 1+5=6 (44) ค. (45) ค. (64) 24/25 (65) sin B
(10) 46°58 ' (11.1) 16 ซม. (46) 2 จุด คือ
(66) ง. (67) 60° , 120°
(11.2) 52π/3 ซม.
(π/4, 1/ 2),(5π /4, −1/ 2)
(68) 7π/12 (69) 0
(12) 2 เรเดียน (13) 4 นิ้ว
(47) ( 3 + 1) / 2 2 ,
(70.1) 33/65 (70.2) 0
(14) 32/ π ซม.
( 3 − 1) / 2 2 , ( 3 − 1) /( 3 + 1)
(70.3) 7/25 (70.4) –4/3
(15) −(3 3 + 1)/2 (16) 0
(48.1) 63/65, –16/65
(71) 1/ 2 , −2x/(1+ x 2)
(17.1) θ
(48.2) Q4 (49) 5/7
(72) π/4 (73) 9−4 2
(17.2) เพิ่มขึ้นจาก 1 ถึง ∞
(50) ±1 (51.1) 1/2
(74) π/4 (75) ...
(18) เท็จทุกข้อ ยกเว้น (18.4) จริง (51.2) 1/2 (51.3) 0
(19.1) − sin θ (19.2) 2
(76.1) 7/25 (76.2) -1, 4
(51.4) 1/2 (51.5) 0
(76.3) 3 (76.4) 1/2
(20) 1/2 (21) 1
(51.6) 1/ 2 (52.1) 0
(76.5) 1 (76.6) ± 2
(22.1) เป็น 3 เมื่อ x = π/2, 3π/2 (52.2) 0 (53.1) 3/2
(76.7) ไม่มีคาํ ตอบ (77) 1
(22.2) เป็น –3 เมื่อ x = π
(53.2) 3/2 (54.1) 3
−3 3 /2
(78)
(23) {0, − 3 /2} (24) 10
(54.2) 1/ 3
(79.1) π/ 4, 3π/ 4, 5π/ 4, 7π/ 4
(25) 31/20 (26) –23/17
(54.3) ( 3 +B) /(1− 3B)
(79.2) π/6, π/2, 5π/6, 3π/2
(27) 7/13 (28) 12/5
(54.4) 1/2 (54.5) 2
(79.3) π/6 (79.4) 0, π, 2π
(29) –1/3 (30.1) π/6, 11π/6 (55.1) 0 (55.2) 0
(79.5) π/4
(30.2) π/ 12, 11π/ 12, 13π / 12, 23π / 12 (55.3) 0 (55.4) 3
(79.6) 2π/ 3, 5π/ 4, 4π/ 3, 7π/ 4
(31) 4/5 (32) 15/17
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
175
(79.7) 11π/12, 23π/12
(79.8) π/6, 5π /6, 3π/2
(79.9) 0, π/3, π/2, π, 5π/3, 3π/2, 2π
(80.1) [π/4, 3π/4] ∪ [5π/4, 7π /4]
(80.2) (2π/3, 2π)
(81) π/6 ± 2nπ/3 (82,83) ...
(84) 30°, 120°, 30° (85) 5/8
(86) C = 2A เนือ่ งจาก cos C = 2 cos2A
(87) 7.28 (88) 34.6°, 145.4°
(89) 75°, 60° หรือ 15°, 120°
(90) สามเหลี่ยมมุมฉาก A = 90° หรือ
สามเหลีย่ มหน้าจั่ว A = 30°
(91) 5.61 (92) 60° (93) 3
(94) สามเหลี่ยมมีมุมหนึ่งเป็นมุมป้าน 120°
(95) 234.86 ไมล์ (96) 359.9 เมตร
(97) 20 2 (98) 1 หรือ 4
− 1
เฉลยแบบฝึกหัด (วิธีคดิ )
(1.1)
=
sin 60° + sin 120° + sin 240°
3
3
3
3
+
+ (−
)=
2
2
2
2
(1.2)
1
sin2 θ
1 + sin2 θ
+
=
= 1
2
2
1 + sin θ sin θ + 1
1 + sin2 θ
1
1
และเช่นเดียวกัน
+
1 + cos2 θ 1 + sec2 θ
1
cos2 θ
1 + cos2 θ
=
+
=
= 1
2
2
1 + cos θ cos θ + 1
1 + cos2 θ
∴ ตอบ 2
=
cos 480° − cos 360° + cos 120°
= cos 120° − cos 0° + cos 120°
1
1
= (− ) − 1 + (− ) = −2
2
2
y
(2.1)
(4,3)
4
5
θ
sin θ + cos θ
4 3
7
=
+
=
5 5
5
x
3
(4.2) ให้ A = sin2 x และ B = cos2 x
จะได้วา่ A + B = 1
โจทย์ถาม 2(A3 + B3) − 3(A2 + B2) + 1
ลองกระจาย (A + B)3 = 13
(2.2) แก้ระบบสมการ หาจุดตัดของเส้นตรง
y = 2x − 1 กับวงกลม x2 + y2 = 1 จะได้เป็น
→ A3 + 3A2B + 3AB2 + B3 = 1
→ A3 + B3 = 1 − 3AB2
x2 + (2x − 1)2 = 1 →
5x2 − 4x = 0 → x = 0
หรือ
x = 0 ได้ y = −1
4
ได้ y = 3
x =
5
5
∴ sin θ + cos θ = −1
หรือ
→ A + 2AB + B2 = 1
(4/5,3/5)
cos2 35° + sin2 35° = 1
sec2 70° − tan2 70° = 1
= −1
2
2
(3.2) sec x2 = sec 2x = 1 ,
2
2 + 2 tan x
2 sec x
cot2 x − cosec2 x = −1 และ
cot2 x sin2 x + sin2 x = cos2 x + sin2 x = 1
ตอบ
1/2 − 1 + 1 = 1 / 2
2
2
(0,-1)
และ −cosec2 47° + cot2 47°
(เอกลักษณ์ของตรีโกณฯ)
∴ ตอบ 1 + 1 − 1 = 1
..... (1)
(A + B) = 1
2
→ A2 + B2 = 1 − 2AB
θ
7/5
(3.1)
และกระจาย
4
→
5
y
ถ้า
ถ้า
1
1
+
2
1 + sin θ 1 + cosec2 θ
(4.1) จาก
x
..... (2)
แทนค่าสมการ (1),(2) ลงในโจทย์ จะได้
2(1 − 3A2B − 3AB2) − 3(1 − 2AB) + 1
= −6A2B − 6AB2 + 6AB
= (−6AB)(A + B − 1) = 0
(เพราะ
A + B = 1)
(5) ยกกําลังสองทั้งสองข้าง
sin2 θ − 2 sin θ cos θ + cos2 θ = a2
→ 1 − 2 sin θ cos θ = a2
∴ sin θ cos θ =
1 − a2
2
1
1
−
sin θ cos θ
cos θ − sin θ
±a
2a
=
=
= ±
sin θ cos θ
1 − a2
1 − a2
(
)
2
(6)
cosec θ − sec θ =
หมายเหตุ
Math E-Book Release 2.2.04
sin θ cos θ =
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
1 − a2
2
มาจากข้อที่แล้ว
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
sec C cot B cosec A
(7)
5
* ค่า cosec A ดูจาก Δ ไม่ได้
เพราะ A = 90° ไม่ใช่มุมแหลม
(8) จากปีทาโกรัส
B
จะได้ AD = 6
10
tan A =
C
4
A
3
D
∴ AC = 16.67
CD = 10.67
8
4
6
3
sin A =
= , cos A =
=
10
5
10
5
BC = 10 ,
พืน้ ที่ ΔABC
1
⋅ 10 ⋅ AD → AD = 2 3
2
ˆ = 120° → ABD
ˆ = 60° →
ABE
3 =
(10)
1
⋅8⋅2 3 = 8 3
2
0.7294 = cos 43°10’ x
0.7310 = cos ..........
0.7314 = cos 43°0’
ตร.หน่วย
10’
เทียบบัญญัติไตรยางศ์ (ประมาณค่าแบบเส้นตรง)
ได้ว่า 0.0016 = x → x = 8 '
10 '
ดังนัน้ 0.7310 คือ cos 43°2 ' (โดยประมาณ)
และเท่ากับ sin θ ดังนั้น จากโค-ฟังก์ชัน
แสดงว่า θ = 90° − 43°2 ' = 46°58 '
(11.1) θ = a → 2 = a → a = 16 ซม.
r
3
24
130° เป็นเรเดียน แล้วจึงคํานวณ
π
a
13π
→ 130(
)=
→ a =
⋅ 24
180
24
18
52π
ซม.
=
3
(12) θ = 8 = 2 เรเดียน
4
20
(13) 5 = → r = 4 นิว้
r
(11.2) ต้องทํา
(14)
→
22.5°
π
8
=
คิดเป็น
4
→ r =
r
π
8
32
π
π
3
π
) − cos( )
3
= 0
∴ tan 1 > tan 2
ΔACD =
0.0020
− cos
(18.2) tan 2 ติดลบ
tan 1 เป็นบวก
และ
0.0020
0.0016
พื้นที่
3
3
π/2 ≈ 1.57
1
sin 1
1°
sin 1°
AD
2 3
=
→
DB
DB
DB = 2 ∴ CD = 8
π
π
(18.1) sin 1° < sin 1
∴ ตอบ เท็จ
= 10 3
∴ 10 3 =
tan 60° =
f(2π) − f(0) = cos(−
(17.1) θ > sin θ
เพราะ θ คือความยาวส่วนโค้งบนเส้นรอบวง
C แต่ sin θ คือความยาวเส้นตรงบนแกน y
(17.2) ค่า sin θ ลดลง จาก 1 ไปสู่ 0
∴ ค่า cosec θ (ซึ่งเป็นส่วนกลับของ sin)
จะเพิ่มขึ้น จาก 1 ถึง ∞
8
A
(16)
[
= cos
จะได้
(9)
3
1
1
1
− (− ) − (− 3)] ÷ [ + (−1) + (− )]
2
2
2
2
3 3 +1
3 3 +1
=(
) ÷ (−1) = −
2
2
B (15)
5 4
20
= ( )( )(1) =
3 3
9
8
BC
=
6
10
∴ BC = 13.33
6
10
cos A =
=
10
AC
ฟงกชันตรีโกณมิติ
176
π/2 ≈ 1.57
2
1
ข้อนี้ เท็จ
(18.3) sin(1 − π) =
∴ ข้อนี้ เท็จ
1
− sin 1
1-π
π
(18.4)
sin(−
) < 0 จริง (ควอดรันต์ที่ 4)
6
(18.5) sin(− 11π) < 0 เท็จ (ควอดรันต์ที่ 1)
6
π
(18.6) sin = sin 6π แต่ cos π = − cos 6π
7
7
7
7
π
6π
ข้อนี้ เท็จ
∴ tan
= − tan
7
7
(19.1) (− sin θ)(− tan θ)(− cot θ) = − sin θ
(cot θ)(tan θ)
(19.2)
(sin θ + cos θ)2 + (cos θ − sin θ)2
= (1 + 2 sin θ cos θ) + (1 − 2 sin θ cos θ) = 2
cos 300° + sin 90° + tan 135°
= 1/2 + 1 + (−1) = 1 / 2
(20)
(21) ข้อนี้ใช้วงกลมหนึ่งหน่วย ช่วยลดขนาดมุมลง
เรเดียน
sin2(107°) + cos2(73°)
sin2(37°)
−
2
1 − sin (143°)
cos2(37°)
ซม.
=
sin2(73°) + cos2(73°)
sin2(37°)
−
2
1 − sin (37°)
cos2(37°)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
=
ฟงกชันตรีโกณมิติ
177
1
sin2(37°)
cos2(37°)
−
=
= 1
cos2(37°) cos2(37°)
cos2(37°)
(29)
sin + , tan −
→ Q2
⎛ ⎡csc x sec x ⎤ ⎞
(22.1) 2 − cos 2x มากสุดแสดงว่า cos 2x น้อย det ⎝⎜ 2 ⎣⎢ 1 cos x ⎥⎦ ⎠⎟
สุด → cos 2x = −1 (ต่าํ สุดของ cos )
= 22(csc x cos x − sec x)
5
4
5
1
∴ 2 − cos 2x มากสุดเท่ากับ 3
= 4( ⋅ (− ) − (− ))
= −
3
5
4
3
เมื่อ cos 2x = −1 → 2x = π, 3π
(* อย่าลืมขยายช่วงเป็น 0 < 2x < 4π )
(30.1) cos θ = 3 → θ = π , 11π
∴x =
π
2
2
3π
2
,
(22.2) ต่ําสุดเป็น
sin(2x −
2
เมื่อ
) = −1 → 2x −
[* ขยายช่วงเป็น
∴x =
−3
π
π
2
=
2
θ =
0 < 2θ < 4π )
π 11π 13π 23π
12
,
(31) นํา
2
7π
3
{cos A |.....} = {cos , cos
} = {0, −
}
2
6
2
(24) ควอดรันต์ที่ 1
5 tan θ + 4 sec θ
3
5
= 5( ) + 4( )2
4
4
= 10
5
4
tan θ − cos θ
−3
4
31
= ( ) − (− ) =
−4
5
20
-4
-3
5
แต่
กับ
12
cos x
cos x = 0
sec x
5
ไม่ได้ เพราะในโจทย์มคี ําว่า
4
∴ ตอบ cos x =
tan x
5
sin x คูณสองข้าง
5
1 + cos x = sin x ..... (1)
3
-8
-15
17
∴ sin4 x + cos4 x = 1 − 2 sin2 x cos2 x
1
1
= 1 − 2( ) =
4
2
sin2 x
cos2 x
−
1 + cot x 1 + tan x
sin3 x
cos3 x
1−
−
sin x + cos x cos x + sin x
sin3 x + cos3 x
1−
sin x + cos x
1 − (sin2 x − sin x cos x + cos2 x)
1
sin x cos x → ตอบ
(จากข้อ
2
(34) จาก
→ Q2
=
sin(x − π) + cos(x − π)
= − sin x − cos x
5
12
7
= −( ) − (− ) =
13
13
13
sec + , 0 < θ <
,
sin4 x + 2 sin2 x cos2 x + cos4 x = 1 →
sin θ + cos θ
15
8
23
= (− ) + (− ) = −
17
17
17
(26)
(28)
12
แก้สมการเช่นเดียวกับข้อที่แล้ว จะได้
sin x = 0 หรือ 15 / 17
แต่ sin x = 0 ไม่ได้ ดังนัน้ ตอบ 15 / 17
(33) 2 sin x = sec x → 2 sin x cos x = 1
โจทย์ถาม sin4 x + cos4 x
จึงเริ่มจากกระจาย (sin2 x + cos2 x)2 = 12 →
3
sin − , tan + → Q3
sin + , cos −
,
(32) นํา
2
(27)
12
คูณสองข้าง
sin x + 1 = 2 cos x ..... (1)
แต่ sin2 x + cos2 x = 1 ..... (2)
แทน sin x จาก (1) ลงใน (2)
จะได้ cos x = 0 หรือ 4
π
(25)
cos 2θ =
(ขยายช่วง
(23) 5 − 3 sin 3A มีค่ามากที่สดุ
แสดงว่า sin 3A = −1 → 3A = 3π , 7π
[ ขยายช่วงเป็น 0 < A < 4π]
π 7π
และจะได้
∴A =
,
2 6
6
3
2
π 11π 13π 23π
→ 2θ =
,
,
,
6 6
6
6
(30.2)
3π
2
π
π 7π
−
< 2x −
<
]
2
2
2
π
6
π → Q1
5
13
-12
=
=
=
1−
sin θ − cos θ
4/5− 3/5
12
=
=
tan θ − csc θ
4/3 −5/4
5
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
33)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
1
− sin θ .....
5
cos θ =
(35)
∴ sin 2x = 1 → 2x =
(1)
cos2 θ + sin2 θ = 1 ..... (2)
1
∴ ( − sin θ)2 + sin2 θ = 1
5
→ 25 sin2 θ − 5 sin θ + 12 = 0
แต่
(5 sin θ − 4)(5 sin θ + 3) = 0
4
sin θ =
หรือ − 3
5
5
0 < θ <
โจทย์กาํ หนด
π
(40)
4
± 2nπ
± nπ
2 sin4 x + 3 sin2 x − 2 > 0 →
(2 sin2 x − 1)(sin2 x + 2) > 0
2
4
sin θ =
5
sin x = 1 /
4
tan θ = −
3
ตอบ
(36) แทนค่า tan2 θ ด้วย sec2 θ − 1
(เอกลักษณ์) จะได้ 2(sec2 θ − 1) − sec θ
= 1
→ 2 sec2 θ − sec θ − 3 = 0
2
ตอบ [ π , 3π ] ∪ [5π , 7π ]
4
4
4
4
(41) sin θ + cos θ < 0 คือ
ดั
(ควอดรันต์ที่ 1) งนัน้ จากภาพ
ตอบ [ 3π , 7π ]
4 4
ด้วย 1 − cos2 x (เอกลักษณ์)
sin2 x
2
sin x = − 1 /
(2 sec θ − 3)(sec θ + 1) = 0
3
หรือ −1 ตอบ 3
sec θ =
2
2
(37) แทน
π
→ x =
π
2
ซึ่งพบว่า sin2 x + 2 มากกว่า 0 เสมออยู่แล้ว
ดังนัน้ 2 sin2 x − 1 > 0 → sin2 x > 1
ดังนัน้
3
cos θ = −
5
จาก (1) ได้
ฟงกชันตรีโกณมิติ
178
y+x<0
→ 4(1 − cos2 x) + 11 cos x − 1 = 0 →
4 cos2 x − 11 cos x − 3 = 0 →
(4 cos x + 1)(cos x − 3) = 0 →
1
cos x = −
หรือ 3
4
แต่
cos x = 3
(42) Ax เป็นซิงกูลาร์เมตริกซ์
แสดงว่า det(Ax) = 0
1
∴ cos x = −
4
เป็นไปไม่ได้
sin(−x) + cos(−x) + tan(−x)
โจทย์ให้หาค่า
= − sin x + cos x − tan x
− 1− cos2 x
โดย
(38) จากข้อ 37 พบว่า
โจทย์ถาม
cos2(θ +
cot2(θ +
π
cos θ = −
1
→
4
) + sec(θ − 3π) →
sin2 θ
15 / 16
+ (− sec θ) =
+ 4 = 19
1 / 16
cos2 θ
(39)
(1 − sin 2x) + 3 sin 2x − 3 = 0
2
→ sin2 2x − 3 sin 2x + 2 = 0 →
หรือ
1
sin x cos x =
1
2
cos x = 0
1
→
2
แก้สมการ
ต่อ
sin x = 0
cos x = 0
3
2
x − 9x + 23x − 15 = 0
→ (x − 1)(x − 3)(x − 5) = 0
(43)
[sin 2x = 2
→ cos x > 0 (Q1, Q4)
พบว่า
cos 1 > 0 ,
1
3
cos 3 < 0 , cos 5 > 0
(sin 2x − 2)(sin 2x − 1) = 0 →
sin 2x = 2
หรือ
x = 1 หรือ 3 หรือ 5
แต่ U = {x | cos(−x) > − cos x}
หรือ cos x > − cos x → 2 cos x > 0
)
2 + sec(θ − π)
π
sin2(θ + )
2
=
→ sin x = 0
... พบว่าไม่มีคําตอบ
ดั
..ติดลบเพราะ Q3 ) งนัน้ ค่า x ในช่วง
[−2π, 2π] มี 9 ตัวดังภาพ
π
2
→ 2 sin x cos x (1 − 2 sin x cos x) = 0
sin x cos x =
1 + 3 15
= −
4
sin x
→ 2 sin x cos x − 2 2 sin2 x cos2 x = 0
หรือ
15
1
) + (− ) − ( 15)
= −(−
4
4
(หาค่า
y+x=0
เป็นไปไม่ได้ ]
ดังนัน้ ตอบ
Math E-Book Release 2.2.04
1+5 = 6
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
5
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
179
(44) f(x) = |cos x | + cos x →
ถ้า cos x > 0 (Q1, Q4) จะได้ f(x) = 2 cos x
แต่ถ้า cos x < 0 (Q2 , Q3) จะได้ f(x) = 0
ดังนัน้ ข้อ ค. ถูก
(45) พิจารณาค่าจากกราฟ ตอบ ค. cosec x
(ถ้ามี cot x ก็ถูกเช่นกัน)
(46) หาจุดตัดของ y = sin x และ y = cos x
โดยแก้ระบบสมการ sin x = cos x
ก็คือ tan x = 1 → x = π หรือ 5π
(48.2) เนื่องจาก cos(A + B) เป็นบวก และ
sin(A + B) เป็นลบ ดังนัน
้ A + B อยู่ใน Q4
∴
2
ตอบ
จุด ได้แก่
4
π 1
( ,
)
4
2
(ดูภาพประกอบ)
cos x
sin x
π
O
(47)
กับ
4
5π
1
(
,−
)
4
2
2π
sin 75° = sin(45° + 30°)
= sin 45° cos 30° + cos 45° sin 30°
1
3
1
1
⋅
+
⋅ =
2 2
2 2
=
cos
5π
π π
= cos( + )
12
4 6
π
= cos
4
cos
π
6
− sin
π
4
1
3
1
1
⋅
−
⋅ =
2 2
2 2
=
tan
3 +1
2 2
π
12
= tan(
1
3 =
=
1
1+
3
1−
(48) จาก
π
4
−
sin
tan
)=
π
4
1 + tan
− tan
π
4
π
6
tan
π
6
3 −1
3 +1
cot A = 2.4 =
12
5
(49)
cos A cos B + sin A sin B =
โจทย์ให้
และ
A ∈ Q3
3
→
5
4
5
..... (2)
มีสองกรณีคือ
cos B =
กับ
2
5
..... (1)
4
5
จะได้
4
3
1
sin A + cos A =
5
5
5
และ (2) 3 sin A − 4 cos A = 2
5
5
5
11
แก้ระบบสมการได้ cos A = − ซึ่งเป็นไปไม่ได้
7
4
ดังนัน้ cos B = เท่านัน้
5
4
จะได้ (1) sin A + 3 cos A = 1
5
5
5
3
4
2
และ (2) sin A + cos A =
5
5
5
5
แก้ระบบสมการได้ cos A = ... ตอบ
7
(1)
−
5π
tan A = 1 → tan(
− B) = 1
4
5π
tan
− tan B
1 − tan B
4
→
= 1→
= 1
5π
+ tan B
1
1 + tan
tan B
4
∴ tan B = 0 →
ถ้า 0 < B < π
แสดงว่า B = 0 หรือ π ก็ได้ ...
จึงตอบ cos B = 1 หรือ −1
(51.1) 2 cos 75° cos 75°
= cos(75° + 15°) + cos(75° − 15°)
1
= cos 90° + cos 60° =
2
(51.2)
12
4
5 3
63
= (− )(− ) − (− )( ) =
13
5
13 5
65
(51.4)
sin A = −
(48.1)
4
5
cos B = −
5
12
, cos A = −
13
13
จาก sin B = 0.6 = 3 และ B ∈ Q2
5
4
จะได้ cos B = −
5
จะได้
sin B =
cos B = −
ถ้า
1
5
sin A cos B + cos A sin B =
(50)
6
3 −1
2 2
π
6
π
ฟงกชันตรีโกณมิติ
cos(A + B) = cos A cos B − sin A sin B
sin(A + B) = sin A cos B + cos A sin B
5
4
12 3
16
= (− )(− ) + (− )( ) = −
13
5
13 5
65
2 sin 25° cos 5° − sin 20°
= (sin 30° + sin 20°) − sin 20° =
1
2
(51.3)
2[sin 90° + sin 60°] + 2[cos 180° + cos 150°]
= 2[1 +
3
3
] + 2[−1 −
] = 0
2
2
1
2
[sin 150°+ sin 66°] +
= sin 150° = 1 / 2
1
2
[sin 150°+ sin(−66°)]
sin A cos B + cos A sin B
= sin(A + B) = sin 150° = 1 / 2
หรือมองเป็นสูตร
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
...
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
180
(51.5)
จึงกระจายว่า
1
2
[cos 146°+ cos 10°] +
1
2
[cos 34°+ cos 10°] − cos 10°
1
[cos 146° + cos 34°]
2
1
146° + 34°
146° − 34°
= [2 cos(
) cos(
)]
2
2
2
= cos 90° cos 56° = 0
=
ฟงกชันตรีโกณมิติ
tan 60° + B
3 +B
=
1 − (tan 60°)(B)
1 − 3B
A + B = 225° จะได้
1 − tan A
tan B = tan(225° − A) =
1 + tan A
cot A
cot B
โจทย์ถาม (
)(
)
1 + cot A 1 + cot B
=
(54.4) จาก
หรือมองเป็น “โค-ฟังก์ชนั ” ก่อน จะได้ว่า
(นํา
= cos(22° − 12°) − cos 10° = 0
=(
(51.6)
แทนค่า
[sin 22° sin 12° + cos 22° cos 12°] − cos 10°
(cos 105° + cos 35°) − cos 35° + cos 15°
= cos 105° + cos 15° = 2 cos 60° cos 45°
1
1
1
= 2⋅ ⋅
=
2
2
2
(52.1)
[sin 5θ − sin θ] − [sin 5θ − sin 3θ]
−[sin 3θ − sin θ] = 0
(52.2) − 1 [cos 9θ − cos 3θ]
2
1
1
− [cos 3θ − cos θ] + [cos 9θ − cos θ] = 0
2
2
(53.1) จาก sin2 A = 1 − cos 2A จะได้ว่า
2
โจทย์ถาม
1
2
[1 − cos 2A + 1 − cos(120° + 2A) + 1 − cos(120° − 2A)]
1
[3 − cos 2A − 2 cos 120° cos 2A]
2
1
3
= [3 − cos 2A + cos 2A] =
2
2
=
1
tan A , tan B
คูณทั้งเศษและส่วน)
1
1
)(
)
tan A + 1 tan B + 1
tan B จะได้
1
1
=(
)(
)
tan A + 1 (1 − tan A) + 1
1 + tan A
1
1 + tan A
1
=(
)(
)=
tan A + 1 1 − tan A + 1 + tan A
2
(54.5) sin 3θ cos θ − cos 3θ sin θ
sin θ cos θ
sin 2θ
2 sin θ cos θ
=
=
= 2
sin θ cos θ
sin θ cos θ
(55.1)
[sin 50° + sin 10°] − cos 20°
= 2 sin 30° cos 20° − cos 20°
= cos 20° − cos 20° = 0
(55.2)
sin 10° + [cos 40° − cos 20°]
= sin 10° − 2 sin 30° sin 10°
= sin 10° − sin 10° = 0
(55.3)
cos 20° + [cos 100° + cos 140°]
= cos 20° + 2 cos 120° cos 20°
= cos 20° − cos 20° = 0
(53.2) เช่นเดียวกับข้อที่แล้ว คือ
จาก cos2 A = 1 + cos 2A จะได้วา่
2
tan 70° = tan(60° + 10°)
(55.4)
2
[1 + cos 2A + 1 + cos(120° + 2A) + 1 + cos(120° − 2A)]
1
[3 + cos 2A + 2 cos 120° cos 2A]
2
1
3
=
[3 + cos 2A − cos 2A] =
2
2
=
(cos 10° + cos 50°) + (cos 20° + cos 40°)
(sin 10° + sin 50°) + (sin 20° + sin 40°)
2 cos 30° cos 20° + 2 cos 30° cos 10°
=
2 sin 30° cos 20° + 2 sin 30° cos 10°
2 cos 30° (cos 20° + cos 10°)
=
2 sin 30° (cos 20° + cos 10°)
= cot 30° =
3
(56) sin 40° + sin 20° = 2 sin 30° cos 10°
(54.1) แปลง cos 10° เป็น sin 80° ก่อน (โค- = cos 10° = 1 − 2 sin2 5°
ฟังก์ชนั ) (หรือแปลง sin 40° เป็น cos 50° ก็ได้)
π
π
3π
2 sin cos cos
π
3π
5
5
5
จะได้ sin 80° + sin 40°
(57.1) cos cos =
π
sin 70°
2 sin 60° cos 20°
=
=
sin 70°
(เพราะ
(54.2)
5
3
cos 20° = sin 70° )
2 cos 45° sin 30°
= tan 30° =
2 cos 45° cos 30°
(54.3) ตรงตามสูตร tan(α − β) จึงได้เป็น
tan 70° → ต้องตอบในรูป tan 10° = B
1
3
5
2π
3π
sin
cos
5
5 ⋅2
=
π
2
2 sin
5
=
sin π − sin
4 sin
Math E-Book Release 2.2.04
π
5
π
5 =
0 − sin
2 sin
π
1
5
π = −4
4 sin
5
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
5
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
cos
(57.2)
=
2 sin
π
5
π
5
cos
+ cos
π
5
3π
5
+ 2 sin
2 sin
π
π
5
cos
2 cos 36° sin 18°
= 2(
)= 4
sin 54° sin 18°
3π
5
(เพราะ cos 36° = sin 54° )
(59) จาก 4 sin2 A + 3 cos 2B =
5
2π
4π
2π
sin
+ sin
− sin
5
5
5
=
π
2 sin
5
4π
sin
5 = 1 (เพราะ sin 4π = sin π
=
π 2
5
5
2 sin
5
(57.3) cos π cos 2π cos 4π
7
7
7
π
π
2π
4π
2 sin cos cos
cos
7
7
7
7
=
2 sin
1 2
1
+ )=
(
2 2
2
→ 4 sin2 A − 6 sin2 B = −5
(57.5)
8 sin 70° sin 50° sin 10° ⋅
sin 2A sec A = sin B
→ 2 sin A cos A sec A = sin B
)
cos 10°
cos 10°
4 sin 70° sin 50° sin 20° cos 20°
=
⋅
cos 10°
cos 20°
( sin 70°
= cos 20° )
2 sin 50° sin 40°
−(cos 90° − cos 10°)
=
=
= 1
cos 10°
cos 10°
(58)
..... (1)
และจาก
π
2 +1
4
−2
→ 4 sin2 A + 3(1 − 2 sin2 B) = −2
7
2π
2π
4π
sin
cos
cos
7
7
7
=
π
2 sin
7
4π
4π
8π
sin
cos
sin
7
7
7 = − 1
=
=
π
π
8
4 sin
8 sin
7
7
(เพราะ sin 8π = − sin π )
7
7
π
π
π
5π
sin + sin
2 sin
cos
4
6
24
24
(57.4)
=
2
2
=
ฟงกชันตรีโกณมิติ
181
(tan 9° + tan 81°) − (tan 27° + tan 63°)
= (tan 9° + cot 9°) − (tan 27° + cot 27°)
sin 9°
cos 9°
sin 27°
cos 27°
=(
+
)−(
+
)
cos 9°
sin 9°
cos 27°
sin 27°
sin2 9° + cos2 9° sin2 27° + cos2 27°
=
−
sin 9° cos 9°
sin 27° cos 27°
1
1
=
−
sin 9° cos 9° sin 27° cos 27°
2
2
sin 54° − sin 18°
=
−
= 2(
)
sin 18° sin 54°
sin 54° sin 18°
→ 2 sin A = sin B ..... (2)
แก้ระบบสมการได้ sin B = 1, − 1
แต่ B ∈ [0, π ] ดังนั้น B = π เท่านั้น
2
และได้
โจทย์ถาม
(60)
2
1
π
sin A =
→ A =
2
6
2 cos(A + B) = 2 cos
2π
= −1
3
3 cos 2A − 2 cos 2B = −3
→ 3(1 − 2 sin2 A) − 2(1 − 2 sin2 B) = −3
....(1)
sin A = 2 sin B ..... (2)
แทน (2) ใน (1) จะได้
3 − 24 sin2 B − 2 + 4 sin2 B = −3
1
→ sin2 B =
→ แต่ B อยู่ใน Q1
5
1
เท่านัน้ และจะได้ cos B = 2
∴ sin B =
5
5
2
1
→∴ sin A = 2 sin B =
, cos A =
5
5
โจทย์ถาม
sin(A + B)
= sin A cos B + cos A sin B
2
2
1
1
4
1
=
⋅
+
⋅
=
+
= 1
5 5
5
5
5
5
(61) หาค่า
sin 3θ → sin 3θ = sin(2θ + θ)
= sin 2θ cos θ + cos 2θ sin θ
= (2 sin θ cos θ) cos θ + (1 − 2 sin2 θ) sin θ
= 2 sin θ (1 − sin2 θ) + (1 − 2 sin2 θ) sin θ
= 3 sin θ − 4 sin3 θ →
ดังนัน้ แก้สมการได้เป็น
3 sin θ + sin θ = 1 → sin θ =
1
→
4
3π
+ θ)
sec 2θ + cos(
2
1
1
=
+ sin θ =
+ sin θ
cos 2θ
1 − 2 sin2 θ
1
1
8
1
39
=
+
=
+
=
2
4
7
4
28
1−
16
โจทย์ถามค่า
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(62) cos α cos β − sin α sin β
..... (1) และ
=
3−4 3
10
3+4 3
..... (2)
cos α cos β + sin α sin β =
10
(1) + (2)
3
→ cos α cos β =
2
10
(2) − (1)
4 3
→ sin α sin β =
2
10
∴ sin 2α sin 2β = 4 sin α cos α sin β cos β
3 4 3
12 3
= 4( )(
)=
10 10
25
sin 2x
2 sin x cos x
=
1 + cos 2x
1 + 2 cos2 x − 1
sin x
=
= tan x = 2
cos x
(64) tan θ = 1 → แสดงว่า sin θ = 1
3
10
3
และ cos θ =
(เพราะ θ อยู่ใน Q1 )
10
(63)
∴ sin 4θ = 2 sin 2θ cos 2θ
2
= 2(2 sin θ cos θ)(1 − 2 sin θ)
1
3
2
96
24
= 2(2)(
)(
)(1 − ) =
=
10
100
25
10
10
(65)
[sin(A + B) − sin(A − B)]
− [sin(2A + B) − sin(2A − B)]
= 2 cos A sin B − 2 cos 2A sin B
= 2 sin B (cos A − cos 2A)
5 +1
5 + 12
− 2(
) + 1)
4
4
5 +1 3+ 5
= 2 sin B (
−
+ 1) = sin B
4
4
= 2 sin B (
(66) ก. ถูก (ตรงตามสูตรชุดทีส่ อง)
ข. −2 sin(x + y) sin(x − y)
−2
cos 2x − cos 2y
=
−2
1 − 2 sin2 x − 1 + 2 sin2 y
=
−2
2
2
= sin x − sin y
ถูก
ค. 2 cos(x + y) cos(x − y)
2
cos 2x + cos 2y
=
2
2 cos2 x − 1 + 1 − 2 sin2 y
=
2
2
2
= cos x − sin y
ง. ผิด เพราะต้องได้
ฟงกชันตรีโกณมิติ
182
ถูก
cos(5x − x) = cos 4x
(67)
arcsin(
3
π
)=
2
3
1
2π
arccos(− ) =
2
3
π
2(−
(69)
cos(arcsin(cos
3
)+
π
(68)
4
+
7π
12
π=
2π
2π
)+
)
7
7
2π
2π
π
= 0
)+
) = cos
7
7
2
(70.1) ให้ A = arccos 4 จะได้ cos A = 4
5
5
3
และ sin A =
5
ให้ B = arccos 12 จะได้ cos B = 12 และ
13
13
5
sin B =
13
= cos((
π
−
2
[ sin ของ arccos เป็นบวกเสมอ]
โจทย์ถาม cos(A + B)
= cos A cos B − sin A sin B
4 12 3 5
33
=
⋅
− ⋅
=
5 13 5 13
65
(70.2) ให้
โจทย์ถาม
A = arccos
sin(A + B)
3
5
และ
4
B = arcsin(− )
5
= sin A cos B + cos A sin B
4 3 3
4
=
⋅ + ⋅ (− ) = 0
5 5 5
5
[ cos ของ arcsin ก็เป็นบวกเสมอเช่นกัน]
(70.3) cos(2A) = 1 − 2 sin2 A
= 1 − 2 (9/25) = 7 / 25
2 (−1 / 2)
2 tan A
4
=
= −
1 − 1/ 4
3
1 − tan2 A
1
2
[หมายเหตุ sin A = − , cos A =
5
5
1
∴ tan A = − ]
2
(70.4)
tan(2A) =
sin(
(71) ก.
= sin
π
2
π
2
+ 2A)
cos 2A + cos
= 2 cos2 A − 1 →
tan A =
2 −1
π
2
หาค่า
ก่อน ...
sin 2A = cos 2A
cos A
โดยที่
แก้ระบบสมการ sin A = ( 2 − 1) cos A
กับ sin2 A + cos2 A = 1 ได้ cos2 A =
∴
ตอบ
Math E-Book Release 2.2.04
1
2 −1
2(
)− 1 =
=
4−2 2
2− 2
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
1
4−2 2
1
2
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
3π
cos(
− 2A)
2
3π
3π
= cos
cos 2A + sin
sin 2A = − sin 2A
2
2
ข.
= −2 sin A cos A →
tan A = x ...
โดยที่
หาค่า
ได้เป็น
sin A
กับ
cos A
x
1
, cos A =
1 + x2
1 + x2
ตอบ −2x2
1+ x
1
1
A + B = arctan + 2 arcsin
7
10
sin A =
ดังนัน้
(72)
arctan เพื่อใช้สูตร ได้เป็น
1
1
arctan + 2 arctan
7
3
1
2/3
= arctan + arctan
7
1 − 1/ 9
1
3
= arctan + arctan
7
4
1/ 7 + 3 / 4
π
= arctan
= arctan 1 =
1 − 3 / 28
4
แปลงเป็น
(73)
1
8
→ cos A = −
3
3
sin A =
A
(ติดลบ เพราะ
และ
7 tan(
π
4
อยู่ใน
+ A) = 7 ⋅
Q2 )
tan
1
→ tan A = −
8
π
4
1 − tan
+ tan A
π
4
tan A
1 − 1/ 8
8 −1
7( 8 − 1)2
= 7⋅
= 7(
)=
7
1 + 1/ 8
8 +1
= 9−4 2
(74) A + B + C = arctan 1 + arctan 1 + arctan 1
2
5
8
1/ 2 + 1/ 5
1
= arctan
+ arctan
1 − 1 / 10
8
7
1
7 / 9 + 1/ 8
= arctan + arctan = arctan
9
8
1 − 7 / 72
= arctan 1 =
π
4
sin ทั้งสองข้าง จะได้
12
16
3
sin(arccos
+ arcsin
)=
13
65
5
5 63 12 16
3
→
⋅
+
⋅
=
13 65 13 65
5
315 + 192
3
3
3
..OK..
→
=
→
=
13 ⋅ 65
5
5
5
(75) วิธีที่1 ใส่
arctan จะได้
5
16
3
arctan
+ arctan
= arctan
12
63
4
วิธีท2ี่ ใช้สูตร
ฟงกชันตรีโกณมิติ
183
5 / 12 + 16 / 63
3
= arctan
5 ⋅ 16
4
1−
12 ⋅ 63
3
3
..OK..
→ arctan = arctan
4
4
→ arctan
(76) การแก้สมการในข้อนี้ ส่วนมากทําได้ 2 วิธี
(เช่นเดียวกับข้อที่แล้ว) คือ 1. ใส่ฟังก์ชัน sin, cos,
หรือ tan ทั้งสองข้าง กับ 2. ใช้สูตร arctan
แต่บางกรณีจะทําเป็น arctan ไม่ได้ คือ เมื่อเป็น
arccos (-) [เพราะนิยามไว้คนละควอดรันต์กัน]
...ในข้อ (76.1) จะแสดงไว้ทั้งสองวิธี แต่หลังจากนั้น
จะเลือกแสดงเพียงวิธที ี่สนั้ กว่าเพียงวิธีเดียวเท่านัน้ ..
(76.1) วิธที ี่ 1 cos(arccos 4 − arcsin(− 3)) = x
5
4 4 3
3
→
⋅ + ⋅ (− ) = x
5 5 5
5
7
→ x =
25
5
3
3
− arctan(− ) = arccos x
4
4
3/4 + 3/4
→ arctan
= arccos x
1 − 9 / 16
24
7
arctan
= arccos x → x =
7
25
วิธีที่ 2
arctan
x2
7
4
− x = tan(arcsin
+ arccos )
3
25
5
x2
7 / 24 + 3 / 4
4
→
−x =
=
3
1 − 7 / 32
3
(76.2)
→ x2 − 3x − 4 = 0 → (x − 4)(x + 1) = 0
→ x = 4, − 1
(76.3)
arctan
1/ 7 + 1/ 8
1 − 1 / 56
+ arctan
1
18
= arccot x
3
1
+ arctan
= arccot x
11
18
3 / 11 + 1 / 18
→ arctan
= arccot x
1 − 1 / 66
1
→ arctan = arccot x → x = 3
3
(76.4) arctan 2x + 1 + 22x − 1 = arccos 1
1 − (4x − 1)
5
2x
1
→ arctan
= arccos
1 − 2x2
5
1
2x
= arctan 2 )
→
= 2 (เพราะ arccos
5
1 − 2x2
1
→ แก้สมการได้ x = , − 1
2
ตรวจคําตอบแล้วพบว่า x = 1 เท่านั้นทีใ่ ช้ได้
2
π 3π
(76.5) arctan x + 2( ) =
4
4
→ arctan
→ arctan x =
Math E-Book Release 2.2.04
π
4
→ x = 1
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
tan ทั้งสองข้าง
1+ x + 1− x
= 1
1 − (1 − x2)
2
= 1→ x = ± 2
x2
(76.6) ใส่
→
→
(76.7) ใส่
sin
ดังนัน้
ทั้งสองข้าง
arctan 3x − arctan x =
π
arctan 3 + arctan(1 / 3)
= tan(
)
2
π/3+ π/6
π
= tan(
= 1
) = tan
2
4
(78) cos2(arctan x) = 1
4
1
→ cos(arctan x) =
หรือ − 1
2
2
3
หรือ
แต่โจทย์กําหนด
[e
3
1
ดังนั้น
x = − 3
∴θ =
→ 2 cos2 2θ − 3 cos 2θ + 1 = 0
→ (2 cos 2θ − 1)(cos 2θ − 1) = 0
→ cos 2θ = 1 หรือ 1 / 2
แต่ cos 2θ = 1 ไม่ได้ เพราะจะทําให้
ดังนัน้ cos 2θ = 1 / 2 เท่านัน้
→ 2θ =
(79.4)
π
3
→ θ =
sin 2θ = 0
π
6
(cos2 x − sin2 x)(cos2 x + sin2 x) = 1
→ cos2 x − sin2 x = 1
→ cos 2x = 1
→ 2x = 0, 2π, 4π → x = 0, π, 2π
sin x
2
+
= 0
cos x cos2 x
2
2
→ 4 sin x cos x − 6 sin x cos x + 2 = 0
(79.5)
4 sin2 x − 6
→ sin2 2x − 3 sin 2x + 2 = 0
เท่านัน้
∴ 2x =
π
2
→ x =
π
4
(79.6)
(4 sin x cos x + 2 sin x) + (2 2 cos x +
→ 2 sin x (2 cos x + 1) +
2) = 0
2 (2 cos x + 1) = 0
→ (2 sin x +
เท่านั้น
2)(2 cos x + 1) = 0
ดังนัน้ sin x = − 1 หรือ cos x = − 1
2
2
2π 5π 4π 7π
→ x =
,
,
,
3
4
3
4
(79.7)
(79.1)
→ 2 [sin x cos
sin x − 1 − sin x − 1
= 4
sin2 x − 1
−2
1
→
= 4 → cos x = ±
− cos2 x
2
π 3π 5π 7π
→ x =
,
,
,
4 4
4 4
sin 4θ = 2 sin 2θ cos 2θ
จะได้ว่า
โจทย์กลายเป็น
3
π π 5π 3π
, ,
,
6 2 6
2
→ 2 (1 − cos2 2θ) + 3 cos 2θ − 3 = 0
x
x
3x
−3 3
=
∴ x + tan(arctan ) = x + =
2
2
2
2
= 4 sin θ cos θ (1 − 2 sin2 θ)
หรือ
2 sin 2θ + 3
→ sin 2x = 1
> 1]
(79.2) จาก
1
2
→ (sin 2x − 2)(sin 2x − 1) = 0
− 3
ex < 1
...
sin θ =
หรือ
cos 2θ
3
−
= 0
sin 2θ
sin 2θ
→ 2 sin2 2θ + 3 cos 2θ − 3 = 0
(79.3)
6
3x − x
π
จะได้วา่ arctan
=
6
1 + 3x2
2x
1
→
=
→ 3x2 − 2 3x + 1 = 0
1 + 3x2
3
1
→ ( 3x − 1)2 = 0 → x =
3
arctan 3x + arctan x
ดังนัน้ tan(
)
2
→ x =
cos θ = 0
sin θ = −1
3
1
1
→ ( )(0) + (− )(1) = x → x = −
2
2
2
แต่ arccos(− 1) + π = 2π + π = 7π
2
2
3
2
6
7π
ซึ่งไม่อยู่ในช่วง arcsin (แม้ว่า sin = − 1
6
2
1
π
ก็ตาม ..แต่ arcsin (− ) = − ) ∴ ไม่มีคําตอบ
2
6
(77) จาก
ฟงกชันตรีโกณมิติ
184
4 sin θ cos θ − 8 sin θ cos θ + 2 sin θ cos θ = 2 cos θ
1
3
π
2 [ sin x +
cos x] = sec(x + )
2
2
3
→ 2 sin(x +
→ 2 sin(x +
π
π
3
3
) = sec(x +
π
π
+ cos x sin
π
π
3
3
] = sec(x +
)
) cos(x + ) = 1
3
3
2π
→ sin(2x +
)= 1
3
2π
5π 9π
11π 23π
→ 2x +
=
,
→ x =
,
3
2
2
12 12
→ 2 cos θ (3 sin θ − 4 sin3 θ − 1) = 0
→ 2 cos θ (2 sin θ − 1)2(sin θ + 1) = 0
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
π
3
)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันตรีโกณมิติ
185
(79.8) 2 sin2 x + sin x + 1 = 2 2 sin2 x + sin x (82.1) [โคฟังก์ชัน] อาจพิสจู น์จากสูตร
ให้ 2 sin2 x + sin x = A จะได้วา่
คือ tan(90° − A) = tan 90° − tan A
A + 1 = 2 A → A2 + 2A + 1 = 4A
→ A − 2A + 1 = 0 → A = 1
∴ 2 sin2 x + sin x = 1
→ (2 sin x − 1)(sin x + 1) = 0
1
2
→ sin x =
หรือ
→ x =
−1
π 5π 3π
6
,
6
,
2
(79.9) ใช้ผลทีค่ ิดไว้ในข้อ (61) คือ
sin 3x = 3 sin x − 4 sin3 x ดังนั้นโจทย์กลายเป็น
sin x − 2 sin x cos x + 3 sin x − 4 sin3 x = 0
→ 2 sin x (2 − cos x − 2 sin2 x) = 0
→ 2 sin x (2 − cos x − 2(1 − cos2 x)) = 0
→ 2 sin x (− cos x + 2 cos2 x) = 0
→ 2 sin x (cos x)(2 cos x − 1) = 0
→ sin x = 0
หรือ
π π
∴ x = 0,
,
3 2
, π,
cos x = 0
หรือ
cos x =
3π 5π
,
, 2π
2
3
1
2
(2 sin2 x − 1)(sin2 x + 2) > 0 →
1
1
sin2 x >
→ sin x >
หรือ sin x < − 1
2
2
2
(80.1)
sin x = 1 /
sin x = − 1 /
(80.2)
→ cos
π
4
6
sin x + sin
→ sin(x +
→ x+
π
6
4
2
4
3
1
1
sin x + cos x <
2
2
2
π
6
)<
1
2
π
6
cos x <
cos 2A = 1 − 2 sin2 A
1 − cos 2A
→ sin2 A =
..... (1)
2
และ cos 2A = 2 cos2 A − 1
1 + cos A
→ cos2 A =
..... (2)
2
(1)
1 − cos 2A
; tan2 A =
(2)
1 + cos 2A
ถ้าให้ A = x จะได้ tan2 x = 1 − cos x
2
2
1 + cos x
(82.2) จาก
(82.3) จาก
(1) sin x + sin y
x+y
x +y
= 2 sin(
) cos(
)
2
2
และ (2) cos x + cos y = 2 cos(x + y) cos(x + y)
2
2
(1)
sin x + sin y
x+ y
;
= tan(
)
(2) cos x + cos y
2
= sin2 x
→ tan2 x − sin2 x = tan2 x sin2 x
(82.5) (cos A − sin A)2
2
2
A
A
A
2 A
= cos
− 2 sin cos
+ sin2
2
2
2
2
= 1 − sin A
1
2
(83) ผลจากข้อ (82.3) จะได้วา่
sin A + sin B
A+B
= tan(
)
cos A + cos B
2
A + B = 180° − C
180° − C
C
) = tan(90° − )
∴ จะได้เป็น tan(
2
2
C
= cot
[โคฟังก์ชัน]
2
แต่
5π 13π
∈(
,
)
6
6
ตอบ
1 − 2 sin2 θ = sin θ
→ (2 sin θ − 1)(sin θ + 1) = 0
(81)
= ∞ จึงต้องนําไปหารทั้งเศษและส่วน]
tan A
1−
1−0
tan
90°
=
=
= cot A
1
+
0
tan A
+ tan A
tan 90°
(82.4) จาก 1 − cos2 x
นํา tan2 x คูณสองข้าง
2
ตอบ [ π , 3π ] ∪ [5π , 7π ]
4
1 + tan 90° tan A
[ tan 90°
2
tan(α − β)
1
หรือ −1
2
π 2π
±
n
6
3
2π
x ∈(
, 2π)
3
(84) ใช้กฎของ
cos
หามุม
A
ก่อน ...
102 = (10 3)2 + 102 − 2(10 3)(10) cos A
3
2
→ sin θ =
→ cos A =
ตอบ
จากนั้นอาจใช้กฎของ cos หามุม B, C
หรือจะใช้กฎของ sin ก็ได้ แต่จากการสังเกตพบว่า
ΔABC เป็นสามเหลี่ยมหน้าจัว
่ (เพราะ a = c )
ดังนัน้ c = 30° ด้วย
และ B = 180° − 30° − 30° = 120°
เมื่อ
n
คือจํานวนเต็ม
Math E-Book Release 2.2.04
∴ A = 30°
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(85)
2
2
2
(4 5) = (2 5) + (3 5) − 2(2 5)(3 5) cos B
→ cos B = −
1
4
(แสดงว่า
cos B = 1 − 2 sin2
จาก
∴ sin2
B
2
B
อยูใ่ น
Q2 )
B
ต้องอยูใ่ น Q1 )
2
a = 4x, b = 5x, c = 6x จะได้ว่า
(4x)2 = (5x)2 + (6x)2 − 2(5x)(6x) cos A
3
→ cos A =
...
4
และด้วยวิธเี ดียวกันได้ cos B = 9 , cos C = 1
16
8
32
1
2
พบว่า 2 cos A − 1 = 2( ) − 1 = = cos C
4
8
→ ∴ C = 2A
2
b
2
2
= 4 + 8 − 2(4)(8)(0.422) = 52.992
→ b = 7.28
(88) กฎของ
sin C
0.454
=
15
12
sin →
sin C = 0.5675 → C ≈ 34.6°
(89)
หรือ
ดังนัน้
ดังนัน้ C = 60 → A = 90° สามเหลีย่ มมุมฉาก
หรือ C = 120° → A = 30° สามเหลี่ยมหน้าจั่ว
(91) a = 12 → a = 5.61
0.731
1
∴ cos A =
→ A = 60°
2
∴ cos A =
จาก
ใช้กฎของ
sin B =
แต่
a2 = b2 + c2 − bc
1
→ A = 60°
2
4a2 = 6b2 → a =
sin
ได้ว่า
sin 60°
135° + 60° > 180°
เช่นกัน
3/2 b →
3/2 b
1
→ B = 45°
2
ไมล์
320
=
หรือ
b
→
sin B
135°
∴ B = 45°
→ 1 + 2 sin2(3A − 2B) = 1 + 2(1)2 = 3
เท่านัน้
x
38°
380
h
= tan A → x = h cot A
x
h
= tan B → y = h cot B
y
A B
h
∴ y − x = h (cot B − cot A)
B
A
ดังนัน้ เรืออยู่หา่ งกัน
x
0.9397 0.8387
)
= 300 (
−
0.3430 0.5446
y
= 359.9 เมตร
(97) h = tan 45° → AC = h cot 45°
AC
h
= tan 30° → BC = h cot 30°
BC
A 45°
40 30°
B
AC2 + 402 = BC2
(98) ให้ PQ ยาว
และ QS ยาว 4b
a
P
h
C
N
∴ h2 cot2 45° + 402 = h2 cot2 30°
40
→ h =
cot2 30° − cot2 45°
40
=
= 20 2 เมตร
3−1
arctan 0.6
a
a2 = b2 + c2 − bc
(92) กระจายแล้วจัดข้างเป็น
(93) กระจายแล้วได้
3202 + 3802 − 2(320)(380)(0.788)
(96)
แต่
sin C
sin 30°
3
=
→ sin C =
150
2
50 3
0.342
x =
145.4°
sin B
sin 45°
3
=
→ sin B =
2
2 3
2 2
ดังนัน้ B = 60° → C = 75°
หรือ B = 120° → C = 15°
(90)
(x2 + xy + y2) = x2 + y2 − 2xy cos A
1
cos A = −
คือเป็นสามเหลี่ยมมุมป้าน
2
= 234.86
5
8
(เป็นบวกเท่านั้น เพราะ
(87)
(94)
จะได้
(95)
B
5
B
=
→ sin =
2
8
2
(86) ให้
ฟงกชันตรีโกณมิติ
186
b
Q
R
3b
ˆ + RPQ
ˆ = SPQ
ˆ
จากความสัมพันธ์ SPR
b
จะได้ arctan 0.6 + arctan = arctan 4b
a
0.6 + b / a
4b
) = arctan
→ arctan(
1 − 0.6 b / a
a
S
a
ตัด arctan ออกทั้งสองข้างแล้วจัดรูปสมการ ได้เป็น
→ a2 − 5ab + 4b2 = 0
→ (a − 4b)(a − b) = 0
→ a = 4b
หรือ
a = b
ˆ = 4b = 1
∴ tan SPQ
a
Math E-Book Release 2.2.04
หรือ
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
4
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
187
e logar
xp+
º··Õè
8 ¿§¡ª¹a eo¡«o¾e¹¹eªÕÂÅ
æÅaÅo¡ÒÃi·ÖÁ
การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจํานวนประชากรตาม
ธรรมชาติ ปริมาณรังสี หรือเงินฝากในธนาคาร
โดยทั่วไปไม่ได้เป็นสัดส่วนแบบเส้นตรง แต่เป็นแบบ
ทวีคูณ (ยกกําลัง) ทําให้เราจําเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับ
เลขยกกําลัง รวมทั้งฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง คือ ฟังก์ชัน
เอกซ์โพเนนเชียล (Exponential Function) และ
ฟังก์ชันลอการิทึม (Logarithmic Function)
8.1 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และกฎของเลขยกกําลัง
เลขยกกําลัง จะเขียนในรูป an
เรียก a ว่าฐาน และเรียก n ว่า เลขชี้กําลัง (Exponent)
โดย an ใช้แทน a คูณกันเป็นจํานวน n ตัว หรือ an
นิยามให้
และ
a0 = 1 ,
a 1/ n =
n
a−n =
1
an
(โดยที่
= a ⋅ a ⋅ a ⋅ ... ⋅ a
n ตัว
a ≠ 0)
a
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
188
ทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับเลขยกกําลังได้แก่
⎧
⎪
• ⎨
⎪
⎩
⎧
⎪
• ⎨
⎪
⎩
am ⋅ an = am + n
m
a
= am − n
an
(am)n = amn
n
m
am = a n
⎧⎪ (ab)n = an ⋅ bn
• ⎨
n
n
n
⎪⎩ (a/b) = a / b
⎧ n ab = n a ⋅ n b
⎪⎪
n a
• ⎨ a
=
⎪ n
n b
⎪⎩ b
โดย n เป็นจํานวนจริงใดๆ (ไม่จําเป็นต้องเป็นจํานวนเต็ม) และกรณีกรณฑ์
หมายเหตุ
คําว่า รากที่สอง กับเครื่องหมาย กรณฑ์ (radical : • หรือ
“รากที่สอง ของ 16 ” ได้แก่ 4 และ –4
แต่ “ 16 หรือ 16 1/ 2 ” มีค่าเท่ากับ 4 อย่างเดียวเท่านั้น
การหารากที่สองของ
•
1/ 2
n ≠ 0
) มีความหมายต่างกัน
M± N
2
พิจารณา ( a + b) = (a+b) + 2 ab และ ( a − b)2 = (a+b) − 2 ab
ดังนั้น ถ้าเราให้ a+b = M และ 4ab = N แล้วแก้ระบบสมการหาค่า a, b ก็จะได้คําตอบ
สรุป รากที่สองของ M + N ได้แก่ ±( a + b)
เมื่อ a+b = M และ 4ab = N
รากที่สองของ M − N ได้แก่ ±( a − b)
เช่น รากที่สองของ 6 − 35 หาได้จาก a+b = 6 และ 4ab = 35
นั่นคือ a, b = 3.5, 2.5 จึงได้คาํ ตอบว่า 3.5 − 2.5 และ 2.5 −
3.5
รากที่สองของ 72 + 40 หาได้จาก a+b = 72 = 6 2 และ 4ab =
นั่นคือ a, b = 5 2, 2 จึงได้คาํ ตอบว่า 5 2 + 2 และ − 5 2 −
40
2
การแก้สมการที่มีเครื่องหมายกรณฑ์
(1) สมการที่มี ax +b บวกลบกันอยูห่ ลายพจน์ ควรย้ายข้างให้จํานวนพจน์เท่าๆ กัน และ
สัมประสิทธิ์หน้า x รวมเท่าๆ กันที่สุด จากนั้นจึงยกกําลังทั้งสองข้างไปจนกว่าเครื่องหมายกรณฑ์จะ
หมดไป ... การยกกําลังเช่นนี้ มักทําให้ได้คําตอบเกิน ดังนั้นต้องตรวจคําตอบเสมอ
(2) หากสิ่งที่อยู่ในเครื่องหมายกรณฑ์นั้นยาวมาก ให้สมมติสิ่งนั้นเป็นตัวแปร A ไปก่อน แล้วทําตัว
แปรที่เหลือในสมการให้อยู่ในรูป A ทั้งหมด เพื่อให้สมการสั้นลงและคํานวณสะดวกขึ้น
•
ตัวอยาง ใหหาเซตคําตอบของสมการตอไปนี้
ก. x + 1 = 4x + 9
วิธีคิด ยกกําลังสองทั้งสองขาง จะได x + 2x + 1 = 4x + 9 → x − 2x − 8 = 0
แยกตัวประกอบไดเปน (x − 4)(x + 2) = 0 ... ดังนัน้ คําตอบนาจะเปน 4, − 2
แตเมื่อลองแทนคาแลวพบวา 4 ทําใหสมการเปนจริง แต −2 ใชไมได ... ดังนัน้ ตอบ
ข. x − 7 + x − 12 = 5
2
2
2
2
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
{4}
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
189
2
วิธีคิด สมมติให x − 7 = A เพื่อใหมองงายขึ้น ... กลายเปน A + A − 5 = 5
ยายขางสมการใหมีจํานวนกรณฑสองฝงเทาๆ กัน คือ A − 5 = 5 − A
จากนั้นยกกําลังสองทั้งสองขาง ไดเปน A − 5 = 25 − 10 A + A → A = 3
ยกกําลังสองอีกครั้ง ... A = 9 ... ตรวจสอบคําตอบใน A + A − 5 = 5 แลวพบวาใชได
ดังนั้น x − 7 = 9 → x = 16 → x = 4, − 4 ... จึงตอบ {4, − 4}
2
2
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือฟังก์ชันเลขยกกําลัง
กําหนดรูปทั่วไปเป็น f (x) = a x โดยค่าของฐาน a อยู่ในช่วง
นํามาเขียนกราฟได้ดังนี้
y
(0,1)
O
y = a x,
(0, 1)
หรือ
(1, ∞)
y
(0,1)
O
x
y = a x,
a>1
ฟังก์ชันเพิ่ม
เท่านั้น
x
0<a<1
ฟังก์ชันลด
ข้อสังเกต
1. ค่า x เป็นอะไรก็ได้ แต่ค่า y เป็นบวกเสมอ ... Dexp = R , Rexp = R+
2. ในที่นี้กราฟผ่านจุด (0, 1) เสมอ ... เนื่องจาก a0 = 1 ทุกๆ ค่า a ที่ไม่ใช่ศูนย์
3. จากการเลื่อนแกนทางขนาน จะได้สมการเอกซ์โพเนนเชียลเป็น y −k = a x − h
แบบฝึกหัด 8.1
(1) จงทําให้เป็นรูปอย่างง่าย
7
(1.1)
32 ⋅ 4
(1.2)
(x −3y −2z0)−2
(1.3)
⎛ 4x −2 − 4x −1 + 1 ⎞
⎜⎜
⎟⎟
−2
−1
⎝ 2x − x
⎠
(2) จงทําให้เป็นรูปอย่างง่าย
(2.1)
(2.2)
1
− 17
(1.4)
⎛ 729n + 812n ⎞ n
⎜ n
⎟
⎝ 27 + 243n ⎠
(1.5)
⎛ 4 n ⋅ 9 n + 1 + 3 2n ⋅ 2 2n + 1 ⎞
⎜⎜ n 2n + 2
⎟
+ 4 n ⋅ 3 2n + 1 ⎟⎠
⎝9 ⋅ 2
2
⎛ 3
a
75
4a ⎞
a +
−
a +
⎜
⎟
3
3
3⎠
⎝ 5
2
⎛
⎞
⎜⎜ 2
⎟⎟
4
2
x
−
x
+
2x
+
1
⎝
⎠
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(3) ให้หาค่าของ
(3.1) ⎛⎜ 1 +1 2
⎝
(3.2)
+
1
+
2+ 3
⎛ 5− 2
+
⎜⎜
⎝ 5+ 2
(
(
(3.5)
2
⎛
+
⎜⎜
⎝ 12 − 2 35
18 + 320
)
1
+ ... +
3+ 4
1
⎞
8 + 9 ⎟⎠
5 + 2⎞
⎟
5 − 2 ⎟⎠
(3.3)
(3.4)
(3.6)
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
190
10 + 84 −
10 − 84
)
3
7 − 2 10
−
5
⎞
⎟
9 − 2 14 ⎟⎠
32
⎛ (6 + 35) − (6 − 35)3 2 ⎞
⎜
⎟
13 10
⎝
⎠
(4) ตอบคําถามต่อไปนี้
(4.1) [Ent’20] ให้หาค่าของ
x2 − 4xy + y2
เมื่อ
x =
6+ 3
6− 3
และ
y =
6− 3
6+ 3
(4.2) ให้เรียงลําดับจํานวนจากน้อยไปมาก
ข. 5 20 3
ค. 7 15 3
ง. 9 10 3
ก. 3 25 3
(4.3) ถ้า 2.44 × 7.17 = 0.56 แล้ว ให้หาค่าของ 0.0244 × 71.7
3.9 × 8
(5) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(5.1) ถ้า a x > 1 และ 0 < a < 1 แล้ว
(5.2) ถ้า x < 0 และ a > 1 แล้ว 0 <
(5.3) 5 2 < 5 3
(5.4) (sin 1°) 3 < (sin 1°) 2
(5.5) (tan 46°) 2 < (tan 46°) 3
390 × 0.008
x > 0
ax < 1
(6) ให้หาคําตอบของสมการ
(6.1) [Ent’33] x 1/ 2 − x 1/ 4 − 6 = 0
(6.2) 2x + 1 = x + 1
(6.3) [Ent’33] 2x + 1 − x −3 = 2
(6.4) 2x −3 + x +2 = 7x −5
(6.5) x2 + 6 x2 −2x +5 = 11 + 2x
(6.6) (x + 1) 2 = 5( x2 +2x +2 − 1)
(6.7) x2 + 3x +15 + x2 + 3x +6 = 9
(6.8) 2x2 −6x −27 − x2 −6x −2 = x − 5
(6.9) 3 6(5x +6) − 3 5(6x −11) = 1
Math E-Book Release 2.2.04
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
ãËËÒ¤Ò x ·Õè·Òí ãË 2x = 0
¹o§æ ËÅÒ¤¹µoºÇÒ 0 ... æµ·è¨Õ Ãi§¤×o äÁÁÕ¤Òí µoº
1. 20 = 1 ¹a
2. 2 ¡¡íÒÅa§´Ç¨íҹǹ¨Ãi§ã´¡çäÁÁÕ·Ò§ä´ 0 ¹a¤Ãaº
æÅaäÁÇÒ¨ae»¹eo¡«o¾e¹¹eªÕÂÅã´æ ¡çäÁÁ·Õ Ò§ä´ 0
(´Ù¨Ò¡¡ÃÒ¿¡çä´¤Ãaº ¤Ò y ·Õèä´µo§e»¹ºÇ¡eÊÁo)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
191
8.2 การแก้สมการทีเ่ ป็นเอกซ์โพเนนเชียล
(1) สมการในรูป af(x) = bg(x) จะต้องแปลงฐานทั้งสองข้างให้เท่ากัน เพื่อกําจัดฐานทิ้งไป
ตามสมบัติที่ว่า aM = aN ↔ M = N
(2) ถ้ามีพจน์เลขยกกําลังฐานเดียวกัน บวกลบกันอยู่ เช่น ax , a2x อาจสมมติเป็นตัวแปร
A, A2 เพื่อให้คํานวณสะดวกขึ้นเช่นเดิม (ฐานมักจะเป็นจํานวนเฉพาะ) แต่ถ้ามีฐานอื่นอยู่ด้วย จะใช้
ตัวแปร B อีกอันก็ได้ และเมื่อจัดกลุ่มเลขยกกําลังเป็นพวกๆ แล้ว จึงทําการคํานวณต่อไป
(3) อสมการ ใช้สมบัติของฟังก์ชันเพิ่ม/ฟังก์ชันลด ในการกําจัดฐาน คือ
M
N
a >a
↔ M > N เมื่อ a > 1 (ฟังก์ชันเพิ่ม)
M
และ a > aN ↔ M < N เมื่อ 0 < a < 1 (ฟังก์ชันลด)
•
ตัวอยาง ใหหาคําตอบของสมการตอไปนี้
ก. (0.1)x +2 = 10 x
วิธีคิด สมการอยูในรูป a = b จึงทําฐานใหเทากัน เชน ทําเปนฐาน 0.1
จะได (0.1)x +2 = ((0.1)−1)x ... ดังนั้น x + 2 = −x → 2x = −2 → x = −1
ข. 8 − 3 ⋅ 4 − 6 ⋅ 2 + 8 = 0
วิธีคิด สมการนีม้ ีเอกซโพเนนเชียลฐาน 2 ลวนๆ ดังนั้นสมมติให 2 = A เพื่อใหมองงายขึน้
จะได 2 − 3 ⋅ 2 − 6 ⋅ 2 + 8 = 0 → A − 3A − 6A + 8 = 0
แยกตัวประกอบไดเปน (A − 4)(A − 1)(A + 2) = 0 ... ดังนัน้ A = 4, 1, − 2
นั่นคือ 2 = 4, 1, − 2 ... แสดงวา x = 2, 0
(สวนกรณี 2 = − 2 นั้นเปนไปไมได เพราะเอกซโพเนนเชียลตองมีคาเปนบวกเสมอ)
f(x)
x
g(x)
x
x
x
3x
2x
x
3
2
x
x
แบบฝึกหัด 8.2
(7) ให้หาคําตอบของสมการ
x
x+3
(7.1) ⎛⎜ 1 ⎞⎟ = ⎛⎜ 1 ⎞⎟
⎝4⎠
⎝2⎠
2
(7.2)
101 + x = 1002x
(7.3)
⎛3⎞
⎜ ⎟
⎝2⎠
(7.4)
⎛ 4 ⎞ ⎛ 27 ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝9⎠ ⎝ 8 ⎠
2x + 1
x
8 ⎞
= ⎛⎜
⎟
⎝ 27 ⎠
x−1
−4
x
(7.5)
⎛ 1⎞
⎜ ⎟
⎝2⎠
(7.6)
18 8 − 4x = (54 2) 3x − 2
(7.7)
(5 + 2 6) x =
⋅2
= 1
(8) ให้หาคําตอบของสมการ
(8.1) 4 x + 1 + 64 = 2 x + 5
(8.2) 4 x + 2 − 2(4 x + 1) = 2 4x
(8.3) 2 2x + 2 − 9 ⋅ 2 x + 2 = 0
(8.4) [Ent’29,32] 2 2x + 1 − 9 ⋅ 2 x − 1 + 1 =
(8.5) 3 2x + 2 − 3 x + 3 − 3 x + 3 = 0
0
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
2x + 1
= 1
3+ 2
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
192
(8.6) 3 2x + 3 − 55 = 28 (3 x − 2)
(8.7) [Ent’31,33] 6(2 5x) + 11(2 3x) − 3 (2 x) = 2 5x + 1
(8.8) [Ent’34] 3 1+ x + x − 2 + 9(3 − x + x − 2) = 28
2
(9) ให้หาคําตอบของสมการ
(9.1) 3 (3 x + 3 − x) =
2
10
(9.3)
3 (3 2x + 3 − 2x) = 10
(9.2)
2
2
(11) ให้หาช่วงคําตอบของอสมการ
(11.1) 10 x + 1 < 1/10 x + 1
(11.2) 2 x − 5 > 1/16
(11.3) (0.5)x − 3x < (0.5)x − 3
2
2
⎛ 1⎞
⎜ ⎟
⎝2⎠
x2 + 2x + 8
1
< ⎛⎜ ⎞⎟
⎝4⎠
x
(9.4) [Ent’35]
(10) ให้หาคําตอบของสมการ
(10.1) 5 2x + 1 − 25 x = 4 x + (1/ 2) + 2 2x + 3
(10.2) 4 x − 3 x −(1/ 2) = 3 x + (1/ 2) − 2 2x − 1
(10.3) 6(3 2x) − 13 (6 x) + 6(2 2x) = 0
(10.4) 25(16 x) − 40 (20 x) + 16(5 2x) = 0
(10.5) [Ent’39] 3 x + 2x − 3 x + 1 − 9 x + 1 + 27
(11.4)
x
⎛ 4 ⎞ + ⎛ 3 ⎞ = 25
⎜ ⎟
⎜ ⎟
12
⎝3⎠
⎝4⎠
x + 12
1− x
1
= 2
x
6
x
+
1− x
= 0
(11.5) (sin 1°)x + 5 > (sin 1°)2
(11.6) (cot 1°)x + 5 < (cot 1°)2
(11.7) (cos 45°) x + 2 < (sin 45°)5
(11.8)
2 +7
ax
< a 8(x − 1)
8.3 ฟังก์ชันลอการิทมึ และกฎของลอการิทึม
ฟังก์ชันลอการิทึม เป็นอินเวอร์สของเอกซ์โพเนนเชียล เขียนได้ในรูป f (x) =
ความสัมพันธ์ระหว่างเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึมคือ x = ay ↔ y = loga x
โดยค่าของฐาน a จะต้องอยู่ในช่วง (0, 1) หรือ (1, ∞) ซึ่งนํามาเขียนกราฟได้ดังนี้
y
y
O
y = loga x,
(1,0)
a>1
(1,0)
x
O
y = loga x,
ฟังก์ชันเพิ่ม
x
0<a<1
ฟังก์ชันลด
ข้อสังเกต
1. ค่า x ต้องเป็นบวกเสมอ ส่วนค่า y เป็นอะไรก็ได้ ... Dlog = R+ , Rlog = R
2. ในที่นี้กราฟผ่านจุด (1, 0) เสมอ ... แสดงว่า loga 1 = 0 ทุกๆ ค่า a ที่เป็นฐานได้
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
loga x
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
193
3. จากการเลื่อนแกนทางขนาน จะได้สมการลอการิทึมเป็น y −k
4. loga x อ่านว่า “ล็อก x ฐาน a” หรือ “ลอการิทึม x ฐาน a”
= loga(x −h)
กฎของลอการิทึมได้แก่
⎧ loga 1 = 0
• ⎨
⎩ loga a = 1
⎧ loga(mn) = loga m + loga n
⎪
• ⎨
⎛m⎞
⎪ loga ⎜⎝ n ⎟⎠ = loga m − loga n
⎩
หมายเหตุ
a, b, c, m, n ∈ R+
โดยที่
•
loga p b q =
q
loga b
p
⎧⎪ mloga n = nloga m
• ⎨ log n
⎪⎩ a a = n
logc b
1
• loga b =
=
logc a
logb a
a, b, c ≠ 1
และ
p, q ∈ R
หากลอการิทึมมีฐานเป็น 10 เรียกว่า ลอการิทึมสามัญ (Common Logarithms) อาจละไว้
ไม่ต้องเขียนฐานกํากับ คือเขียนเพียง log x ก็ได้ นอกจากนั้น ลอการิทึมที่มีฐานเป็นค่าคงที่ทาง
วิทยาศาสตร์ e ( ≈ 2.718 ) จะเรียกว่า ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural Logarithms หรือ Napierian
Logarithms) และใช้สัญลักษณ์ ln x แทน loge x
การหาค่าลอการิทึมสามัญโดยใช้ตาราง
เนื่องจากในตารางระบุเพียงค่า log 1 จนถึง log 9.99 เท่านั้น
หากต้องการหาค่า log N เราจะต้องเขียนจํานวน N เป็นรูป N0 × 10 n เมื่อ
และใช้กฎของลอการิทึม ว่า log N = log (N0 × 10 n) = log N0 + n
1 < N0 < 10
ตัวอย่างเช่น log 1, 150 มีค่าเท่ากับ log (1.15 × 103) หรือ log (1.15) + 3
จากตารางพบว่า log (1.15) ≈ 0.0607 ดังนั้น log 1, 150 ≈ 3.0607
หมายเหตุ
1. หากค่า N0 ในตารางไม่ละเอียดพอ จะต้องใช้วิธีประมาณโดยเทียบสัดส่วนระยะทาง
2. เราเรียก n (เป็นจํานวนเต็มเสมอ) ว่า แคแรกเทอริสติก (Characteristic) ของ log N
และเรียก log N0 (มีค่าระหว่าง 0 ถึง 1 เสมอ) ว่า แมนทิสซา (Mantissa) ของ log N
3. ตารางที่กําหนดให้ เป็นค่าลอการิทึมสามัญ (ฐาน 10) เท่านั้น
ถ้าต้องการหาค่าลอการิทึมฐานอื่นๆ ต้องอาศัยกฎของลอการิทึมช่วยแปลงฐาน
นั่นคือ loga b = log b ÷ log a และ ln b = log b ÷ log e
( log e ≈ 0.4343 )
การหาค่าแอนติลอการิทึมโดยใช้ตาราง
จากตัวอย่างที่แล้ว เราทราบว่าค่า log ของ 1,150 เป็น 3.0607 (โดยประมาณ)
สามารถกล่าวแบบย้อนกลับได้ว่า ค่า antilog ของ 3.0607 เป็น 1,150
ตัวอย่างเช่น ต้องการหาค่า M ที่ทําให้ log M = 3.0607 เราต้องทํา 3.0607 ให้อยู่ในรูปผลบวก
ของแคแรกเทอริสติกกับแมนทิสซาก่อน นั่นคือ 3 + 0.0607 จากนั้นเปิดตารางได้เป็น
log 103 + log 1.15 หรือ log (1.15 × 103) ดังนั้น M ≈ 1, 150
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
194
หมายเหตุ ต้องทําให้แมนทิสซาเป็นบวกเสมอ เช่น log M = −3.0607 ไม่ควรทําเป็น
−3 − 0.0607 แต่ต้องทําเป็น −4 + 0.9393 เพื่อให้คํานวณได้สะดวก
แบบฝึกหัด 8.3
(12) ให้หาค่าของ
(12.1) log 0.01 + log2 0.25 + log5 0.04 + log50 0.0004
(12.2) log2 cos 60° + 7 log3 tan 30° − log8 sin 90° + log4 sin 30°
(12.3) log 1 8 + log 1 2 + log2 1 + log8 1
2
(12.4)
(12.5)
(12.6)
8
8
2
15
24 ⎞
⎛ 80 ⎞
log (20) + 7 log ⎛⎜ ⎞⎟ + 5 log ⎛⎜
⎟ + 3 log ⎜
⎟
⎝ 16 ⎠
⎝ 25 ⎠
⎝ 81 ⎠
2
2
2
+
+
log5 50
log 50
log2 50
log2 24
log2 192
−
log96 2
log12 2
(12.7) log2 1 ⋅ log3 2 ⋅ log4 3 ⋅ log4 5
(12.8) log2 3 ⋅ log3 4 ⋅ log4 5 ⋅ ... ⋅ logn(n+ 1) ⋅ log3132
(12.9) log4(log 81) − log4(log 3)
(12.10) 7 log 52 + 5 log2 4−3 − 2 log9 33
7
(13) ให้หาค่าของ
(13.1) 491− 0.25 log
7 25
(13.2)
(13.3)
(13.4)
(13.5)
(14) ให้เขียน
1
( + 8 log81 5 + log9 4 + log3 5)
81 2
log4096 64
3
1 − log5 4
25
−
2
/9
log3 9
1 − log8 2
⋅ 64
1 − log6 2
⋅ 36
⎛ 161 − log4 3 ⋅ 361 − log6 3 ⎞
⎜ 1 − log 3
⎟
− log7 3 ⎟
⎜ 25
5
⋅ 49
⎝
⎠
1/ 2
1
1
1
+
+
1 + loga bc
1 + logb ca
1 + logc ab
2 − log2 5
⋅4
เป็นรูปอย่างง่าย
(15) ตอบคําถามต่อไปนี้
(15.1) ให้หาค่า (g D f)(2) เมื่อกําหนด g (x) = log3 x และ f (x) = log2 x
(15.2) ให้หาค่า g (2 b) เมื่อกําหนด g (x) = log2b xx
(15.3) ให้หาค่า log 5 เมื่อทราบว่า log8 3 = p และ log3 5 = q
(15.4) [Ent’34] ถ้า x = log 3 (9−1)(27−4 / 3) และ y = log 25 − 2 log 5 + log 24 แล้ว
8
ให้หาค่าของ x + y
(15.5) ถ้า
(15.6) ถ้า
ของ logabcd x
log7(11−6 2) = a
และ
log7(45+29 2) = b
loga x = 1 , logb x = 1/10 , logc x =
3
9
แล้ว ให้หาค่าของ 3a + 2b
1/100 , logd x = 1/1000 แล้ว ให้หาค่า
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(15.7) ถ้า
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
195
p =
logb(logb a)
logb a
a, b > 1
เมื่อ
แล้ว ให้หาค่าของ
ap
(15.8) [Ent’33] ถ้า 2 log2 a − 3 log2 b = 4 และ 3 log2 a − 4 log2 b = 6 แล้ว ให้หาค่า
ของ (a2b + log2a b ) 1/ 2
(15.9) ถ้า loga(x − m) = log a x − log a m แล้วให้หาค่าของ x2 − m2x + m3
(16) ให้หาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
(16.1) y = log6(2−x)
(16.2) y = log1/ 3(−x)
(16.3) y = log x
(16.4)
(16.5)
(17) ให้หาแมนทิสซาและแคแรกเทอริสติกของค่าต่อไปนี้
(17.1) log 257
(17.3)
(17.4)
(17.2) log 0.024
y = log2 x − 3
y = − log5(3x2 −2)
3.3010
−2.3010
(18) จํานวน 875 15 มีกี่หลัก เมื่อกําหนดให้ log 8.75 = 0.9420
[Hint : ถ้า log N = characteristic + mantissa จะได้ว่า N นั้นมีจํานวน c+1 หลัก]
8.4 การแก้สมการทีเ่ ป็นลอการิทึม
(1) สมการเรื่องลอการิทึม มักจะแก้ปัญหาโดยใช้กฎของลอการิทึม เช่น การทําให้ฐาน
เท่ากันเพื่อกําจัด log ทิ้งไป ตามสมบัติที่ว่า loga M = loga N ↔ M = N
(2) ถ้ามีพจน์คล้ายกันปรากฏอยู่ อาจสมมติเป็นตัวแปร A เพื่อให้คํานวณสะดวกขึ้น
(3) เมื่อได้คําตอบแล้ว ต้องตรวจสอบว่าใช้ได้หรือไม่ (เช่น ภายใน log ต้องเป็นบวกเสมอ)
(4) อสมการ ใช้สมบัติของฟังก์ชันเพิ่ม/ฟังก์ชันลด ในการกําจัดฐาน คือ
loga M > loga N ↔ M > N เมื่อ a > 1 (ฟังก์ชันเพิ่ม)
และ loga M > loga N ↔ M < N เมื่อ 0 < a < 1 (ฟังก์ชันลด)
•
ตัวอยาง ใหหาคําตอบของสมการตอไปนี้
ก. log (2x − 1) + log (x + 3) = 2
วิธีคิด ใชสมบัตขิ อง log เปลี่ยนผลบวกกลายเปน log ผลคูณ ... log [(2x − 1)(x + 3)] = 2
ยายฐาน 2 ของ log ทางซาย ไปยกกําลังทางขวา จะได (2x − 1)(x + 3) = 4
กระจายพหุนามและแยกตัวประกอบ ... 2x + 5x − 7 = 0 → (2x + 7)(x − 1) = 0
นั่นคือ x = −3.5, 1 ... แต x = −3.5 ไมได เพราะจะทําใหภายใน log เปนลบ
ดังนั้นตอบ x = 1 เทานั้น
ข. 2 log x + log 9 = 3
วิธีคิด ให log x = A เพือ่ ใหมองงายขึ้น สมการจะกลายเปน 2A + A1 = 3
นํา A คูณทั้งสมการ แลวจัดรูปไดดังนี้ ... 2A + 1 = 3A → 2A − 3A + 1 = 0
แยกตัวประกอบ (2A − 1)(A − 1) = 0 ดังนัน้ A = 1/2, 2
2
2
2
2
9
x
9
2
Math E-Book Release 2.2.04
2
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
196
1/ 2
1
เนื่องจาก log x = 1/2, 1 ... จึงไดคําตอบเปน x = 9 , 9 นั่นคือ x = 3, 9
(หมายเหตุ ขอนี้ x อยูใน log และยังเปนฐานของ log ดวย จึงตองระวังเงื่อนไขเปนพิเศษ
คือ x หามติดลบ, หามเปน 0, และหามเปน 1)
9
แบบฝึกหัด 8.4
(19) ให้หาคําตอบของสมการ
(19.1) x + 8 = 10 log 8
(19.2) x log (2/ 3) = 2/3
(19.3) x 3 log x = 3 10, 000
(19.4) [Ent’38] 9 x − 3 x + log 2 = −1
(19.5) log4 log3 log2 7 log (x + 2x) = 0
3
7
(19.6) [Ent’33]
log 1 log 1 log 1
3
(19.7)
2
2
6
1
= 0
x2 − x + 4
logx + 4(x2− 1) = logx + 4(5− x)
(20) ให้หาคําตอบของสมการ
(20.1) [Ent’32] log (2x −5) + log (x + 1) = log (x2− x + 3)
(20.2) log (2x −1) + log (x + 1) = 2 log x2+ 1
(20.3) log 2 + log (4−5x −6x2) = 3 log 3 2x −1
(20.4) x2 log2(x2+2x −6) − 2x log2(x2+2x −6) = x2−2x
(20.5) 3 log8( x2+ 1+ x) + log2( x2+ 1− x) = log16(4x + 1) − 0.5
(21) ให้หาคําตอบของสมการ
(21.1) (log x)2 = log x2
(21.2) log x = log x
(21.3) [Ent’25] log2 x + 4 logx 2
(21.4) log3 x + 5 logx 3 = 7
2
= 5
2
(22) ให้หาคําตอบของ
(22.1) สมการ 3 2(x + 7) − 6(3 x + 7) + 8 = 0
(22.2) ระบบสมการ 5 x = 4 − y และ 5 2 + y =
42 − x
(23) ให้หาช่วงคําตอบของอสมการ
(23.1) (x3)x < (x)x
2
(23.4)
log a 5 > log 5 a
2
(23.5)
(23.6)
log 100 x < 1 − log
(23.2) [Ent’34] e x ln 2 < 2 x
(23.3) log x − 2(2x −3) > log x − 2(24−6x)
Math E-Book Release 2.2.04
log
4
2
x + 15
(x −8x −2x + 1) > 4
x−1
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
197
เฉลยแบบฝึกหัด (คําตอบ)
(1.1) 2 (1.2) x6y4
(1.3) 2 − x (1.4) 27
(1.5) 11/7 (2.1) 3a2 /5
(2.2) –2 (3.1) 2
(3.2) 14/3 (3.3) 10 + 8
(3.4) 2 3 (3.5) 2 5
(3.6) 1 (4.1) 30
(4.2) ง-ก-ค-ข (4.3) 0.56
(5) ถูกทุกข้อ ยกเว้น (5.1) ผิด
(6.1) 81 (6.2) 0, 4
(6.3) 4, 12 (6.4) 2, 5/2
(6.5) 1 (6.6) −1, − 1± 15
(6.7) –5, 2 (6.8) 9
(6.9) 6, − 161/30
(7.1) 3 (7.2) 2 ± 3
(7.3) 11/2, –13/2 (7.4) 3
(7.5) ไม่มีคาํ ตอบ (7.6) 22/17
(7.7) 1/2 (8.1) 2
(8.2) 3/2 (8.3) –2, 1
(8.4) –2, 1 (8.5) –2, 1
(8.6) –3, 0 (8.7) –1
(8.8) –3, 2 (9.1) –1, 1
(9.2) –1/2, 1/2 (9.3) –1, 1
(9.4) 4/13, 9/13 (10.1) 1/2
(10.2) 3/2 (10.3) –1, 1
(10.4) 1 (10.5) 1/2, ± 2
(11.1) (−∞, −1]
(11.2) R − [−1, 1]
(11.3) R − [1, 3]
(11.4) R − [−4, 4]
(11.5) (−∞, −3) (11.6) (−∞, −3)
(11.7) R − [−7, 3] (11.8) (3, 5)
เมื่อ a > 1 และ R − [3, 5] เมื่อ
0 < a < 1
(12.1) –8
(12.2) –5 (12.3) –20/3
(12.4) 1 (12.5) 4 /(1 + log 5)
(12.6) 3 (12.7) 0 (12.8) 5
(12.9) 1 (12.10) 19
(13.1) 49/5 (13.2) 24 ⋅ 512
(13.3) 3 − 2 (13.4) 144
(13.5) 4.8 (14) 1 (15.1) 0
(15.2) 2b (15.3) 3pq /(1+ 3pq)
(15.4) − log 3 (15.5) 6
(15.6) 1/1111 (15.7) log b a
(15.8) 4 (15.9) 0
(16.1) (−∞, 2) กับ R
(16.2) R − กับ R
(16.3) R+ กับ [0, ∞)
(16.4) R − {3} กับ R
(16.5) R − [− 2/ 3, 2/ 3] กับ R
(17.1) แมนทิสซา log 2.57
แคแรกเทอริสติก 2
(17.2) แมนทิสซา log 2.4
แคแรกเทอริสติก –2
(17.3) แมนทิสซา 0.3010
แคแรกเทอริสติก 3
(17.4) แมนทิสซา 0.6990
แคแรกเทอริสติก –3
(18) 45 (19.1) 0
(19.2) 10 (19.3) 10 ± 2/ 3
(19.4) 0 (19.5) –4, 2
(19.6) –1, 2 (19.7) 2
(20.1) 4 (20.2) 1
(20.3) –3/2 (20.4) –4, 2
(20.5) 3/4 (21.1) 1, 100
(21.2) 1, 104 (21.3) 2, 16
(21.4) 3, 3 5/ 2
(22.1) 2 log3 2−7, log3 2−7
(22.2) x = 4 log 2 /(1+log 2)
y = 2 (log 2− 1) /(1+log 2)
(23.1)
(23.2)
(23.3)
(23.4)
(23.5)
(23.6)
R+ − [1, 3]
(0, 1)
(2, 3) ∪ (27/8, 4)
(0, 1/5) ∪ (1, 5)
(0, 5)
(1, 2) ∪ (3, ∞)
เฉลยแบบฝึกหัด (วิธีคดิ )
(1.1) (25)7 ⋅ (22)−17 = 235 − 34 = 2
(1.2) x6y4z0 = x6y4
(1.3) นํา x2 คูณทั้งเศษและส่วน
4 − 4x + x2
(2 − x)2
=
=2−x
2−x
2−x
(1.4)
=
1
1
(33n)n
(1.5)
1
36n + 38n n
36n(1 + 32n) n
( 3n
) = [ 3n
]
5n
3 +3
3 (1 + 32n)
= 33 = 27
n
n
4 ⋅ 9 (9 + 2)
11
=
4n ⋅ 9n(4 + 3)
7
3
1
+
−
5
3
75
4 2
+
)
3
3
(2.1)
a2(
= a2(
3
1
5 3
4 2
+
−
+
)
5
3
3
3
= a2(
(2.2)
ซึ่ง
→
Math E-Book Release 2.2.04
3
1
5
4 2
3
3a 2
+
−
+
) = a2( )2 =
5
5
5
3
3
3
2
2
= 2
x − |x2 + 1|
x2 − (x2 + 1)2
x2 + 1
เป็นบวกเสมอ ถอดค่าสัมบูรณ์ได้เลย
2
2
=
= −2
−1
x2 − (x2 + 1)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(3.1) พิจารณา
และ
1
2 +
3
1+
⋅
1
2
2 −
2 −
จะได้วา่ โจทย์กลายเป็น
1− 2
2− 3
(
+
+
−1
−1
1− 9
=
= 2
−1
(3.2)
=
⋅
1− 2
1− 2
=
−1
1− 2
3
=
3
2 − 3
... ฯลฯ
−1
3− 4
+ ... +
−1
8− 9
)
−1
3) − ( 7 −
18
(6.1) ให้
5
7 − 2
= ( 7 + 5) + ( 5 + 2) − ( 7 + 2) = 2 5
(3.6) ใช้สูตร A3 − B3 = (A − B)(A2 + AB + B2)
โดยมอง A = 6 + 35 = 3.5 + 2.5
และ B = 6 − 35 = 3.5 − 2.5
จะได้โจทย์กลายเป็น
(2 2.5)(6 + 35 + 3.5 − 2.5 + 6 − 35)
13 10
=
( 6 +
2
2
หาค่า xy = 1 → ∴ (4 2)2 − 2(1) = 30
(4.2) ก. (35)5 3 = 2435 3
ข. (54)5 3 = 6255 3
ค. (73)5 3 = 3435 3
ง. (92)5 3 = 815 3 ∴ ง < ก < ค < ข
(4.3) จาก 2.44 × 7.17 = 0.56
3.9 × 8
จะได้วา่
A2 − A − 6 = 0
4
= 3
→ x = 3 = 81
หรือ
−2
เท่านัน้ (รากทีส่ ี่จะติดลบไม่ได้)
(6.2) ยกกําลังสอง → 2x + 1 = x + 2
→ x = 2 x → ยกกําลังสองอีกครั้ง
x +1
→ x2 = 4x → x(x − 4) = 0
→ x = 0
หรือ 4 ใช้ได้ทั้งสองคําตอบ
( ∗ เมื่อมีการยกกําลัง ต้องตรวจคําตอบทุกครัง้ ∗ )
(6.3) 2x + 1 = 2 + x − 3 → ยกกําลังสอง
ยกกําลังสองอีกครั้ง
→ x2 = 16(x − 3) → x2 − 16x + 48 = 0
x2 − 4xy + y2 = (x − y)2 − 2xy →
x−y =
จึงสรุปว่า
1
x4
→ x = 4 x−3 →
3) − ( 6 − 3)
6−3
9 + 2 18 − 9 + 2 18
=
= 4 2 →
6−3
หาค่า
จะได้
→ 2x + 1 = 4 + 4 x − 3 + x − 3
(2 2.5)(13)
= 1
13 10
(4.1)
1
x4 = A
→ (A − 3)(A + 2) = 0 → A = 3
3) = 2 3
3
−
5 − 2
5
2 <
→
(3.3) 18 + 2 80 → บวกกันได้
ได้ 80 คือ 10 กับ 8
ดังนัน้ ตอบ 10 + 8
(3.4) 10 + 2 21 − 10 − 2 21
2
+
7 − 5
x
มากกว่า 1 → ฟังก์ชนั เพิ่ม
3 ถูก
(5.4) sin 1° น้อยกว่า 1 → ฟังก์ชนั ลด
→
3 > 2 ถูก
tan 46° มากกว่า 1 → ฟังก์ชน
ั เพิ่ม
(5.5)
และคูณกัน
→
2 < 3 ถูก
(5.3)
7 − 2 10 + 7 + 2 10
14
=
3
3
(3.5)
(5.1) ax > a0 แต่ 0 < a < 1 (ฟังก์ชันลด)
ดังนัน้ x < 0 ข้อนี้ผดิ
(5.2) ถูก a > 1, x < 0 → 0 < ax < 1
y
อาจดูจากกราฟ
ในกรณีฟังก์ชันเพิ่ม
1
ซีกซ้ายของแกน y
O
( 5 − 2)2 + ( 5 + 2)2
( 5 + 2)( 5 − 2)
=( 7 +
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
198
2.44 × (10−2) × 7.17 × (10)
3.9 × (102) × 8 × (10−3)
= 0.56 × (10−2 + 1 − 2 + 3) = 0.56
หรือ 4
(ตรวจคําตอบแล้วพบว่าใช้ได้ทงั้ สองคําตอบ)
(6.4) ยกกําลังสอง
→ (x − 12)(x − 4) = 0 → x = 12
→ 2x − 3 + 2 (2x − 3)(x + 2) + x + 2 = 7x − 5
2x2 + x − 6 = 2x − 2
→
ยกกําลังสองอีกครั้ง
→ 2x2 + x − 6 = 4x2 − 8x + 4
→ 2x2 − 9x + 10 = 0 → (2x − 5)(x − 2) = 0
→ x = 5/2
หรือ
2
(ใช้ได้ทั้งสองคําตอบ)
(6.5) x2 − 2x − 11 + 6 x2 − 2x + 5
ให้ x2 − 2x + 5 = A จะได้
= 0
(A2 − 16) + 6A = 0 → (A + 8)(A − 2) = 0
→ A = −8
2
หรือ
x − 2x + 5 = 2
2
แต่รู้ทไม่มีทางติดลบ ดังนั้น
เท่านัน้ → ยกกําลังสอง
→ x2 − 2x + 5 = 4 → (x − 1)2 = 0 → x = 1
(ตรวจคําตอบแล้วใช้ได้)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
199
(6.6) x2 + 2x + 1 = 5 x2 + 2x + 2 − 5
ให้ x2 + 2x + 2 = A จะได้
(7.2)
ถ้า
A = 4
→ x + 2x + 2 = 16 → x = −1 ±
A = 1
แต่ถ้า
1
x2 + 2x + 2 = 4
จะได้วา่
2
หรือ
15
x2 + 2x + 2 = 1
จะได้วา่
2
10(1 + x
→ x =
A2 − 1 = 5A − 5 → A2 − 5A + 4 = 0
→ (A − 4)(A − 1) = 0 → A = 4
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
(7.3)
)
= 104x → 1 + x2 = 4x
4±
16 − 4
= 2±
2
(3/2)|2x + 1| = [(3/2)−3 ]−4 → |2x + 1| = 12
→ x = 11 / 2
(7.4)
หรือ
2x
−13 / 2
= [(2/ 3)3 ]x − 1 → 2x = 3x − 3
(2/ 3)
→ x = 3
(1/2)
x
= (1/2) 2x + 1 →
→ x2 + 2x + 2 = 1 → x = −1
(7.5)
ตอบ −1, − 1 ± 15
(6.7) ให้ x2 + 3x + 15 =
→ x = 2x + 1 → x = −1
∴
→
A + A −9 = 9 →
A − 9 = A −9
→ A − 18 A + 81 = A − 9
ยกกําลังสอง
→
A
A = 5 → A = 25
→ x2 + 3x + 15 = 25
→ (x + 5)(x − 2) = 0
(ใช้ได้)
ย้ายข้าง แยกตัวประกอบ
2
2
2
→ 5x − 25 = (x − 5) x2 − 6x − 2
2
→ 0 = (x − 5)( x − 6x − 2 − 5)
หรือ
2)3 ]3x − 2
→ 16 − 8x = 9x − 6 → x = 22 / 17
(7.7) เนื่องจาก
∴ x = 1/ 2
( 3 +
2)2 = 5 + 2 6
อาจใช้วิธี ทดลองยกกําลังสองดู กลายเป็น
2
x − 6x − 2 + 2(x − 5) x − 6x − 2 + x − 10x + 25
→ x = 5
2x + 1
ตรวจแล้วพบว่า ใช้ไม่ได้
ข้อนี้ ไม่มีคําตอบ
เพราะทําให้ในรู้ทติดลบ ∴
(7.6) [(3 2)2 ]8 − 4x = [(3
(8.1) 4 ⋅ 22x
มอง 2x เป็น
x2 − 6x − 2 + x − 5
→ 2x2 − 6x − 27 =
x =
(5 + 2 6)2x = 5 + 2 6 → 2x = 1 → x = 1 / 2
หรือ 2
(6.8) ข้อนีจ้ ัดเป็น A ล้วนๆ ไม่ได้
จึงต้องใช้วธิ ียกกําลังสอง ตามปกติ
→ x = −5
2x2 − 6x − 27 =
3
2
x − 6x − 2 = 5
2
→ x − 6x − 27 = 0 → (x − 9)(x + 3) = 0
− 32 ⋅ 2x + 64 = 0 →
A
จะได้
4A2 − 32A + 64 = 0
→ 4(A − 4) = 0 → A = 4
→ 2x = 4 → x = 2
4x = A → 16A − 8A = A2
(8.2) ให้
2
→ A − 8A = 0 → A(A − 8) = 0
→ A = 0
หรือ
8 → 4x = 8
x
(เพราะ 4 = 0 ไม่มี)
(8.3) ให้ 2x = A → 4A2
เท่านัน้
→ x = 3/2
− 9A + 2 = 0
→ (A − 2)(4A − 1) = 0 → A = 2
หรือ 1 / 4
= 1 หรือ −2
x = −3 หรือ 9
ดังนัน้ 2 = 2 หรือ 1 / 4 → x
ตรวจสอบคําตอบ พบว่า x = 5 และ −3 ใช้ไม่ได้ (8.4) ให้ 2x = A → 2A2 − 9 A + 1 = 0
2
∴ ตอบ x = 9 เท่านั้น
2
→
4A
−
9A
+
2
=
0
(สมการเหมื
อนข้อที่แล้ว)
3
3
(6.9) 30x + 36 = 1 + 30x − 55
→ x = 1 หรือ −2
ให้ 30x − 55 = A จะได้ 3 A + 91 = 1 + 3 A
1/ 3
2/3
(8.5) ให้ 3x = A → 9A2 − 27A − A + 3 = 0
ยกกําลังสาม A + 91 = 1 + 3A + 3A + A
x
→ 0 = A2 / 3 + A1 / 3 − 30
→ 9A2 − 28A + 3 = 0 → (9A − 1)(A − 3) = 0
→ (A1 / 3 + 6)(A1 / 3 − 5) = 0
→ A = 1/ 9
→ A
1/ 3
= 5
หรือ
−6
(รากทีส่ าม ค่าติดลบได้)
∴ A = 53 = 125 → 30x − 55 = 125 → x = 6
หรือ
3
A = (−6) = − 216 → 30x − 55 = − 216
→ x = −161 / 30
(7.1)
2x
(1 / 2)
→ x = 3
→ x = −2
(8.6) ให้
= (1 / 2)
→ 2x = x + 3
หรือ
3
3x = A → 27A2 − 55 = 28A − 56
2
→ 27A − 28A + 1 = 0 → (27A − 1)(A − 1) = 0
→ A = 1 / 27
x+3
→ 3x = 1 / 9
หรือ 3
หรือ 1
→ x = −3
Math E-Book Release 2.2.04
หรือ
หรือ 0
1 → 3x = 1 / 27
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
หรือ
1
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
2x = A → 6A5 + 11A3 − 3A = 2A5
(8.7) ให้
5
3
4
2
→ 4A + 11A − 3A = 0 → A (4A + 11A − 3) = 0
2
2
→ A(4A − 1)(A + 3) = 0
หรือ A2 = 1 / 4 ( A2 = −3 ไม่ได้)
(ไม่ได้) หรือ 22x = 1 / 4 → x = −1
→ A = 0
→ 2x = 0
9
= 28
A
→ 3A2 − 28A + 9 = 0 → (3A − 1)(A − 9) = 0
x2 + x − 2
3
(8.8) ให้
→ A = 1/ 3
→
หรือ
= A → 3A +
A = 9
หรือ
x2 + x − 2 = −1
2
3 = A → 3(A + 1/ A) = 10
→ 3A2 − 10A + 3 = 0 → (3A − 1)(A − 3) = 0
→ x = −1
หรือ
หรือ 1
3 → 3x = 1 / 3
หรือ
3
A
12
→ 12A2 − 25A + 12 = 0 → (4A − 3)(3A − 4) = 0
3
4
หรือ
4
3
4
3
→ ( )x =
3
4
1
หรือ
→ x = −1
หรือ
(9.4) ให้
x
1
13
= A → A+
=
1− x
A
6
4
3
2
3
หรือ
3
→
2
x
2
=
1− x
3
หรือ
ถ้า x = 2 → x = 4
1− x
3
1− x
9
→ 9x = 4 − 4x → x = 4 / 13
x
3
x
9
=
→
=
1− x
2
1− x
4
→ 4x = 9 − 9x → x = 9 / 13
หรือ ถ้า
x
x
(10.1) ให้ A = 25 , B = 4
จะได้ 5A − A = 2B + 8B →
→
4A = 10B
A
5
25
5
1
→
=
→ ( )x =
→ x =
B
2
4
2
2
3B +
B
3
3x = A, 2x = B
(10.3) ให้
2
→ 6A − 13AB + 6B2 = 0
หรือ
หรือ
2
3
2
3
→ x = 1
−1
หรือ
4x = A, 5x = B
→ 25A2 − 40AB + 16B2 = 0 → (5A − 4B)2 = 0
A
4
=
→ x = 1
B
5
ดังนัน้
2
3x = A, 32x = B
→ AB − 3A − 9B + 27 = 0
→ A(B − 3) − 9(B − 3) = 0
→ (A − 9)(B − 3) = 0 → A = 9
x2
→ 3
2x
= 9
หรือ 3
± 2 หรือ
หรือ
B = 3
= 3
ดังนัน้ x =
1/ 2
x+1
−(x + 1)
→ ฟังก์ชน
ั เพิ่ม
(11.1) 10 < 10
→ x + 1 < −(x + 1) → x < −1 ตอบ (−∞, −1]
(11.2) 2x − 5 > 2−4 → ฟังก์ชนั เพิ่ม
2
→ x2 − 5 > −4 → x2 − 1 > 0
→ 6A2 − 13A + 6 = 0 → (3A − 2)(2A − 3) = 0
→ A =
A
3
A =
→
2
2
4
4 4
3
∴ ( )x =
→ x =
3
2
3 3
(10.5) ให้
(9.2) ให้ 32x = A → 3(A + 1/ A) = 10
(เหมือนข้อที่แล้ว) → 32x = 1/ 3 หรือ 3 →
x = −1 / 2 หรือ 1 / 2
(9.3) ให้ (4/ 3)x = A → A + 1 = 25
→ A =
จะได้
3 3
A
8
4 4
A = 4B →
=
=
2
B
3 3
3 3
(10.4) ให้
x
→ A = 1/ 3
→
3B −
A
3
=
B
2
3
3
→ ( )x =
2
2
x +x−2 = 2
(9.1) ให้
B
=
3
A −
ดังนัน้
→ x2 + x − 6 = 0 → (x + 3)(x − 2) = 0
หรือ
A = 4x , B = 3x →
(10.2) ให้
→ (2A − 3B)(3A − 2B) = 0
(ไม่ได้)
2
→ x = −3
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
200
3
2
ตอบ (−∞, −1) ∪ (1, ∞) หรือ R − [−1, 1]
(11.3) 0.5x − 3x < 0.5x − 3 → ฟังก์ชนั ลด
2
→ x2 − 3x > x − 3 → x2 − 4x + 3 > 0
ตอบ (−∞, 1) ∪ (3, ∞) → หรือ R − [1, 3]
(11.4) (1 / 2)x + 2x + 8 < (1 / 2)2x + 24
2
→ x2 + 2x + 8 > 2x + 24
ตอบ R − [−4, 4]
(11.5) ฟังก์ชนั ลด (เพราะ
→ x2 − 16 > 0
sin 1° < 1 )
→ x + 5 < 2 → x < −3
ตอบ
(−∞, −3)
(11.6) ฟังก์ชนั เพิ่ม (เพราะ cot 1° > 1 )
→ x + 5 < 2 → ตอบ (−∞, −3)
(11.7) ( 1 )|x + 2| < ( 1 )5 → ฟังก์ชนั ลด
2
→ | x + 2 |> 5 →
ตอบ
2
(−∞, −7) ∪ (3, ∞)
Math E-Book Release 2.2.04
หรือ
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
R − [−7, 3]
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(11.8) ถ้า
a > 1 → x2 + 7 < 8x − 8
→ x − 8x + 15 < 0 → (x − 5)(x − 3) < 0
→ (3, 5)
0 < a < 1 → x2 + 7 > 8x − 8
→ x2 − 8x + 15 > 0 → R − [3, 5]
(3, 5)
ตอบ
∴
R − [3, 5]
(12.1)
เมื่อ
เมื่อ
a > 1
และ
0 < a < 1
log 10−2 + log2 2−2 + log5 5−2 + log50 50−2
(12.4)
1
1
20
−3−
= −
3
3
3
log 20 + 7 log 15 − 7 log 16 + 5 log 24
= (2 log 2 + log 5) + (7 log 3 + 7 log 5)
− (28 log 2) + (15 log 2 + 5 log 3) − (10 log 5)
+ (12 log 2 + 3 log 5) − (12 log 3)
(13.3)
3
log
212
= 49 / 5
26
− 2
log3 32
= 49 ÷ 25
1
= 32 −
2
3 −2
(13.4)
25 64 36 16
⋅
⋅
⋅
= 144
42 22 22 52
(13.5)
⎛ 16 ⋅ 36 ⎞
⎜ 32 32 ⎟
⎜ 25 1 ⎟
⎜⎜ 2 ⋅ 2 ⎟⎟
3 ⎠
⎝3
1/ 2
=
4⋅6
= 4.8
5
[หมายเหตุ ข้อ 13.1, 13.2, 13.4, 13.5
ใช้กฎที่วา่ Alog B = Blog A ]
1
1
(14) พิจารณา
=
m
m
1 + loga bc
1
log a
=
=
loga abc
log abc
และเช่นกัน
loga a + loga bc
1
log b
=
1 + logb ac
log abc
1
log c
=
1 + logc ab
log abc
ดังนัน้ จะได้ log a + log b + log c = 1
log abc
= pq(3(1 − log 5)) = 3pq − 3pq log 5
→ (1 + 3pq) log 5 = 3pq → log 5 =
log2 24 log2 96 − log2 192 log2 12
5
6
(15.1) (gof)(2) = g(f(2)) = g(1) = 0
(15.2) g(2b) = log2b 2b2b = 2b
(15.3) จาก pq = log8 3 ⋅ log3 5 = log 5
∴ log 5 = pq log 8 = pq(3 log 2)
(15.4)
2
= log2(2 ⋅ 3) log2(2 ⋅ 3) − log2(2 ⋅ 3) log2(2 ⋅ 3)
x = log 3 3−2 ⋅ 3−4 = log(3−2)
+ 3 log 2 + log 3 − 2 log 3 = log 3
= 15 + 8 log2 3 + [log2 3] − 12 − 8 log2 3 − [log2 3]
∴ x + y = −2 log 3 + log 3 = − log 3
= 3
(15.5)
2
=
log2 1 = 0 →
2
∴
ตอบ
0
log 3 log 4 log 5
log 32
⋅
⋅
⋅ ... ⋅
log 2 log 3 log 4
log 31
log 32
= 5
log 2
(12.9)
log 7 7
52
3a + 2b
= log7(11 − 6 2)3 + log7(45 + 29 2)2
= log7 [(11 − 6 2)3(45 + 29 2)2 ]
= log7 [(3,707 − 2,610 2)(3,707 + 2,610 2)]
= log7(117,649) = log7(76) = 6
log 81
log4(
) = log4 4 = 1
log 3
(12.10)
3pq
1 + 3pq
y = 2 log 5 − 3 log 2 − 2 log 5 + 2 log 3
= (3 + log2 3)(5 + log2 3) − (6 + log2 3)(2 + log2 3)
(12.7)
(12.8)
2
log 8
= log 2 + log 5 = log 10 = 1
(12.5) 2 log 5 + 2 + 2 log 2
log 50 log 50 log 50
4
4
=
=
log 50
1 + log 5
3
(13.2)
(9 ⋅ 58 ⋅ 42 ⋅ 54)
= 24 ⋅ 512
9
0.5
และ
− 5 log 25 + 3 log 80 − 3 log 81
(12.6)
0.25 log 7 49
49 ÷ 49
=
= −2 − 2 − 2 − 2 = −8
[หมายเหตุ 0.01 = 1 = 10−2 , 0.25 = 1 = 2−2
100
4
1
−2
= 5 , ... ]
0.04 =
25
(12.2) log2( 1) + 7 log3( 1 ) − log8(1) + log4( 1)
2
2
3
= −1 + 7(−1 / 2) − 0 + (−1 / 2) = −5
[หมายเหตุ log4( 1) = log22 (2−1) = − 1 ]
2
2
(12.3) log2−1 23 + log2−3 2 + log2 2−3 + log23 2−1
= −3 −
0.25 log 7 25
(13.1)
= 49 ÷ 25
2
ถ้า
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
201
+ 5 log2 2−6 − 2 log32 33
= 52 + (−30) − 2(3 / 2) = 19
(15.6) จาก log a = log x และ log b = 10 log x
และ log c = 100 log x และ log d = 1000 log x
นํามาบวกกัน จะได้ log abcd = 1111 log x
∴ logabcd x = 1 / 1111
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(15.7)
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
202
p = loga(logb a)
32x − 3x ⋅ 2 = −1 → 32x − 2 ⋅ 3x + 1 = 0
(19.4)
→ ap = aloga (logb a) = logb a
→ (3x − 1)2 = 0 → 3x = 1 → x = 0
(15.8) 2 log2 a − 3 log2 b = 4 .....(1)
และ 3 log2 a − 4 log2 b = 6 .....(2)
แก้ระบบสมการได้ log2 a = 2 และ log2 b = 0
∴ a = 4, b = 1 → ตอบ (42 + log8 1)1 / 2 = 4
(15.9) loga(x − m) = 2 loga x − 2 loga m
(19.5)
x
x
→ loga(x − m) = loga( )2 → x − m = ( )2
m
m
→ xm2 − m3 = x2 → ∴ x2 − m2x + m3 = 0
(16.1) โดเมน
2−x > 0 → x < 2
D = (−∞, 2)
และเรนจ์
(16.2) โดเมน
−x > 0 → x < 0
D = (−∞, 0) = R
R = R
(16.3) โดเมน x > 0 D = (0, ∞) = R+
และเรนจ์ R = [0, ∞) (เพราะมีคา่ สัมบูรณ์)
(16.4) โดเมน |x − 3| > 0 → เป็นจริงเสมอ
ยกเว้น x = 3 ∴ D = R − {3}
และเรนจ์ R = R
(16.5) โดเมน (3x2 − 2) > 0
→ ( 3x − 2)( 3x + 2) > 0
เขียนเส้นจํานวน
∴ D = R − [−
→ log3 log2(x2 + 2x) = 40 = 1
→ log2(x2 + 2x) = 31 = 3 → x2 + 2x = 23 = 8
ดังนัน้ (x + 4)(x − 2) = 0 → x = −4 หรือ
(19.6) วิธีเดียวกับข้อทีแ่ ล้ว จะได้ผลเป็น
2
1
1
=
→ x2 − x + 4 = 6
6
x2 − x + 4
→ (x − 2)(x + 1) = 0 → x = 2, −1
x2 − 1 = 5 − x → x2 + x − 6 = 0
(19.7)
→ (x + 3)(x − 2) = 0 → x = −3, 2
R = R
และเรนจ์
−
log4 log3 log2(x2 + 2x) = 0
ตรวจสอบคําตอบที่ได้ → พบว่า x = −3 ไม่ได้
เพราะจะเกิดฐานเป็น 1 → ∴ x = 2 เท่านัน้
(20.1) (2x − 5)(x + 1) = (x2 − x + 3)
→ x2 − 2x − 8 = 0 → (x − 4)(x + 2) = 0
ดังนัน้
x = 4, −2
x = −2
ตรวจสอบคําตอบ พบว่า
ไม่ได้ เพราะทําให้เกิดติดลบใน log
= 4 เท่านั้น
จึงได้ x
(20.2) (2x − 1)(x + 1) =
x2 + 1
→ x2 + x − 2 = 0 → (x + 2)(x − 1) = 0
→ x = −2, 1
2 2
,
]
3 3
ตรวจสอบคําตอบ พบว่า x =
ไม่ได้ เช่นเดียวกับข้อ 20.1 ... ดังนั้น x = 1
เท่านั้น
(20.3) 2(4 − 5x − 6x2) = 2x − 1
−2
และเรนจ์ R = R
→ 12x2 + 12x − 9 = 0 → 3(2x + 3)(2x − 1) = 0
(17.1) log 257 = log 2.57 + 2
∴ แมนทิสซา = log 2.57, แคเรกเทอริสติก = 2
ดังนัน้ x = −3/2, 1/2 ตรวจสอบคําตอบ พบว่า
(17.2) log 0.024 = log 2.4 − 2
x = 1 / 2 ไม่ได้ (จะเกิด log 0 ) ∴ x = −3 / 2
∴ แมนทิสซา = log 2.4, แคแรกเทอริสติก = −2
(20.4) (x2 − 2x) log2(x2 + 2x − 6) = x2 − 2x
(17.3) 3.3010 = 3 + 0.3010
→ (x2 − 2x)(log2(x2 + 2x − 6) − 1) = 0
∴ แมนทิสซา = 0.3010, แคเรกเทอริสติก = 3
→ x = 0 หรือ 2 หรือ log2(x2 + 2x − 6) = 1
(17.4) −2.3010 = −3 + 0.6990
→ (x2 + 2x − 6) = 2 → (x + 4)(x − 2) = 0
∴ แมนทิสซา = 0.6990, แคแรกเทอริสติก = −3
→ x = −4 หรือ 2
(18) log(875)15 = 15 log 875
ตรวจคําตอบพบว่า x = 0 ใช้ไม่ได้ (ติดลบใน log)
= 15(2 + 0.9420) = 44.13 →
15
∴ x = −4, 2 เท่านัน
้
ดังนัน้ 875 มี 45 หลัก
2
(20.5) log2( x + 1 + x) + log2( x2 + 1 − x)
(19.1) x + 8 = 8 → x = 0
= log16(4x + 1) − 0.5
(19.2) (2/ 3)log x = (2/ 3) → log x = 1 → x = 10
→ log2(x2 + 1 − x2) = log16(4x + 1) − 0.5
(19.3) ใส่ log ทั้งสองข้าง จะได้
→ 0 = log16(4x + 1) − 0.5
→ log x3 log x = (1 / 3) log 10,000
→ 0.5 = log16(4x + 1) → 4x + 1 = 4
→ 3(log x)2 = 4 / 3
→ log x = ± 2/3 → x = 102 / 3
หรือ
10−2 / 3
→ x = 3/4
Math E-Book Release 2.2.04
(ตรวจคําตอบแล้วใช้ได้)
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
log x = A → A2 = 2A
(21.1) ให้
2
→ A − 2A = 0 → A = 0
หรือ
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไข ได้เป็น (27 / 8, ∞)
และเงื่อนไข ใน log ต้องมากกว่า 0
2
24 − 6x > 0 → x < 4
→ x = 1 , 100
log x = A → A / 2 =
(21.2) ให้
→ x = 1 , 104
→ A = 0
หรือ
(21.3) ให้
log2 x = A → A + 4/ A = 5
2
→ A − 5A + 4 = 0 → A = 1
หรือ
4
→ x = 2 , 16
log3 x = A → A +
(21.4) ให้
5
7
=
2A
2
→ 2A2 − 7A + 5 = 0 → A = 5 / 2
5/2
→ x = 3
หรือ
1
, 3
3x + 7 = A → A2 − 6A + 8 = 0
(22.1) ให้
→ A = 2, 4 → 3x + 7 = 2
หรือ
ตอบ (2, 3) ∪ (27 / 8, 4)
(23.4) ให้ A = log5 a
กรณีแรก 0 < a < 1 (ฟังก์ชันลด)
จะได้ 1/ A > A → 1/ A − A > 0
นํา A คูณ → 1 − A2 < 0
A2 − 1 > 0 ดังนั้น A > 1 , A < −1
นั่นคือ a > 5 , a < 1 / 5
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไข ได้เป็น (0, 1 / 5)
กรณีที่สอง a > 1 (ฟังก์ชันเพิ่ม)
จะได้ 1/ A − A > 0 นํา A คูณ
∴
A
→ A2 / 4 = A → A2 − 4A = 0
4
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
203
4
→ x + 7 = log3 2
หรือ log3 4
→ x = log3 2 − 7 หรือ 2 log3 2 − 7
(22.2) x log 5 + y log 4 = 0 ..... (1)
x log 4 + y log 5 = 2 log 4 − 2 log 5 ..... (2)
แก้ระบบสมการตามปกติ ได้ผลเป็น
− log 4(2 log 4 − 2 log 5)
(log 5)2 − (log 4)2
2 log 4
4 log 2
=
=
log 5 + log 4
1 + log 2
x =
→ 1 − A2 > 0 → A2 − 1 < 0
ดังนัน้ −1 < A < 1 นัน่ คือ 1 / 5 < a < 5
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไข ได้เป็น (1, 5)
∴ ตอบ (0, 1 / 5) ∪ (1, 5)
(23.5) 1 log x < log 10 − log x + 15
2
→ x
1/ 2
<
10
→
x + 15
ยกกําลังสองได้
→ x(x + 15) < 100
เพราะเป็นบวกทัง้ สองข้าง
2
→ x + 15x − 100 < 0 → (x + 20)(x − 5) < 0
จะได้ −20 < x < 5 ... ตรวจสอบเงือ่ นไข log และ
เงื่อนไขรูท้ → x > 0, x + 15 > 0
∴ คําตอบเป็น (0, 5) เท่านั้น
และ y = 2(log 2 − 1)
1 + log 2
(23.6) log x − 1(x − 8x − 2x + 1) > log x − 1( x − 1)
(23.1) มี 2 กรณี ขึน้ กับฐานว่าเป็นฟังก์ชันลดหรือ
กรณีแรก ถ้า 1 < x < 2 (ฟังก์ชนั ลด)
เพิ่ม ... กรณีแรก 0 < x < 1 (ฟังก์ชันลด)
จะได้
x4 − 8x2 − 2x + 1 < (x − 1)2
จะได้ 3x > x2 → x2 − 3x < 0
4
→ x (x − 3) < 0 → x ∈ (0, 3)
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไข ได้เป็น (0, 1)
กรณีที่สอง x > 1 (ฟังก์ชันเพิ่ม)
จะได้ 3x < x2 → x2 − 3x > 0
→ x (x − 3) > 0 → x ∈ (−∞, 0) ∪ (3, ∞)
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไข ได้เป็น (3, ∞)
∴ ตอบ (0, 1) ∪ (3, ∞) หรือ R − [1, 3]
(23.2) 2x < 2x → x2 < x
→ x2 − x < 0 → x(x − 1) < 0 ตอบ (0, 1)
(23.3) กรณีแรก 2 < x < 3 (ฟังก์ชันลด)
จะได้ 2x − 3 < 24 − 6x → x < 27 / 8
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไข ได้เป็น (2, 3)
กรณีที่สอง x > 3 (ฟังก์ชันเพิ่ม)
จะได้ 2x − 3 > 24 − 6x → x > 27 / 8
2
2
4
→ x4 − 9x2 < 0 → x2(x2 − 9) < 0
→ x2(x − 3)(x + 3) < 0
x ∈ (−3, 3) − {0}
เขียนเส้นจํานวนได้
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไขช่วง ได้เป็น (1, 2) เท่านั้น
กรณีที่สอง ถ้า x > 2 (ฟังก์ชันเพิ่ม)
จะได้ x4 − 8x2 − 2x + 1 > (x − 1)2
→ x2(x − 3)(x + 3) > 0 เขียนเส้นจํานวนได้
x ∈ (−∞, −3) ∪ (3, ∞)
อินเตอร์เซคกับเงือ่ นไขช่วง ได้เป็น (3, ∞) เท่านั้น
สรุป ช่วงคําตอบรวมคือ (1, 2) ∪ (3, ∞)
ตรวจสอบกับเงื่อนไข log และรู้ท
x4 − 8x2 − 2x + 1 > 0,
x−1> 0
พบว่าใช้ได้หมด ดังนัน้ ตอบ
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
(1, 2) ∪ (3, ∞)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและลอการิทึม
204
eÃ×èo§æ¶Á
จําเป็นต้องตรวจคําตอบของสมการ (หรืออสมการ) เมื่อใดบ้าง..
(1-บทที่ 2) เมื่อในโจทย์มีตวั แปรอยูท่ ี่ส่วน (เศษส่วน)
* สมการ เช่น
* อสมการ เช่น
1
2x
=
x−1
3x − 1
1
2x
>
x−1
3x − 1
* แต่ถ้าเป็นแบบนี้
1
>
x−1
ย้ายข้างคูณไขว้ได้
แบบนี้หา้ มคูณไขว้ ให้ย้ายมาลบกัน
2x
3x − 1
สามารถคูณไขว้ได้ เพราะมัน่ ใจว่าส่วนไม่ตดิ ลบแน่นอน..
แต่ไม่ว่าจะเป็นแบบใด, คูณไขว้ได้หรือไม่.. เมื่อได้ช่วงคําตอบแล้วต้องตัดค่า x ที่ทาํ ให้ส่วนเป็น 0 ทิ้งไปเสมอ
(2-บทที่ 2) เมื่อในโจทย์มีคา่ สัมบูรณ์ และจะใช้วธิ ียกกําลังสองทั้ง 2 ข้าง
เช่น 2x − 1 < 3x + 2 สามารถยกกําลังสองได้ เพราะมั่นใจว่าเป็นบวกทัง้ 2 ข้าง
แต่อย่าลืมเพิ่มเงือ่ นไขว่า ฝั่งขวามากกว่าหรือเท่ากับ 0 ด้วย (ให้ตัดช่วงคําตอบทีข่ ัดแย้งกับเงื่อนไขนี้ทงิ้ ไป)
(3-บทที่ 7) เมื่อในโจทย์มีฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิตทิ ี่ไม่ใช่ sin กับ cos
เช่น 2 sin x = sec x มีฟังก์ชัน sec จึงต้องระวัง คําตอบที่ทาํ ให้ cos x = 0 จะใช้ไม่ได้
cosec x + cot x > 5/ 3 มีฟังก์ชัน cosec และ cot จึงต้องระวัง คําตอบที่ทาํ ให้ sin x = 0 จะใช้ไม่ได้
(4-บทที่ 7) เมื่อในโจทย์มีฟงั ก์ชนั ตรีโกณมิตผิ กผัน (หมายถึง arc- ต่างๆ)
เช่น arcsin (2x + 1) − arcsin (2x −1) = arccos (−1) แก้โดยใส่ cos หรือ sin ทัง้ สองข้างของสมการ
แต่ตอ้ งระวังว่าคําตอบที่ได้อาจไม่อยู่ในช่วงโดเมนมาตรฐาน (เช่นถ้าได้ x=1 จะใช้ไม่ได้ เพราะไม่มี arcsin3)
และยังต้องตรวจว่าคําตอบที่ได้ทาํ ให้สมการเป็นจริงหรือไม่
(5-บทที่ 8) เมื่อในโจทย์มี log
เช่น log2(2x − 1) + log2(x + 3) = 2 ต้องระวังว่า ภายในฟังก์ชัน log ต้องมากกว่าศูนย์เสมอ
และยังต้องตรวจว่าคําตอบที่ได้ทาํ ให้สมการเป็นจริงหรือไม่
2 log9 x + logx 9 = 3 มีตัวแปรทัง้ ใน log และที่ฐานของ log จึงต้องระวังทั้งสองอย่างคือ
ภายในฟังก์ชัน log ต้องมากกว่าศูนย์, ทีฐ่ านต้องมากกว่าศูนย์และไม่เท่ากับหนึ่ง
และยังต้องตรวจว่าคําตอบที่ได้ทาํ ให้สมการเป็นจริงหรือไม่
(6-บทที่ 8) เมื่อในโจทย์มีรากที่ n (หรือยกกําลัง 1/n) เมื่อ n เป็นจํานวนคู่
เช่น 2x + 1 − x −3 = 2 มีรากทีส่ อง จึงใช้วิธียกกําลังสองเพือ่ กําจัดเครื่องหมายรูท้
ต้องระวังคําตอบที่ได้วา่ ภายในรู้ทห้ามติดลบ (แต่ถ้าเป็นรากทีส่ าม ในรูท้ ติดลบได้)
และยังต้องตรวจว่าคําตอบที่ได้ทาํ ให้สมการเป็นจริงหรือไม่
(7-บทที่ 16) เมื่อในโจทย์มีแฟคทอเรียลของตัวแปร
เช่น
(x + 3)! = 30(x + 1)!
2 Px,2 + 50 = P2x,2
คําตอบที่ได้จะต้องทําให้หน้าแฟคทอเรียลเป็นจํานวนนับหรือศูนย์เท่านัน้
เมื่อกระจายแล้วจะมีแฟคทอเรียลเช่นกัน อย่าลืมตรวจคําตอบด้วยนะ :]
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
205
[m t r x]
º··Õè
9 eÁµÃi¡«
เมตริกซ์ (Matrix) เป็นกลุ่มของจํานวนที่เรียง
กันเป็นรูปสี่เหลี่ยม ภายในเครื่องหมายวงเล็บ ( )
หรือ [ ] เรียกจํานวนแต่ละจํานวนที่อยู่ในเมตริกซ์ว่า
สมาชิก (Entry) เราศึกษาเรื่องเมตริกซ์เพื่อใช้ช่วยใน
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นหลายตัวแปร
ซึ่งจะได้
อธิบายไว้ในหัวข้อสุดท้ายของบทนี้
ตัวอย่างเมตริกซ์ เช่น
⎛ 7 5⎞
⎜ 6 0 ⎟ , ⎡ 1 0 −2 ⎤ , ⎡3 4⎤
⎦ ⎢2 2 ⎥
⎜⎜
⎟⎟ ⎣
⎣
⎦
⎝ −5 2 ⎠
ขนาดของเมตริกซ์ เรียกว่า มิติ (Dimension) (คิดจากจํานวน แถว; row คูณ หลัก; column)
ในตัวอย่างเป็นเมตริกซ์ที่มีมิติ 3×2, 1×3, 2×2 ตามลําดับ ... เมตริกซ์สองเมตริกซ์ จะเท่ากันได้ก็
ต่อเมื่อ “มีมิติเดียวกัน” (แปลว่า ขนาดเท่ากัน) และสมาชิกในตําแหน่งเดียวกันต้องมีค่าเท่ากัน
การเรียกชื่อเมตริกซ์นิยมใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น A, B, C และอาจเขียนมิติกํากับเป็นตัวห้อย
ไว้ เช่น A3 × 2 , B1× 3 , C2 × 2 โดยจะเรียกชื่อสมาชิกเป็นตัวพิมพ์เล็ก ที่มีตัวห้อยบอกตําแหน่งแถวและ
หลัก ในรูป aij (แถวที่ i และหลักที่ j) เช่น
⎡ a11 a12 ⎤
A = ⎢a21 a22 ⎥
⎢
⎥
⎣⎢a31 a32 ⎥⎦
B = ⎣⎡ b11 b12 b13 ⎦⎤
จะได้
Math E-Book Release 2.2.04
a11 = 7
a21 = 6
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
b13 = −2
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
206
หมายเหตุ เพื่อหลีกเลี่ยงการเข้าใจผิด หากจํานวนแถวหรือจํานวนหลักเท่ากับ 10 ขึ้นไป จะไม่เขียน
ตําแหน่งเป็นตัวห้อย ... แต่จะเขียนค่า i และ j กํากับไว้ด้านหลัง เช่น aij , i = 2, j = 11
ทรานสโพส (เมตริกซ์สลับเปลี่ยน; Transpose) ของเมตริกซ์ A
ใช้สัญลักษณ์ A t หรือ AT คือการเปลี่ยนแถวเป็นหลัก (หรือเปลี่ยนหลักเป็นแถว)
เช่น
⎡ 7 5⎤
A = ⎢ 6 0⎥
⎢
⎥
⎣⎢ −5 2⎦⎥
เมตริกซ์มิติ
m×n
⎡7 6 −5⎤
At = ⎢
⎥
⎣5 0 2 ⎦
เมื่อทําการทรานสโพส จะกลายเป็นมิติ
n×m
เมตริกซ์ที่ควรรู้จัก
1. เมตริกซ์จัตุรัส (Square Matrix) คือเมตริกซ์ที่มีจํานวนแถว เท่ากับจํานวนหลัก
สมมติว่ามี n หลัก และ n แถว ( n × n ) เรียกสมาชิกในแนว 11, 22, 33, ..จนถึง nn ว่า เส้น
ทแยงมุมหลัก (Main Diagonal) และสมาชิกตัวอื่นที่เหลือจะเรียงเป็นรูปสามเหลี่ยม เรียกว่า
สามเหลี่ยมบน (Upper Triangle) และ สามเหลี่ยมล่าง (Lower Triangle)
⎡ 2 0⎤
⎢
⎥
⎣ − 1 1 ⎦2 × 2
⎣⎡ 5 ⎦⎤ 1× 1
⎡6 2 1 ⎤
⎢3 1 −2⎥
⎢
⎥
⎣⎢3 0 1 ⎦⎥ 3 × 3
2. เมตริกซ์ศูนย์ (Zero Matrix; 0 ) คือเมตริกซ์ที่สมาชิกทุกตัวเป็นเลข 0 (จัตุรัสหรือไม่ก็ได้)
⎣⎡ 0 ⎦⎤
⎡0⎤
⎢0⎥
⎣ ⎦
⎡0 0 0⎤
⎢0 0 0⎥
⎣
⎦
⎡0 0 0⎤
⎢0 0 0⎥
⎢
⎥
⎣⎢0 0 0⎦⎥
3. เมตริกซ์หนึ่งหน่วย (Unit Matrix; I) คือเมตริกซ์จัตุรัส ที่มีสมาชิกในแนวเส้นทแยงมุมหลัก เป็น
1 และสมาชิกตัวอื่นที่เหลือทั้งหมดเป็น 0 อาจเขียนขนาดกํากับเป็นตัวห้อยเพียง 1 ตัว
I1 = ⎣⎡ 1 ⎦⎤
⎡ 1 0⎤
I2 = ⎢
⎥
⎣0 1 ⎦
⎡ 1 0 0⎤
I3 = ⎢0 1 0⎥
⎢
⎥
⎣⎢0 0 1 ⎦⎥
9.1 การบวก ลบ และคูณเมตริกซ์
1. การบวกเมตริกซ์คู่หนึ่ง จะทําได้ก็ต่อเมื่อ เมตริกซ์ทั้งสองมีมิติเดียวกัน
ผลบวกที่ได้ จะมีมิติเดิม และสมาชิกของผลลัพธ์เกิดจากสมาชิกตําแหน่งเดียวกันนั้นบวกกัน
(สําหรับการลบก็เช่นกัน; สมาชิกผลลัพธ์ เกิดจากสมาชิกตําแหน่งเดียวกันลบกัน)
⎡ 1 −2 3⎤
⎡0 2 − 1⎤
⎡1 0 2⎤
⎢ − 4 5 6⎥ + ⎢3 −2 4 ⎥ = ⎢ − 1 3 10⎥
⎣
⎦
⎣
⎦
⎣
⎦
⎡ 1 −2 3⎤ ⎡0 2 − 1⎤
⎡ 1 − 4 4⎤
⎢ − 4 5 6⎥ − ⎢3 −2 4 ⎥ = ⎢ − 7 7 2 ⎥
⎣
⎦
⎣
⎦ ⎣
⎦
เอกลักษณ์การบวกของเมตริกซ์ ก็คือ เมตริกซ์
0
2. การคูณเมตริกซ์ด้วยสเกลาร์ ผลที่ได้จะเป็นการคูณสมาชิกทุกตัวด้วยสเกลาร์นั้น
⎡ 1 2 3⎤
⎡2 4 6 ⎤
2⎢
⎥ = ⎢0 − 10 14⎥
0
−
5
7
⎣
⎦
⎣
⎦
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
207
3. ส่วนการคูณเมตริกซ์คู่หนึ่งจะทําได้เมื่อ จํานวนหลักของตัวตั้งเท่ากับจํานวนแถวของตัวคูณ
และผลคูณที่ได้จะเป็นเมตริกซ์ที่มีจํานวนแถวเท่าตัวตั้ง จํานวนหลักเท่าตัวคูณ
หรือเขียนง่ายๆ ได้ดังนี้
Am × n × Bn × r = Cm × r
วิธีการหาสมาชิกของผลลัพธ์ ขอให้สังเกตจากตัวอย่าง (ยึดแถวตัวตั้ง ยึดหลักตัวคูณ)
⎡ 2 3⎤
⎡0 1⎤
⎡1 3 2⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢3 2⎥ , C = ⎢ − 1 0 −2⎥
−
1
4
⎣
⎦
⎣
⎦
⎣
⎦
⎡ 2⋅0 + 3⋅3 2⋅1+ 3⋅2 ⎤
⎡ 9 8⎤
จะได้ AB = ⎢−1⋅0+ 4 ⋅3 −1⋅1+ 4 ⋅2⎥ = ⎢12 7 ⎥
⎣
⎦
⎣
⎦
⋅ −1) 0⋅3+ 1⋅0 0⋅2+ 1(
⋅ −2)⎤
⎡ 0⋅1+ 1(
⎡ − 1 0 −2⎤
BC = ⎢
⎥ = ⎢1 9 2⎥
3
1
2(
1)
3
3
2
0
3
2
2(
2)
⋅
+
⋅
−
⋅
+
⋅
⋅
+
⋅
−
⎣
⎦
⎣
⎦
เอกลักษณ์การคูณของเมตริกซ์ ก็คือ เมตริกซ์ I
จะเรียกว่า เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix) ก็ได้
•
สมบัติการบวกและการคูณ
การบวกเมตริกซ์
การคูณด้วยเมตริกซ์
A +B = B + A
•
• (A + B) + C = A + (B + C)
•
•
•
A t + Bt = (A + B)t
•
A + 0 = 0 + A = A
• (AB)t = BtA t
•
• (kA)t = k ⋅ A t
•
A (B + C) = AB + AC
• (A + B) C = AC + BC
A + (−A) = 0
การคูณด้วยสเกลาร์
•
AB ไม่จําเป็นต้องเท่ากับ BA
• (AB) C = A (BC)
AI = IA = A
k1(k2A) = k2(k1A) = (k1k2) A
k(A + B) = kA + kB
แบบฝึกหัด 9.1
(1)
⎡2 3 − 1⎤
⎡ −3 2 ⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢ 5 4⎥
4
0
8
⎣
⎦
⎣
⎦
(2) ให้เมตริกซ์ A มีมิติ
(3) เมื่อ
(4) ถ้า
3×3
จงหาค่าของ
โดยที่
a11 +b22
⎧i + j
⎪
aij = ⎨ 1
⎪⎩i − j
และ
,i > j
,i = j
,j > i
2a12 − 3b21
จงเขียนเมตริกซ์ A นั้น
⎡cosec 30° log 10−4 ⎤
⎡ 2 − 4⎤
A = ⎢ 0
, B = ⎢
⎥ ถามว่า A = B หรือไม่
⎥
4
25 ⎥⎦
⎢⎣
⎣2 + 1 5 ⎦
⎡x −1 1 ⎤
⎡x2 x − x2 ⎤
x2 − x + 1 = 0 และ A = ⎢
, B = ⎢
⎥ แล้ว A = B
⎥
2
x ⎦
⎣0
⎣ 0 x + 1⎦
(5) จงหาค่าของ
(5.1)
⎡ 1 3 2⎤
⎡2 6 1 ⎤
⎢0 1 5⎥ + ⎢4 1 2⎥
⎣
⎦
⎣
⎦
⎡6 2 ⎤ ⎡ 1 5⎤
⎢8 4⎥ − ⎢ − 1 3⎥
⎦
⎣
⎦ ⎣
2
3
0
1
⎡
⎤
⎡
⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢ 3 2⎥
⎣ − 1 4⎦
⎣
⎦
(5.3)
⎡ 2 1⎤
5 ⎢ 4 3⎥
⎢
⎥
⎢⎣ −2 8⎥⎦
(5.2)
(6)
จงหา
A + B, A t + Bt , (A + B)t , A + 0
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
หรือไม่
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(7)
(8)
เมตริกซ
208
⎡2 −1 4⎤
A = ⎢
⎥ จงหา
⎣3 0 1 ⎦
⎡a a ⎤
A = ⎢ 11 12 ⎥ , B =
⎣a21 a22 ⎦
A t , 2A, −A
⎡b11 b12 b13 ⎤
⎢b21 b22 b23 ⎥
⎣
⎦
จงเขียนเมตริกซ์ AB
(9) จงหาค่า x, y เมื่อกําหนดให้
(9.1) A2 × 5 × B5 × 3 = Cx × y
(9.2) A3 × 5 × Bx × y = C3 × 4
(10) A3 × 2 , B2 × 4 จงหามิตขิ อง AB และ BA
(11)
(12)
⎡1
A = ⎢
⎣ −1
⎡1
A = ⎢
⎣4
2⎤
⎡3 0 ⎤
, B = ⎢
⎥ จงหา
0⎥⎦
⎣ 1 1⎦
0⎤
⎡ 3 − 4⎤
, B = ⎢
⎥
2 ⎥⎦
⎣ −1 5 ⎦
จงหา AB, BA,
(13)
2
2
(17)
(18)
e¹×èo§¨Ò¡ AB Áa¡äÁe·Ò¡aº BA
´a§¹aé¹ (A + B)2 ≠ A2 + 2AB + B2 ¹a¤Ãaº
æÅa¡çËÒÁæÂ¡µaÇ»Ãa¡oºÊÁ¡ÒáíÒÅa§Êo§´ÇÂ
eª¹ (A + 2B)(3A + B) ≠ 3A2 + 7AB + 2B2
æµe¹×èo§¨Ò¡ AI e·Ò¡aº IA eÊÁo
´a§¹aé¹ (A + 2I)(3A + I) = 3A2 + 7A + 2I
2
จงหา
A t × (B × A)
⎡3 0 1 ⎤ ⎡ 1 0 ⎤
⎢2 − 1 0⎥ ⎢ 1 − 1⎥ ⎡ − 1 0⎤ = C
⎢
⎥⎢
⎥ ⎢⎣ 4 2 ⎥⎦
⎣⎢ 1 1 2 ⎦⎥ ⎢⎣2 3 ⎦⎥
⎡2 1 ⎤
n
A = ⎢
⎥ จงหา A
⎣0 2⎦
(16) [Ent’33] กําหนด
A2 × x × By × 5 = C2 × 5
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
(A + B) , A + 2AB + B
⎡2 1 ⎤
⎡ 3 2⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢ 1 2⎥
⎣0 3⎦
⎣
⎦
A x × 2 × B2 × 5 = C7 × y
AB, BA
(14) ถ้า
(15)
(9.3)
(9.4)
จงหาค่า
c22
⎡ x + y 2⎤
⎡ 2 y⎤
⎡ 1 a⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢ −2 y ⎥ , C = ⎢0 1⎥
⎣
⎦
⎣ 3 z⎦
⎣
⎦
⎡3 x ⎤
⎡1 2 0 ⎤
⎢ 1 y ⎥ , C = ⎡5 7 ⎤
A = ⎢
,
B
=
⎥
⎢ 7 5⎥
1
0
2
⎢
⎥
⎣
⎦
⎣
⎦
⎣⎢ z 1 ⎥⎦
ถ้า X = ⎡⎢0a −0b⎤⎥ และ X2 + 2X + I = 0
⎣
⎦
⎡ a 4⎤
2
A = ⎢
⎥ ถ้า A
⎣2 b ⎦
⎡ x − 1 x2 ⎤
⎡ −2
⎢
⎥
A = ⎢y2 1 3 ⎥ , B = ⎢ 0
⎢
⎢ 3 x2 y ⎥
⎢⎣ 4
⎣
⎦
ถ้า
AB = C
+ 4 A − 5I = 0
(20)
0 4⎤
2 4⎥
⎥
4 2 ⎦⎥
(21) [Ent’39]
⎡3 7⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎣⎡ x y ⎦⎤
⎣ − 7 − 4⎦
BABt = [12]
เป็นกราฟรูปอะไร
จงหาค่า
AB = C
จงหาค่า a
x + y − z
จงหา a, b
(19) [Ent’30]
ถ้า
ถ้า
จงหา a, b
At + A = B
เซตของจุด
แล้ว x, y เป็นเท่าใด
(x, y)
ซึ่งสอดคล้องกับสมการ
9.2 ดีเทอร์มินันต์
ดีเทอร์มินันต์ (ตัวกําหนด; Determinant) เป็นคุณสมบัติของเมตริกซ์จัตุรัสเท่านั้น
และดีเทอร์มินันต์มีค่าเป็นตัวเลข โดยเมตริกซ์หนึ่งๆ จะคํานวณดีเทอร์มินันต์ได้ค่าเดียวเสมอ
เครื่องหมายแสดง “ดีเทอร์มินันต์ของเมตริกซ์ A” คือ A หรือ det (A)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
วิธีหาดีเทอร์มินันต์
เมตริกซ์ 1 × 1
ถ้า A = ⎣⎡ a ⎦⎤
จะได้ว่า det (A) = a
เมตริกซ์
ถ้า
⎡a b c⎤
A = ⎢d e f ⎥
⎢
⎥
⎣⎢g h i ⎦⎥
3×3
เมตริกซ
209
เมตริกซ์
ถ้า
⎡a b ⎤
A = ⎢
⎥
⎣c d⎦
จะได้ว่า
2×2
det (A) = ad − bc
ใช้หลักว่า “คูณเฉียงลงรวมกัน” ลบด้วย “คูณเฉียงขึ้นรวมกัน”
จะได้ว่า
det (A) = −gec − ahf − bdi + aei + gbf + hdc
ส่วนเมตริกซ์ n × n ใดๆ จะใช้ วิธีโคแฟกเตอร์ (ใช้ได้กับทุกขนาด ตั้งแต่ 2 × 2 ขึ้นไป)
สมาชิก 1 แนว คูณกับโคแฟกเตอร์ของแนวนั้น (ตําแหน่งเดียวกันคูณกันแล้วรวม)
คําว่า “แนว” ในที่นี้ หมายถึงแถวหรือหลักก็ได้
det (A) =
1. ไมเนอร์ (Minor) ของเมตริกซ์ A ใช้สัญลักษณ์ว่า Mij (A)
คือ ค่า det ของสับเมตริกซ์ (เมตริกซ์ย่อย; Submatrix) ที่ตําแหน่งนั้น..
(ตัดแถว ตัดหลัก แล้วหา det)
2. โคแฟกเตอร์ (ตัวประกอบร่วมเกี่ยว; Cofactor) ของเมตริกซ์ A ใช้สัญลักษณ์ว่า Cij (A)
หรือ Cof (A)
คือค่าไมเนอร์ Mij (A) ที่นํามาใส่เครื่องหมาย บวกหรือลบ สลับกันตามรูปแบบ
Cij = (−1)i + j ⋅ Mij
(ตําแหน่งแรกสุดใส่บวก, แล้วเติมเครื่องหมายบวกลบสลับกันไป)
⎡2 1 − 1⎤
A = ⎢2 0 1 ⎥
⎢
⎥
⎣⎢5 0 8 ⎥⎦
ตัวอย่างเช่น ต้องการหาเมตริกซ์โคแฟกเตอร์ของ
เริ่มจากหาค่าตัวเลขไมเนอร์ให้ครบทุกตําแหน่ง
M11 =
0 1
0 8
= 0, M12 =
⎡0 11 0 ⎤
∴ M (A) = ⎢8 21 −5⎥
⎢
⎥
⎣⎢ 1 4 −2⎥⎦
2 1
5 8
→
2⋅0
= −2
⎡ +0 −11 +0 ⎤
C (A) = ⎢ −8 +21 −(−5)⎥
⎢
⎥
⎣⎢ +1 −4 +(−2)⎦⎥
จากเมตริกซ์โคแฟกเตอร์ที่ได้ ทําให้หาค่า
det (A) =
2 1
2 0
= 11, ..., M33 =
det (A)
1 ⋅ (−11) + (−1) ⋅ 0
ได้ดังนี้
− 11
(คิดจากแถวที่ 1)
det (A) = 5 ⋅ 1 + 0 ⋅ (−4) + 8 ⋅ (−2) = − 11
(คิดจากแถวที่ 3)
det (A) = 1 ⋅ (−11) + 0 ⋅ 21 + 0 ⋅ (−4) = − 11
(คิดจากหลักที่ 2)
จะพบว่า ไม่ว่าจะคิดจากแถว หรือหลักใด ก็จะได้ค่า det (A) เท่าเดิมเสมอ แต่โจทย์ข้อนี้คิดจาก
หลักที่ 2 จะง่ายที่สุด เพราะพจน์ที่สองกับสาม เป็น 0 ไม่จําเป็นต้องหาค่าโคแฟกเตอร์
+
=
det (A) = a12C12 + a22C22 + a32C32
= −a12M12 + a22
= −1 ⋅
2 1
5 8
=0
M22 − a32
=0
M32
= −11
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
210
สมบัติของดีเทอร์มินันต์
•
det (AB) = det (A) ⋅ det (B)
•
det (A t) = det (A)
•
det (An) = (det (A))n
เมือ
่ n∈I
•
det (kA) = kn ⋅ det (A)
เมือ
่ n = ขนาดของ A
•
•
det (I) = 1
det (0) = 0
S ¨u´·Õè¼i´ºoÂ! S
¶Ö§æÁÊ
a Åa¡É³¢o§ det ¨aeËÁ×o¹¤Ò
ÊaÁºÙó æÅaÊÁºaµi¡ÒáÃa¨Ò¼Ťٳ
¼ÅËÒáçeËÁ×o¹¡a¹.. 浨u´·Õµè Ò§¡a¹¤×o
1. ¤Ò det µi´Åºä´ eª¹ | -2 | = -2
2. ¡Òô֧ÊaÁ»ÃaÊi·¸iìoo¡ÁÒµo§Â¡¡íÒÅa§
n
Áiµi´Ç eª¹ | 3A | = 3 | A |
เมตริกซ์ที่ค่า det เป็นศูนย์ เรียกว่า เมตริกซ์เอกฐาน
(Singular Matrix) เช่น เมตริกซ์ที่มีแนวใดแนวหนึ่งเป็น 0 ทุกตัว,
หรือเมตริกซ์ที่มี 2 แนวซ้ํากัน, หรือเป็น k เท่าของกันและกัน, ฯลฯ
เมตริกซ์ที่มีสามเหลี่ยมล่างหรือบน เป็น 0 ทุกตัว
เรียกว่า เมตริกซ์สามเหลี่ยม (Triangular Matrix)
จะมีค่า det เป็น “ผลคูณของสมาชิกในเส้นทแยงมุมหลัก”
แบบฝึกหัด 9.2
(22)
(23)
(24)
(25)
A = ⎡⎣ 2
⎡2
A = ⎢
⎣4
⎤⎦ , B = ⎡⎣ −5 ⎤⎦
−5⎤
⎡ −2
, B = ⎢
−6⎥⎦
⎣3
⎡ 1 −5⎤
⎡x
A = ⎢
⎥ , B = ⎢ −1
⎣
⎣2 2 ⎦
⎡ 3 −4 0 ⎤
A = ⎢ −5 4 − 3⎥
⎢
⎥
⎣⎢ 2 −2 1 ⎦⎥
(26) จงหา
(27)
det (A)
เมื่อ
⎡ 5 3 −5⎤
A = ⎢4 2 1 ⎥
⎢
⎥
⎣⎢ − 1 − 3 1 ⎦⎥
(30)
(31) จงหาค่า
2
0
5
1
det (A), det (B)
จงหา
จงหา
จงหาค่า x ที่ทําให้
det (A) < det (B) < det (C)
det (A), M11(A), M32(A), C11(A), C32(A)
⎡ 6 1 2⎤
A = ⎢ − 3 0 5⎥
⎢
⎥
⎣⎢ 7 2 1 ⎦⎥
det (A)
โดยใช้วิธีโคแฟกเตอร์
n
n
โดยใช้วิธี ∑ aijCij, ∑ aijCij, คูณทแยง
i=1
j=1
โดยโคแฟกเตอร์ของ
a21
คือ –6, โคแฟกเตอร์ของ
a33
⎡a − 1 0 ⎤
A = ⎢b 1 1 ⎥
⎢
⎥
⎢⎣c 1 −1⎥⎦
1
0
0
−1
det (A), det (B), det (01)
x⎤
⎡5 0 ⎤
, C = ⎢
⎥
x ⎥⎦
⎣0 4⎦
จงหา
4 แล้ว จงหาโคแฟกเตอร์ของ
⎡ −4
⎢2
A = ⎢
⎢0
⎣⎢ 1
− 4⎤
6 ⎥⎦
⎡ x y 4⎤
A = ⎢ −3 8 0 ⎥
⎢
⎥
⎣⎢ x − y − 1⎦⎥
(28) [Ent’40] ให้
(29) [Ent’39]
จงหา
ถ้า
C12 (A) = 1
1 0⎤
1 − 3⎥
C11
⎥ จงหา
2 1⎥
C32
3 2 ⎥⎦
0 4 −6
1
−4 0 0
1
และ
−2 0 0
1
3 −1 −3
และ
det (A) = −5
จงหาค่า a
C21
C44
a b+c
b a+c
c a +b
และ
n n+ 1 n+2
n+ 1 n+2 n+ 3
n+2 n+ 3 n+ 4
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
a23
คือ
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(32) [Ent’36] ถ้า
(33)
⎡ 1 1⎤
A = ⎢
⎥
⎣0 1⎦
(34) กําหนด
ถ้า
จงหาค่า
det (−2 A3A t(A + A t))
det (−2 AnA t(A + A t))
n ∈ I+
เมื่อ
⎡2 0⎤
⎡0 5⎤
⎡ 3 4⎤
⎡ −1 4 ⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢ 1 0⎥ , C = ⎢2 1 ⎥ , D = ⎢ 3 −2⎥
⎣
⎦
⎣0 1 ⎦
⎣
⎦
⎣
⎦
AXB = CD
(35) จงหา
⎡ −1 1 ⎤
A = ⎢
⎥
⎣ 3 −1⎦
จงหา
เมตริกซ
211
จงหา
det (X)
X
เมื่อกําหนดให้
⎡ −2 0 0⎤
⎡12 4 10⎤
⎢ 4 3 0⎥ X = ⎢ 0 −5 8 ⎥
⎢
⎥
⎢
⎥
⎢⎣ 2 1 5⎥⎦
⎢⎣ 0 0 1 ⎥⎦
A
(36) [Ent’36] ให้ A, B เป็น non-singular matrix โดย
จะได้ค่า x + y เท่ากับเท่าใด
(37) [Ent’31] กําหนดให้ A, B, C, I เป็นเมตริกซ์มีมิติ
1
⎡ −2 −2⎤
, B = ⎢
⎥
4
⎣x y⎦
=
และ
AB + 4A = 2I
⎡ −6 1 ⎤
ABtC = ⎢
⎥
⎣ 4 −2⎦
⎡ sin x 2 cos x ⎤
A = ⎢
⎥ จงหาค่า
⎣ − cos x 2 sin x ⎦
det (C−1) = 4
(38)
และ
แล้ว
det (B)
(41)
⎡ 1 2 −1⎤
⎢ −2 x −2⎥
⎢
⎥
⎣⎢ 1 −2 1 ⎦⎥
⎡ log 2x −2x ⎤
A = ⎢
⎥
x−1
x ⎥⎦
⎣⎢log 2
det (− A3) = det (2 2 I) ,
ถ้า
มีค่าเท่าใด
x ที่ทําให้ A เป็นเมตริกซ์เอกฐาน
(39) [Ent’39] จงหาจํานวนจริง x ทั้งหมดที่ทําให้
(40) จงหาค่า x ที่ทําให้
2×2
⎡ 1 0 − x2 ⎤
⎢2 1 0 ⎥
⎢
⎥
⎢⎣x 3 5 ⎦⎥
เป็นเมตริกซ์เอกฐาน
เป็นเมตริกซ์เอกฐาน
จงหาค่า x ที่ทําให้ A ไม่เป็นเมตริกซ์เอกฐาน
(42) [Ent’34] ข้อใดถูกหรือผิดบ้าง เมื่อ A เป็นเมตริกซ์จัตุรัส มิติ 2 × 2
ก. ถ้า A = −At แล้ว สมาชิกในแนวทแยงมุมบนซ้ายถึงล่างขวาของ A เป็น 0 หมด
ข. ถ้า A2 = B และ B เป็นนอนซิงกูลาร์เมตริกซ์แล้ว A เป็นนอนซิงกูลาร์ด้วย
9.3 อินเวอร์สการคูณ
เรื่องเมตริกซ์ไม่มีการหาร มีแต่การคูณด้วย อินเวอร์ส (เมตริกซ์ผกผัน; Inverse Matrix)
และ อินเวอร์สการคูณของเมตริกซ์ A ใช้สัญลักษณ์ A−1 (มีอินเวอร์สเฉพาะเมตริกซ์จัตุรัสเท่านั้น)
โดยนิยามให้ A ⋅ A−1 = A−1⋅ A = I
(เปรียบเสมือน A −1 = I )
A
วิธีหาอินเวอร์สการคูณ
เมตริกซ์ 1 × 1
ถ้า A = ⎡⎣ a ⎤⎦
จะได้ว่า A −1 = ⎣⎡ 1/a ⎦⎤
เมตริกซ์
ถ้า
⎡a b ⎤
A = ⎢
⎥
⎣c d⎦
จะได้ว่า
Math E-Book Release 2.2.04
A −1 =
2×2
1
⎡ d −b ⎤
⋅ ⎢
det (A) ⎣ −c a ⎥⎦
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
ส่วนเมตริกซ์
เมตริกซ
212
n×n
ใดๆ ตั้งแต่
A −1
2×2
(C (A))t
=
det (A)
ขึ้นไป จะใช้ วิธีโคแฟกเตอร์ เช่นเดิม
เรียก (C (A))t ว่า เมตริกซ์ผูกพัน (Adjoint Matrix) ของ A
ใช้สัญลักษณ์เป็น adj A หรือ Adj (A) ก็ได้
สมบัติของอินเวอร์สการคูณ
• (AB)−1 = B−1A −1
• (kA)−1 =
A −1 = A
•
คือ
det
1
⋅ A −1
k
−1
=
• (A −1)n = (An)−1 = A −n
• (A −1)−1 = A
1
A
เมตริกซ์ที่จะหาอินเวอร์สการคูณได้ ต้องเป็น เมตริกซ์ไม่เอกฐาน (Non-Singular Matrix)
≠ 0 เท่านั้น
S ¡ÒÃæ¡ÊÁ¡ÒÃeÁµÃi¡«ÁÕ¢o¤ÇÃÃaÇa§´a§¹Õé
1. eÁ×èo·íÒ¡ÒÃÂÒ¢ҧµaǤٳ ä»e»¹oi¹eÇoÃÊoÂÙo¡Õ ½§ µo§¤íÒ¹Ö§¶Ö§ÅíÒ´aº´Ç e¾ÃÒa¡ÒäٳäÁÁÕÊÁºaµ¡i ÒÃÊÅaº·Õ.è . eª¹
AB = C ¡ÅÒÂe»¹ B = A −1C ä´.. æµe»¹ B = CA −1 äÁä´
2. µÃǨÊoºeÊÁoÇÒ ÊÁ¡ÒÃÂa§e»¹eÁµÃi¡«·é§a Êo§¢Ò§ËÃ×oäÁ (ËÒ¡ÂÒ¢ҧeÁµÃi¡« ä»e»¹oi¹eÇoÃʨ¹ËÁ´ oÂÒÅ×ÁeËÅ×o
eÁµÃi¡« I äÇ´ÇÂ..) eª¹ ¨Ò¡ AB = 2C ËÒ¡ÂÒ¢ҧe»¹ ABC−1 = 2 溺¹Õé¼i´ e¾ÃÒa½§¢ÇÒ¡ÅÒÂe»¹µaÇeÅ¢.. ·Õè
¶Ù¡µo§e»¹ ABC−1 = 2 I
3. [Ent27] ÊÁ¡ÒÃeÁµÃi¡«ÊÒÁÒö¤Ù³e¢Ò·aé§Êo§¢Ò§ä´eÊÁo 浡Òõa´oo¡·aé§Êo§¢Ò§ºÒ§¤Ãaé§ãªäÁä´ .. eª¹
⎡6 2 ⎤
⎡ 1 8⎤
⎡ 1 1⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢0 9⎥ , C = ⎢5 3⎥
2
2
⎣
⎦
⎣
⎦
⎣
⎦
4. ãÊe¤Ã×èo§ËÁÒÂ
eª¹
AB = AC
æµ
B ≠ C
·aé§Êo§¢Ò§ä´eÊÁo 浡Òõa´oo¡·aé§Êo§¢Ò§¡çÁa¡¨aãªäÁä´
⎡ 1 2⎤
⎡2 3⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢ 4 5⎥
⎣3 4 ⎦
⎣
⎦
5. [Ent21] ¶Ò
eª¹
det
¾ºÇÒ
AB = 0
¾ºÇÒ
æÅÇ äÁ¨íÒe»¹·Õè
⎡ 2 − 3⎤
⎡3 6 ⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢2 4⎥
2
3
−
⎣
⎦
⎣
⎦
det (A) = det (B)
A
ËÃ×o
¡ç¾ºÇÒ
B
µo§e»¹
AB = 0
æµ
A ≠ B
0
ä´eª¹¡a¹
แบบฝึกหัด 9.3
(43)
(44)
⎡ − 3 −2⎤
⎡2 − 3⎤
−1
−1
−1
−1
A = ⎢
⎥ , B = ⎢4 −6⎥ จงหา A , B , 02 , I2
4
2
⎣
⎦
⎣
⎦
⎡4 3⎤
⎡2 3 ⎤
−1
−1 −1
A = ⎢
⎥ , B = ⎢4 5⎥ จงหา (AB) , B A
2
2
⎣
⎦
⎣
⎦
(45) จงหาอินเวอร์สการคูณของ
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
213
⎡ 1 2⎤
⎢2 3⎥
⎣
⎦
⎡ cos θ sin θ ⎤
(45.2) ⎢−sin θ cos θ⎥
⎣
⎦
⎡ 1 −2⎤
[Ent’41] A = ⎢−3 4 ⎥ , B = ⎡⎢−21
⎣
⎣
⎦
(45.1)
(46)
(47)
(48)
(49)
(50)
(51)
(52)
1⎤
1⎥⎦
จงหา
2A −1Bt
⎡ −1
3⎤
−1
t
⎢
⎥ และ B เป็นเมตริกซ์ที่สอดคล้องกับสมการ BA = A
−
3
−
1
⎥⎦
⎣⎢
⎡2 −5⎤
⎡ 1 2⎤
⎡ 3 0⎤
⎢ 1 −2⎥ X + ⎢2 4⎥ = ⎢ 1 2 ⎥ จงหาเมตริกซ์ X
⎣
⎦
⎣
⎦
⎣
⎦
⎡4 6 ⎤
⎡ 1 2⎤
ถ้า ⎢8 12⎥ A = ⎢3 4⎥ จงหา A
⎣
⎦
⎣
⎦
⎡ 4 16 ⎤
[Ent’20] ถ้า A ⎢36 64⎥ = ⎡⎢04 04⎤⎥ จงหา A−1
⎣
⎦
⎣
⎦
A =
1
2
⎡3 0 − 1⎤
⎡1⎤
AB = I, B = ⎢4 2 0 ⎥ จงหา A −1 ⋅ ⎢1⎥
⎢
⎥
⎢⎥
⎣⎢3 − 1 1 ⎥⎦
⎣⎢1⎦⎥
[Ent’40] กําหนด A = ⎡⎢23 43⎤⎥ , B = ⎡⎢−11 23⎤⎥ , X = ⎡⎢ac bd⎤⎥
⎣
⎦
⎣
⎦
⎣
⎦
จงหา b + c
(53) [Ent’38]
⎡0 1 ⎤
⎡ 2 − 1⎤
⎡ −1 0 ⎤
A = ⎢
⎥ , B = ⎢ −1 3 ⎥ , C = ⎢ 1 −2⎥
⎣ 1 2⎦
⎣
⎦
⎣
⎦
(54) [Ent’37] ถ้า
* (55)
⎡ 1 2 − 1⎤
⎡0 2 − 3⎤
B = ⎢ 3 0 1 ⎥ , C = ⎢3 − 1 2 ⎥
⎢
⎥
⎢
⎥
⎢⎣ −2 1 0 ⎥⎦
⎢⎣0 2 1 ⎥⎦
⎡2 1 − 2⎤
A = ⎢3 0 0 ⎥
⎢
⎥
⎢⎣4 6 − 1 ⎥⎦
จงหา
(57) [Ent’41]
ก.
ข.
⎡3 4 ⎤
⎡30 18⎤
A = ⎢
⎥ , C = ⎢ 12 8 ⎥ ,
⎣ 1 2⎦
⎣
⎦
(59)
(60)
2A −1 = B
จงหา
det (B)
A
มีมิติ
(61) [Ent’27]
และ
3×3
X = (B + C) A
AB − AC −
B เป็นเมตริกซ์ที่ทําให้
ค.
ง.
det (B−1A −1) = 24
จงหา
และ
AX + B = A
จงหา
1
I = 0
2
X −1
จงหา
⎡2 − 3 2 ⎤
A = ⎢6 3 0⎥
⎢
⎥
⎢⎣0 − 3 1 ⎥⎦
det (B−1) = 12
⎡2 5 1 ⎤
A −1 = ⎢ 3 0 0⎥
⎢
⎥
⎢⎣4 −2 7 ⎥⎦
ถ้า
และ
จงหา B
adj A, A (adj A), (adj A) A, det (A), A −1
(56) จงหาอินเวอร์สการคูณของเมตริกซ์ A เมื่อ
(58)
⎡2 4⎤
⎢ 1 2⎥
⎣
⎦
(45.3)
AB = C
ข้อใดถูก
det (2 Bt) = 24
det (A2B) = 48
det (A t)−1
det (A) ⋅ det (B) = 16
และ
det (A) =
⎡ 1 2⎤
⎡ −1
A = ⎢
⎥ , B = ⎢2
x
3
⎣
⎣
⎦
จงหามิติของเมตริกซ์ B
4 , ถ้า A2 − 3A + I = 0 และ
1⎤
, C = 2AB−1 + B−1
1⎥⎦
Math E-Book Release 2.2.04
B =
จงหาค่า x เมื่อ
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
1 −1
3
A − I
2
2
det (C) = 1
A −1
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
214
⎡c − 1 ⎤
2
2 3
−1 t
A = ⎢
⎥ และ det (2A ) + (1− c ) det (A ) = 45 จงหา c
⎣ 1 −c⎦
⎡ 1 a 0⎤
1
A = ⎢1− a − a 1 ⎥ จงหาค่า a ที่ทําให้ a det (A −1)t +
det (2A) + 4 = 0
⎢
⎥
4a
⎢⎣ 1 0 1 ⎥⎦
(62) [Ent’32]
(63)
(64) [Ent’35] ข้อใดถูก
ก. ถ้าเมตริกซ์
3UV − 2XY = ⎡⎣ 3 ⎤⎦
2 1
ข. ถ้า ⎡⎢a2 a⎤⎥
⎣
⎦
⎡5⎤
⎡ 1⎤
U = ⎣⎡ 1 − 1 − 4 ⎦⎤ , X = ⎣⎡ 0 1 2 ⎦⎤ , V = ⎢0⎥ , Y = ⎢ − 1⎥
⎢ ⎥
⎢ ⎥
⎣⎢ 1 ⎦⎥
⎣⎢ 2 ⎦⎥
แล้ว เมตริกซ์
a = 2
เป็นซิงกูลาร์เมตริกซ์แล้ว
ค. ถ้า A, B เป็นเมตริกซ์จัตุรัสที่มีมิติเดียวกัน และ det (AB) = 0
แล้ว det (A) = 0 หรือ det (B) = 0
ง. ถ้า A เป็นนอนซิงกูลาร์เมตริกซ์มิติ 2 × 2 แล้ว det ((2A)−1) = det (2A −1)
(65) [Ent’41]
⎡2 − 1⎤
⎡ x −x ⎤
A = ⎢
⎥ , M = ⎢3/7 x + 3⎥
⎣
⎦
⎣1 3 ⎦
จงหาเซตจํานวนจริง x ที่ทําให้
det (M) = det ((2A + A t) A −1)
(66) [Ent’36] กําหนด A, B เป็น non-singular matrix โดย
⎡ − 1 −2⎤
B = ⎢
⎥
⎣x y ⎦
จงหา
x + y
⎡ 1 2 − 1⎤
A = ⎢2 1 1 ⎥
⎢
⎥
⎢⎣ − 1 1 0 ⎥⎦
ถ้า
* (68) [Ent’37] ถ้า
⎡ 1 1 − 1⎤
A = ⎢2 1 3 ⎥
⎢
⎥
⎢⎣ 1 0 1 ⎥⎦
และ
1
A
3
AB = BA = I
AB = BA = I
−3A
ข.
1
2
และ
AB + 3A = 2I
ถ้า
* (67) [Ent’39] ให้
ก.
det (A −1) = −
ค.
* (69) [Ent’38] ให้ A, B เป็นเมตริกซ์จัตุรัสมีมิติ
ถ้า det (B) = 0 แล้ว det (A) มีค่าเท่าใด
จงหาค่า
จงหาเมตริกซ์ผูกพันของ B
1 t
A
3
4×4
det (adj B−1)
ง.
โดย
−3A t
A (adj A) − BA = I
หมายเหตุ
จากข้อ 55, 67, 68, 69 ซึ่งเป็นการคํานวณเกี่ยวกับ adj A นั้น เราสามารถพิสูจน์ความสัมพันธ์
จากสมการ A−1 = adj A ก่อน เพื่อความสะดวกในการคํานวณ
det (A)
เช่น
A ⋅ A −1
A (adj A)
=
det (A)
→
I =
ส่วนความสัมพันธ์อื่น ก็หาได้จาก
det (adj A) = (det (A))n − 1
A (adj A)
det (A)
A −1 =
adj A
det (A)
→
det (A) ⋅ I = A (adj A)
เหมือนกัน เช่น
adj A −1 =
ฯลฯ
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
A
,
det (A)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
215
9.4 การดําเนินการตามแถว
การดําเนินการตามแถว (Row Operation) ใช้หาอินเวอร์สการคูณ
ซึ่งการดําเนินการตามแถวนั้น สามารถกระทําได้ 3 ลักษณะ คือ
a) นําค่าคงที่ k (ที่ไม่ใช่ 0) ไปคูณไว้แถวใดแถวหนึ่ง
b) นําค่าคงที่ k ไปคูณแถวใดแถวหนึ่ง แล้วเอาไปบวกไว้ที่แถวอื่น
c) สลับแถวกัน 1 ครั้ง
(A −1)
ได้
การหาอินเวอร์สการคูณ (A-1) โดยดําเนินการตามแถว
มีหลักอยู่ว่า พยายามหาขั้นตอนทํา A ให้กลายเป็น I
แล้ววิธีเดียวกันนั้นจะทํา I ให้กลายเป็น A−1 ได้
เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ว่า ⎡⎣ A I ⎤⎦ ~ ⎡⎣ I A −1 ⎤⎦
ตัวอย่างเช่น ต้องการหา
A −1
เมื่อ
⎡ 4 2⎤
A = ⎢
⎥
⎣ −8 3⎦
เราจะเริ่มจาก เขียน A กับ I ไว้ในแถวเดียวกัน เรียกว่า เมตริกซ์แต่งเติม (Augmented Matrix)
แล้วพยายามแปลง A ทางซ้ายมือ ให้เป็น I
⎡ 4 2 1 0⎤
⎡⎣ A I ⎤⎦ = ⎢
⎥
⎣ −8 3 0 1 ⎦
~
R2 + 2R1
~
1
R2
7
⎡4 2 1 0⎤
⎢0 7 2 1 ⎥
⎣
⎦
⎡4 2 1 0 ⎤
⎢0 1 2/7 1/7 ⎥
⎣
⎦
~
R1 − 2R2
~
1
R1
4
=
⎡4 0 3/7 −2/7 ⎤
⎢0 1 2/7 1/7 ⎥
⎣
⎦
⎡ 1 0 3/28 − 1/14⎤
⎢0 1 2/7
1/7 ⎥⎦
⎣
⎡ I
⎣
A -1 ⎤⎦
เมื่อแปลง A ทางซ้ายมือ ให้เป็น I เรียบร้อยแล้ว, I ทางขวามือจะกลายเป็น
− 1/14⎤
ดังนั้น A−1 = ⎡⎢3/28
2/7
1/7 ⎥
⎣
A −1
⎦
ข้อสังเกต
1. เราใช้เครื่องหมาย ~ แทนการดําเนินการแต่ละขั้นตอน และเขียนวิธีกํากับไว้
2. นิยมเขียนแถวที่ถูกดําเนินการไว้ด้านหน้า เช่น R2 +2R1 แสดงว่า R2 จะเปลี่ยนไป
3. เทคนิคการทําให้เป็น I โดยเร็วที่สุดคือ ทําสมาชิกเป็น 0 ให้ครบทีละสามเหลี่ยม (ล่างหรือบน)
4. หากต้องการสลับที่ระหว่างแถว R1, R2 ก็จะใช้สัญลักษณ์กํากับว่า R12
การดําเนินการตามแถวทั้งสามแบบ ส่งผลต่อค่า det ดังนี้
a) นําค่าคงที่ k (ที่ไม่ใช่ 0) ไปคูณไว้แถวใดแถวหนึ่ง detใหม่ = k ⋅ detเก่า
b) นําค่าคงที่ k ไปคูณแถวใดแถวหนึ่ง แล้วเอาไปบวกไว้ที่แถวอื่น detใหม่ = detเก่า
(det ไม่เปลี่ยน จึงใช้วิธีนี้ช่วยในการคํานวณ det ได้ โดยปรับสมาชิกในเมตริกซ์ให้มี 0 มากๆ)
c) สลับแถวกัน 1 ครั้ง detใหม่ = − detเก่า
ทั้งนี้ การดําเนินการตามหลัก ก็ให้ผลเช่นเดียวกัน เนื่องจากสมบัติ det (At) = det (A)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
216
แบบฝึกหัด 9.4
(70) ถ้า
⎡a b c⎤
⎡d f e⎤
A = ⎢d e f ⎥ , B = ⎢2a 2c 2b ⎥
⎢
⎥
⎢
⎥
⎣⎢ g i h ⎥⎦
⎣⎢g h i ⎥⎦
(71) ถ้า
⎡ a b c⎤
⎡4x 4y 4z⎤
⎡p − a + x x ⎤
A = ⎢p q r ⎥ , det (A) = 3, B = ⎢ 2a 2b 2c ⎥ , C = ⎢ q −b + y y ⎥
⎢
⎥
⎢
⎥
⎢
⎥
⎣⎢x y z ⎥⎦
⎣⎢ −p − q −r ⎦⎥
⎣⎢ r − c + z z ⎦⎥
ถามว่า
B
เป็นกี่เท่าของ
A
จงหา
det (3B−1)
และ det (2C−1)
(72) [Ent’38] ให้ A เป็นเมตริกซ์จัตุรัส 4 × 4 และ M23(A) = 5 จงหา M32(2A)t
(73) [จากข้อ 43,55,56] จงหาอินเวอร์สการคูณของเมตริกซ์ A, B, C, D โดยใช้วิธีดําเนินการ ตาม
แถว เมื่อ
⎡2 1 −2⎤
⎡2 − 3 2⎤
⎡ − 3 −2⎤
⎡2 − 3 ⎤
⎢3 0 0 ⎥ , D = ⎢6 3 0⎥
A = ⎢
,
B
,
C
=
=
⎥
⎢4 −6⎥
⎢
⎥
⎢
⎥
⎣4 2⎦
⎣
⎦
⎢⎣4 6 −1 ⎥⎦
⎢⎣0 − 3 1 ⎥⎦
9.5 การใช้เมตริกซ์แก้ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น ที่มีจํานวนตัวแปรเท่ากับจํานวนสมการ เราจะเขียนให้อยู่ในรูปสมการ
เมตริกซ์ได้ เป็น AX = B (เรียก A ว่า เมตริกซ์สัมประสิทธิ์, X เป็นเมตริกซ์ตัวแปร, และ B เป็น
เมตริกซ์ค่าคงที่) สิ่งที่เราต้องการหาก็คือเมตริกซ์ X
เช่น ระบบสมการ
⎧ 4x + 2y − z = 0
⎪
⎨x − y = 3
⎪ 5x − 3y + 2z + 1 = 0
⎩
AX = B
แปลงเป็นสมการเมตริกซ์
ได้ว่า
วิธีแก้สมการเมตริกซ์นี้ มี 3 แบบ
1. วิธีอินเวอร์ส
AX = B
นั่นคือ
⎡x ⎤
⎡4 2 − 1⎤
⎢y ⎥ = ⎢ 1 −1 0 ⎥
⎢ ⎥
⎢
⎥
⎢⎣ z ⎥⎦
⎢⎣5 − 3 2 ⎥⎦
−1
⎡0⎤
⎢3⎥
⎢ ⎥
⎢⎣ − 1⎥⎦
→
Ai
⎡4 2 − 1⎤ ⎡ x ⎤
⎡0⎤
⎢ 1 −1 0 ⎥ ⎢y ⎥ = ⎢ 3 ⎥
⎢
⎥⎢ ⎥
⎢ ⎥
⎢⎣ − 1⎦⎥
⎣⎢5 − 3 2 ⎦⎥ ⎣⎢ z ⎦⎥
X = A −1B
เป็นวิธีทําแบบตรงๆ
ก็ต้องหาอินเวอร์สก่อน แล้วคูณกันได้เป็นคําตอบ
xi =
2. กฎของคราเมอร์ (Cramer’s Rule)
เมื่อ
มี 3 สมการ และมี 3 ตัวแปร
det (Ai)
det (A)
คือนําเมตริกซ์ B มาแทนลงในหลักที่ i ของเมตริกซ์ A
เช่น จากตัวอย่าง จะได้
x =
0 2 −1
3 −1 0
−1 −3 2
4 2 −1
1 −1 0
5 −3 2
,
y =
4 0 −1
1 3 0
5 −1 2
4 2 −1
1 −1 0
5 −3 2
3. การดําเนินการตามแถว (Row Operation)
มีหลักอยู่ว่า พยายามหาขั้นตอนทํา A ให้กลายเป็น I
แล้ววิธีเดียวกันนั้นจะทํา B ให้กลายเป็น X ได้
,
z =
4 2 0
1 −1 3
5 −3 −1
4 2 −1
1 −1 0
5 −3 2
⎡⎣ A B ⎤⎦ ~ ⎡⎣ I
Math E-Book Release 2.2.04
X ⎤⎦
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
จากตัวอย่างก็ตอ้ งเริ่มจาก
เมตริกซ
217
⎡4 2 − 1 0 ⎤
⎢ 1 −1 0 3 ⎥
⎢
⎥
⎣⎢5 −3 2 −1⎥⎦
⎡ 1 0 0 x⎤
⎢0 1 0 y ⎥
⎢
⎥
⎢⎣0 0 1 z ⎥⎦
แล้วทําให้เป็น
แบบฝึกหัด 9.5
(74) จงหาคําตอบของระบบสมการต่อไปนี้ โดยใช้วิธีอินเวอร์ส
(74.1) x − 2y = 5
(74.2)
3x + 2y = −1
(75) จงหาคําตอบของระบบสมการ
(76) จงหาคําตอบของระบบสมการ
4x + 3y + 2z = 5
3x − y − z = 6
−x + 2y + z = 1
3x + 2y = 6
− 4x + y = 14
(77.2)
3x − 7y = 2
โดยใช้วิธีอินเวอร์ส
โดยใช้กฎของคราเมอร์
(77) จงหาคําตอบระบบสมการนี้โดยใช้กฎของคราเมอร์
(77.1)
2x − 5y = 1
2x + 3y + z = 3
x + 2y + z = 1
(77.3)
−x + 4y = −2
x + 2y + 3z = −1
2x + y − 4z = 9
x − y + 2z = −2
2x + y + z = 1
x − 2y − 3z = 1
3x + 2y + 4z = 5
(78) [Ent’38] กําหนดระบบสมการเชิงเส้น
2x + 4y + z = 1
x + 2y = −2
จงหาค่า x
−x − 3y + 2z = 3
(79) จงหาคําตอบระบบสมการต่อไปนี้ โดยการดําเนินการตามแถว
(79.1)
x + y + z = 10
3x + z = 13
(79.2)
y + 2x − z − 9 = 0
(80) จงหาคําตอบของระบบสมการ
(80.1)
x − 2y − z = 1
4x + 3y + 2z = −5
(80.2)
−2x + 4y + 2z = −4
(81) จงหาคําตอบของระบบสมการ
(81.1) [Ent’25]
2
x
4
x
3
y
(82) [Ent’25] ให้
+
1
z
+
2
y
+
1
z
= 0
= 4
(81.2)
= 2
⎡ 1 0 2⎤
A = ⎢2 − 1 1 ⎥
⎢
⎥
⎣⎢5 1 2⎦⎥
−1
และ
⎡ 1⎤
B = ⎢2 ⎥
⎢ ⎥
⎣⎢0⎦⎥
2x + y − z = 5
3x − 2y + 2z = −3
x − 3y − 3z = −2
x − 2y − z = 1
4x + 3y + 2z = −5
−2x + 4y + 2z = −2
2
x
+ 3 y + z = 3
1
x
+2 y + z = 1
−
1
x
+ 4 y = −2
จงหาค่า y ที่ได้จากสมการ
(83) ให้หาค่า x และ y จากระบบสมการต่อไปนี้ ถ้า s เป็นค่าคงที่
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
⎡x ⎤
A −1 ⎢ y ⎥ = B
⎢ ⎥
⎣⎢ z ⎦⎥
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
s (x + y) − s = −x − 2y
___(1)
s (x + y) − y = 0
_______(2)
(84) [Ent’40] ให้
⎡ 1 2 3⎤
A = ⎢0 − 1 0⎥
⎢
⎥
⎢⎣2 1 0⎥⎦
และ
⎡p ⎤
X = ⎢ q⎥
⎢ ⎥
⎢⎣ r ⎥⎦
(85) [Ent’41] ให้
⎡ 1 − 1 2⎤
A = ⎢ −1 a 1 ⎥
⎢
⎥
⎣⎢ 1 − 1 a ⎦⎥
และ
⎡ 1⎤
B = ⎢0⎥
⎢ ⎥
⎣⎢ − 1⎦⎥
(86) [Ent’40] ให้
⎡ 1 2 a⎤
⎡x ⎤
A = ⎢ 2 3 b⎥ , X = ⎢y ⎥
⎢
⎥
⎢ ⎥
⎢⎣ z ⎦⎥
⎣⎢ − 1 0 c ⎦⎥
A
⎡1
~ ⎢⎢−01
⎣⎢
เมตริกซ
218
2 3⎤
− 1 − 1⎥ R2−2 R1
⎥
0 2 ⎦⎥
และ
ถ้า
⎡ 1⎤
A2(adj A) X = ⎢6⎥
⎢ ⎥
⎢⎣0⎥⎦
จงหาค่า p
จงหาค่าของ a ที่ทําให้
AX = B
⎡ 1⎤
B = ⎢ 1⎥
⎢ ⎥
⎣⎢0⎦⎥
และ
ถ้า
AX = B
หาคําตอบได้
แล้ว x มีค่าเท่าใด
(87) (โจทย์ทบทวน) ประโยคต่อไปนี้ถูกหรือผิด
_____ (25) (A−1)n = (An)−1
x (1) A + B ≠ B + A
_____ (2) At + Bt ≠ (A + B)t
_____ (26) (A−1)−1 = A
t t
t
_____ (3) A B ≠ (AB)
_____ (27) (3A)−1 = 3 A−1
−1 −1
−1
t
_____ (4) [Ent’27] A B ≠ (AB)
_____ (28) adj A = (C (A))
det (A)
_____ (5) A + 0 = A
−
1
_____ (6) A × 1 = A
_____ (29) A ⋅ A = adj A
_____ (7) A × I = A
_____ (30) [Ent’37] A = (adj A) ⋅ A
_____ (8) [Ent’21] AB = BA
_____ (31) adj A = A n เมื่อ A มีมิติ n×n
_____ (9) k(A + B) ≠ kA + kB
_____ (32) 2A tA−1 = 8 เมื่อ A มีมิติ 3×3
_____ (10) (A + B) C = AC + BC
_____ (33) A−1A tBAt = 3 เมื่อ AB = I3
_____ (11) A (B + C) = AC + AB
1
tan θ ⎤
_____ (12) (AB) C = C (BA)
_____ (34) cos θ ⋅ ⎡⎢− tan
= 1
θ
1 ⎥⎦
⎣
2
_____ (13) I = I
a b c
_____ (14) AI = IA
_____ (35) b c a = 0
_____ (15) AB = A ⋅ B
c a b
_____ (16) An = A n
_____ (36) ถ้า AB = 0 แล้ว
−1
−1
_____ (17) A = A
A = 0 หรือ B = 0
t
t
_____ (18) A = A
_____ (37) [Ent’30] ถ้า AB = 0 แล้ว
A = 0 หรือ B = 0
_____ (19) [Ent’27] kA = k A
_____ (20) I = 0
_____ (21) 0 = 0
_____ (22) 2 I = 2
_____ (23) A2 + 5A + 6I = (A + 2I)(A + 3I)
_____ (24) A2 + 5AB + 6B2 = (A + 2B)(A + 3B)
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
219
เฉลยแบบฝึกหัด (คําตอบ)
(1) 6 และ –9
(2)
⎡ 1 − 1 −2⎤
⎢3 1 −1⎥
⎢
⎥
⎣⎢4 5 1 ⎦⎥
(3) เท่ากัน
(4) เท่ากัน (5.1)
(5.2)
⎡5 − 3⎤
⎢9 1 ⎥
⎣
⎦
⎡ 3 9 3⎤
⎢4 2 7 ⎥
⎣
⎦
(5.3)
⎡ 10 5 ⎤
⎢ 20 15 ⎥
⎢
⎥
⎣⎢ − 10 40⎦⎥
⎡2 4⎤ ⎡2 2⎤ ⎡2 2⎤
⎢2 6⎥ , ⎢4 6⎥ , ⎢4 6⎥ ,
⎣
⎦ ⎣
⎦ ⎣
⎦
⎡ 2 3⎤
⎢ − 1 4⎥
⎣
⎦
(26) –34 (27) 60
(28) 14 (29) 2
(30) −517 −04 = 28
(56)
⎪⎧ 5 ± 3 5 ⎪⎫
⎨1,
⎬
2
⎪⎩
⎪⎭
(39)
(7)
(41) x ≠ 0, 2/3
(42) ก.ถูก, ข.ถูก
1 ⎤
(43) ⎡⎢−12 −3/2
⎥ , ไม่มี, ไม่มี,
⎡ 2 3⎤
⎢ − 1 0⎥ , ⎡4 −2 8⎤ ,
⎢
⎥ ⎢⎣6 0 2 ⎥⎦
⎣⎢ 4 1 ⎦⎥
⎡ −2 1 − 4⎤
⎢ −3 0 −1 ⎥
⎣
⎦
(8) ... (9.1) 2 และ 3
(9.2) 5 และ 4
(9.3) 7 และ 5
(9.4) x = y และเป็นจํานวนนับ
(10) (AB)3 × 4 , BA ไม่มี
⎡3 6⎤
⎢0 2⎥
⎣
⎦
− 4⎤ ⎡ − 13 −8⎤
(12)
,
,
−6⎥⎦ ⎢⎣ 19 10 ⎥⎦
⎡ 4 − 44⎤ ⎡20 − 40⎤
⎢33 37 ⎥ , ⎢24 21 ⎥
⎣
⎦ ⎣
⎦
⎡12 18 ⎤
(13) ⎢12 30⎥ (14) 2
⎣
⎦
(11)
(15)
⎡5
⎢ −3
⎣
⎡3
⎢10
⎣
2⎤
,
0⎥⎦
⎡2n n ⋅ 2n ⎤
⎢
⎥
(16) 3
2
⎢
4
n ⎥
2 ⎦
⎣0
3 +2 −2 = 3
(57) ง. (58) -111
(59) 4 × 4 (60)
(31) –360, 0, 0
(32) (−2)2(−2)4(−12) = −768
(33) (−2)2(1)n(1)(3) = 12
(34) –5 (35) 2 (36) 4
(37) 16 (38) ไม่มี
(6)
⎣
1
0
⎡
⎤
⎢0 1 ⎥
⎣
⎦
(44)
⎦
⎡ − 4 27/4⎤
⎢3
−5 ⎥⎦
⎣
⎡ −3 2 ⎤
⎢ 2 − 1⎥
⎣
⎦
cos
θ
sin θ ⎤
(45.2) ⎡⎢ sin θ −cos
θ ⎥⎦
⎣
⎤
(45.3) ไม่มี (46) ⎡⎢22 −−10
7 ⎥⎦
⎣
(47) ⎡⎢01 01 ⎤⎥ (48) ⎡⎢−−94 −−62⎤⎥
⎣
⎦
⎣
⎦
1
4
(49) ไม่มี (50) ⎡⎢9 16⎤⎥
⎣
⎦
⎡2⎤
(51) ⎢⎢6⎥⎥ (52) 6 + 5 = 11
⎢⎣3⎥⎦
(53)
⎡ −2 − 1⎤
⎢ 1 1⎥
⎣
⎦
(54)
⎡2 0 4⎤
⎢ 0 2 −2⎥
⎢
⎥
⎢⎣ − 4 −2 −2⎥⎦
(17)
(18) –1 และ 1
⎡ 0 − 11 0 ⎤
(19) –1, –3 หรือ –3, –1
(55) ⎢⎢ 3 6 −6⎥⎥ , −33 I ,
(20) –1 และ 1
⎢⎣18 −8 − 3⎥⎦
(21) กราฟไฮเพอร์โบลา 3x2 −4y2 =12
⎡ 0 − 11
1 ⎢
3 6
− 33 I , − 33 ,
(22) 2, –5, 0 (23) 8, 0
− 33 ⎢
18
−8
⎢
(24) x ∈ (−5, −4)∪(3, 4)
⎣
(25) –2, –2, –9, –2, 9
Math E-Book Release 2.2.04
−
1
2
(61) 3 (62) 2 หรือ –2
(63) ± 1 (64) ค.
(40) 4
(45.1)
⎡ − 1/4 1/4 1/2⎤
⎢ 1/2 − 1/6 − 1 ⎥
⎢
⎥
⎢⎣ 3/2 − 1/2 −2 ⎥⎦
(65)
{
2
11
, −5
7
}
(66) –4
(67) 36 (68) ก.
(69) 1 (70) 2
(71) –9/8, 8/3 (72) 40
(73) ดูทขี่ ้อ 43, 55, 56
(74.1) 1, –2 (74.2) 3, 1
(75) 5/4, 9/2, –27/4
(76) –2, 6
(77.1) 2, 0, –1
(77.2) 1, –3, 2
(77.3) 13/9, 7/9, –4/3
(78) –20
(79.1) 25/7, 29/7, 16/7
(79.2) 1, 2, –1
(80.1) ไม่มีคาํ ตอบ
(80.2) มีคําตอบหลายชุด
(81.1) 2, 1, –1
(81.2) 1/2, 0, –1 (82) 0
(83)
s (s − 1)
s2
,
2s + 1 2s + 1
1/2 (85) a ≠ 1, 2
−
(84)
(86) –2/3
(87) ข้อที่ถูก คือ (3), (4),
(6), (7), (10), (11), (13),
(14), (15), (16), (17), (21),
(23), (25), (26), (29), (32),
(34), (36)
0⎤
−6⎥
⎥
− 3⎥⎦
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
เมตริกซ
220
เฉลยแบบฝึกหัด (วิธีคดิ )
(1)
a11 + b22 = 2 + 4 = 6 ,
สังเกต โดยปกติ AB มักจะไม่เท่ากับ BA
จึงทําให้ (A + B)2 ไม่เท่ากับ A2 + 2AB + B2 ด้วย
เพราะ (A + B)2 = (A + B)(A + B)
= A2 + AB + BA + B2 ... ซึง่ AB + BA ≠ 2AB
2a12 − 3b21 = 2(3) − 3(5) = −9
⎡ ○ ○⎤
○⎥
Δ
⎢Δ
⎢⎣ Δ Δ ⎥⎦
○
⎡ 1 1− 2 1− 3⎤
จะได้ ⎢2 + 1 1 2 − 3⎥
⎢⎣3 + 1 3 + 2 1 ⎥⎦
(2)
i=j
i>j
j>i
⎡ 1 −1 −2⎤
= ⎢3 1 −1 ⎥
⎢⎣4 5 1 ⎥⎦
(3) เท่ากัน เพราะ 2 = cosec 30° ,
−4 = log 10−4 , 20 + 1 = 4 และ 5 = 25
(4) เท่ากัน
(จากการย้ายข้างสมการ x2 − x + 1 = 0 จะได้ว่า
x2 = x − 1 , x − x2 = 1 , x = x2 + 1)
(5.1)
⎡3 9
⎢⎣4 2
⎡ 10
⎢ 20
⎢⎣ −10
3⎤
7 ⎥⎦
(5.2)
⎡5 −3⎤
⎢⎣9 1 ⎥⎦
5⎤
(5.3)
15 ⎥
(6) A + B = ⎡⎢22 64⎤⎥
⎣
⎦
⎥
40⎦
2 2
A t + Bt = ⎡⎢4 6⎤⎥ = (A + B)t
⎣
⎦
และ
(7)
2 3
A + 0 = ⎢⎡ −1 4⎤⎥ = A
⎣
⎦
2
3
⎡
⎤
4 −2 8
A t = ⎢ −1 0⎥ , 2A = ⎡⎢6 0 2 ⎤⎥ ,
⎣
⎦
⎣⎢ 4 1 ⎦⎥
และ
−2 1 −4
−A = ⎡⎢ −3 0 −1 ⎤⎥
⎣
⎦
(8)
a b +a b a b +a b a b +a b
AB = ⎡a 11b11 + a12 b21 a 11b12 + a12 b22 a 11b13 + a12 b23 ⎤
⎣⎢ 21 11 22 21 21 12 22 22 21 13 22 23 ⎦⎥
(9.1) x = 2, y = 3
(9.2) x = 5, y = 4
(9.3) x = 7, y = 5
(9.4) x = y และเป็นจํานวนนับเท่านัน้
(10) AB3 × 4 , ส่วน BA ไม่มี
(11) AB = ⎡⎢−11⋅⋅ 33 ++ 02 ⋅⋅ 11 −11⋅⋅00++20⋅ ⋅11⎤⎥
⎣
20 ⎛ 32 2 1 ⎞
A t(BA) = ⎡⎢ 1 3⎤⎥ ⎜ ⎡⎢ 1 2⎤⎥ ⎡⎢0 3⎤⎥ ⎟
⎣
⎦ ⎝⎣
⎦⎣
⎦⎠
(13)
⎦
5 2
= ⎡⎢ −3 0⎤⎥
⎣
⎦
3
⋅ 1 + 0 ⋅ (−1) 3 ⋅ 2 + 0 ⋅ 0
36
BA = ⎢⎡ 1 ⋅ 1 + 1 ⋅ (−1) 1 ⋅ 2 + 1 ⋅ 0 ⎥⎤ = ⎢⎡0 2⎥⎤
⎣
⎦
⎣
⎦
3
−
4
−
13
−
8
(12) AB = ⎡⎢10 −6⎤⎥ , BA = ⎡⎢ 19 10 ⎤⎥
⎣
⎦
⎣
⎦
4 −4 4 −4
4 −44
(A + B)2 = ⎡⎢ 3 7 ⎤⎥ ⎡⎢ 3 7 ⎤⎥ = ⎡⎢33 37 ⎤⎥
⎣
⎦⎣
⎦
⎣
⎦
1
0
1
0
6
−8
A2 + 2AB + B2 = ⎡⎢4 2 ⎤⎥ ⎡⎢4 2⎤⎥ + ⎡⎢20 −12⎤⎥
⎣
⎦⎣
⎦ ⎣
⎦
20 −40
3 −4 3 −4
+ ⎢⎡ −1 5 ⎥⎤ ⎢⎡ −1 5 ⎥⎤ = ⎡⎢24 21 ⎤⎥
⎣
⎦⎣
⎦
⎣
⎦
20 69
12 18
= ⎡⎢ 1 3⎤⎥ ⎡⎢2 7 ⎤⎥ = ⎡⎢12 30⎤⎥
⎣
⎦⎣
⎦
⎣
⎦
⎡3 0 1 ⎤ ⎡ 1 0 ⎤ ⎡ −1 0⎤
(14) ⎢2 −1 0⎥ ⎢ 1 −1⎥ ⎢ 4 2⎥
⎦
⎢⎣ 1 1 2 ⎥⎦ ⎣⎢2 3 ⎦⎥ ⎣
⎡
⎤ −1 0
1 ⎥ ⎢⎡ 4 2 ⎥⎤ = ⎢
⎣
⎦
⎢
⎦⎥
⎣
⎡
= ⎢
⎣⎢
⎤
2⎥ →
⎥⎦
∴ c22 = 2
(เมื่อคุ้นเคยแล้วจะไม่จําเป็นต้องหาผลคูณให้ครบทุก
ตําแหน่งก็ได้)
(15) จาก A = ⎡⎢20 21⎤⎥ จะได้
⎣
⎦
44
2 1 ⎤ ⎡2 1 ⎤
⎡
→ A = ⎢0 2⎥ ⎢0 2⎥ = ⎡⎢0 4⎤⎥
⎣
⎦
⎣
⎦⎣
⎦
4 4⎤ ⎡2 1 ⎤
8 12⎤
⎡
⎡
3
→ A = ⎢0 4⎥ ⎢0 2⎥ = ⎢0 8 ⎥
⎣
⎦⎣
⎦
⎣
⎦
8 12⎤ ⎡2 1 ⎤
16 30⎤
⎡
⎡
4
→ A = ⎢0 8 ⎥ ⎢0 2⎥ = ⎢ 0 16 ⎥
⎣
⎦⎣
⎦
⎣
⎦
⎡2n n ⋅ 2n ⎤
ดังนัน้ รูปทัว่ ไป An = ⎢ 2 n ⎥
⎢0
2 ⎥⎦
⎣
2
...ฯลฯ ...
(16) ตําแหน่ง 11; 2(x + y) − 4 = 1 .....(1)
ตําแหน่ง 12; (x + y)(y) + 2y = a .....(2)
ตําแหน่ง 21; 6 − 2z = 0 → z = 3 .....(3)
ตําแหน่ง 22; 3y + zy = 1 .....(4)
แทน (3) ใน (4) ได้ y = 1 / 6 ,
จาก (1) ได้ (x + y) = 5 / 2
ดังนัน้ จากสมการ (2) จะได้
(5 / 2)(1 / 6) + 2(1 / 6) = a →
a = 3/4
(17) ตําแหน่ง 21; 3 + 2z = 7 → z = 2
ตําแหน่ง 22; x + 2 = 5 → x = 3
ตําแหน่ง 12; x + 2y = 7
แทน x = 3 ได้ y = 2 ∴ x + y − z = 3
(18) X2 + 2X + I = 0 → (X + I)2 = 0
(ทําได้เพราะ XI = IX )
2
a+1 0
00
→ ⎡⎢ 0 −b + 1⎤⎥ = ⎡⎢0 0⎤⎥ (ใช้เมตริกซ์คูณกันนะ)
⎣
⎦
⎣
⎦
⎡(a + 1)2
0 ⎤
⎡0 0⎤
→ ⎢
2 ⎥ = ⎢0 0 ⎥ ∴ a = −1 , b = 1
0
(
−
b
+
1
)
⎣
⎦
⎣
⎦
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(19)
A2 + 4A − 5I = 0
2
⎡ a + 8 4a + 4b ⎤ ⎡4a 16 ⎤ ⎡5 0⎤ ⎡0 0⎤
⎢2a + 2b 8 + b2 ⎥ + ⎢⎣ 8 4b ⎥⎦ − ⎢⎣0 5⎥⎦ = ⎢⎣0 0⎥⎦
⎣
⎦
แสดงว่า
a2 + 4a + 3 = 0
เมตริกซ
221
.....(1)
4a + 4b + 16 = 0
.....(2)
2a + 2b + 8 = 0 .....(3)
และ b2 + 4b + 3 = 0 .....(4)
→ แก้ระบบสมการ ได้เป็น a = −1, b = −3
หรือ a = −3, b = −1 ก็ได้
หมายเหตุ A2 + 4A − 5I = (A + 5I)(A − I) = 0
ใช้ได้ เพราะ AI = IA
แต่จะสรุปว่า A = −5 I, I ไม่ได้
เพราะ Δ = 0 ไม่ได้แปลว่า หรือ Δ = 0
⎡ x y2 3 ⎤ ⎡ x −1 x2 ⎤
t
(20) A + A = ⎢⎢ −1 1 x2 ⎥⎥ + ⎢⎢y2 1 3 ⎥⎥
2
2
⎣⎢x 3 y ⎥⎦ ⎣⎢ 3 x y ⎦⎥
⎡ 2x
y2 − 1 x2 + 3⎤
⎡ −2 0 4⎤
= ⎢ y2 − 1
2
x2 + 3⎥ = B = ⎢ 0 2 4⎥
⎢ 2
⎥
2
⎢⎣ 4 4 2 ⎥⎦
⎣⎢ x + 3 x + 3 2y ⎦⎥
3 0
M32(A) = −5 −3 = −9
C11(A) = −2 , C32(A) = 9
(26) เลือกหลักที่ 2
→ det(A) = a12c12 + a22c22 + a32c32
6 2
−3 5
62
= −(1) 7 1 + (0) 7 1 − (2) −3 5
= 38 − 72 = −34
(27) วิธี
n
∑ aijcij
i=1
(ตามหลัก) เลือกหลักที่ 1
(j = 1)
det(A) = a11c11 + a21c21 + a31c31
2 1
3 −5
3 −5
= 5 −3 1 − 4 −3 1 + (−1) 2 1
= (5)(5) − (4)(−12) − (13) = 60
วิธี
n
Σ aijcij
j=1
(ตามแถว) เลือกแถวที่ 2
(i = 2)
det(A) = a21c21 + a22c22 + a23c23
3 −5
5 −5
5 3
= −4 −3 1 + 2 −1 1 − 1 −1 −3
= (−4)(−12) + (2)(0) − (−12) = 60
วิธีคณ
ู ทแยง
det(A) = −10 − 12 + 15 + 10 − 3 + 60 = 60
พิจารณาจากตําแหน่ง 11 กับ 33
ก็จะพบว่า x = −1, y = 1
คูณขึน้
คูณลง
y
ซึ่งตรวจสอบแล้วจะใช้ได้กับตําแหน่งอืน่ ๆ ที่เหลือด้วย (28) C21(A) = −6 = − −y −41
(21) [ x y] ⎡⎢ −37 −74⎤⎥ ⎡⎢⎣xy ⎤⎥⎦ = [12]
→ 6 = 3y → y = 2
⎣
⎦
x y
C23(A) = 4 = − x −y → 4 = 2xy →
x
→ [3x − 7y 7x − 4y ] ⎡y ⎤ = [12]
⎢⎣ ⎥⎦
→ 3x2 − 7xy + 7xy − 4y2 = 12
ไฮเพอร์โบลา
(22) det(A) = 2 , det(B) = −5 , det([0]) = 0
[สังเกต det(B) ใช้สญ
ั ลักษณ์ว่า |B| = | − 5| = −5
ไม่ต้องตัดเครื่องหมายลบทิ้งไปแบบค่าสัมบูรณ์นะ!]
(23) det(A) = 24 −−65 = (2)(−6) − (−5)(4) = 8
det(B) = −12 − (−12) = 0
[แสดงว่า B เป็นเมตริกซ์เอกฐาน]
(24) |A | < |B| < |C| → 12 < x2 + x < 20
→ x2 + x − 12 > 0 และ x2 + x − 20 < 0
→ (x + 4)(x − 3) > 0 และ (x + 5)(x − 4) < 0
เขียนเส้นจํานวน เอาช่วงคําตอบมาอินเตอร์เซคกัน
ได้เป็น (−5, −4) ∪ (3, 4)
(25)
3 −4 0
det(A) = −5 4 −3
2 −2 1
= 0 − 18 − 20 + 12 + 0 + 24 = −2
คูณขึน้
คูณลง
4 −3
M11(A) = −2 1 = −2
y = 2
แทน
ได้
x = 1
x y
1 2
∴ C33(A) = −3 8 = −3 8 = 8 + 6 = 14
(29) det(A) = −5 = (a)C11 + (−1)C12
แทนค่า C11 = 11 −11 = −2, C12 = 1
จะได้
(30)
a = 2
0 1 −3
C11 = 0 2 1
−1 3 2
= −6 + 0 + 0 + 0 − 1 + 0 = −7
1 1 0
C21 = − 0 2 1
−1 3 2
= −(0 + 0 − 3 + 4 + 0 − 1) = 0
−4 1 1
C44 = 2 0 1
0 02
= 0 + 0 − 4 + 0 + 0 + 0 = −4
−7 0
C C
∴ C 11 C 21 = C −4 = 28
32
44
32
Math E-Book Release 2.2.04
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
+ (0)C13
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(31)
2
0
5
1
0
−4
−2
3
4
0
0
−1
−6
2 4 −6
0
=
−
(
4)
5
0 0
0
1 −1 −3
−3
จาก
→
4 −6 ⎞
⎛
= (−4) ⎜ −(5) −1 −3 ⎟ = (−4)(−5)(−18) = −360
⎝
⎠
ส่วนอีกสองเมตริกซ์นนั้ det มีค่าเป็น 0
จะคิดโดยวิธีปกติ (คูณทแยง) ก็ได้ แต่ในทีน่ ี้จะแสดง
โดยใช้สมบัตทิ ี่ว่า
(1) นําหลักบวกกัน ค่า det ไม่เปลีย่ น
(2) ถ้ามี 2 หลัก เป็น k เท่าของกัน det = 0
... จากเมตริกซ์แรก นําหลัก 2 ไปบวกหลัก 3
1 a a+b+c
= 1 b a+b+c = 0
1 c a+b+c
n
n + 1 2n + 2
= n + 1 n + 2 2n + 4 = 0
n + 2 n + 3 2n + 6
(เพราะหลักที่ 3 เป็น 2 เท่าของหลักที่ 2)
(32) det(−2A3A t(A + A t))
3
−1 1
= 4 ⋅ 3 −1
4
⋅ A ⋅ A + At
n
= (−2)2 ⋅ A ⋅ A ⋅ A + A t
1 1
= 4⋅ 01
2 1
⋅ 12
= 4 ⋅ (1)n + 1 ⋅ (3) = 12
A ⋅ X ⋅ B = C ⋅ D
C ⋅ D
(−5)(−10)
→ X =
=
= −5
A ⋅ B
(2)(−5)
−2 0 0
12 4 10
(35) 4 3 0 ⋅ X = 0 −5 8
2 15
0 0 1
(−30) X = (−60) →
X = 2
3
3
−A3 = 2 2I → (−1)2 A = (2 2)2
A
= 8 →
จาก
C−1 = 4 →
1 0 −x2
2 1 0 = x3 − 6x2 + 5 = 0
x 3 5
5±3 5
2
1 2 −1
−2 x −2 = x + 4 − 4 + x − 4 − 4
1 −2 1
= 2x − 8 = 0 →
x = 4
[สังเกต หลักที่ 2 จะเป็น −2 เท่าของหลักที่ 3]
log 2x −2x
≠ 0
(41) log
2x − 1 x
→ x log 2x + 2x log 2x − 1 ≠ 0
⎡a b ⎤
⎡ −a −c ⎤
⎢⎣c d⎥⎦ = ⎢⎣ −b −d⎥⎦ →
a
กับ d เป็น 0 (ก. ถูก)
A = B และ B ≠ 0 → แสดงว่า A
2
( A = B) → ข. ก็ถูก
2
A −1 =
1
2
A = 2
1
= 4 →
C
C =
≠ 0
⎡ 1 1 ⎤
2 2
3⎥ ,
⋅ ⎢⎡ −4 −3⎥⎤ = ⎢
⎣
⎦
⎢⎣ −2 − 2 ⎥⎦
1 ⎡ −6 3⎤
⋅
→ หาไม่ได้ เพราะ B = 0
0 ⎢⎣ −4 2⎥⎦
1 ⎡0 0⎤
02−1 =
⋅
→ หาไม่ได้ เพราะ 0 = 0
0 ⎢⎣0 0⎥⎦
1 1 0
1 0
I2−1 = ⋅ ⎡⎢0 1 ⎤⎥ = ⎡⎢0 1 ⎤⎥ = I2
⎦
⎣
⎦
1 ⎣
−1
20 27
(AB)−1 = ⎡⎢ 12 16⎤⎥
⎣
⎦
1 ⎡ 16 −27 ⎤
−
4
27/4
=
= ⎡⎢ 3 −5 ⎤⎥
−4 ⎣⎢ −12 20 ⎦⎥
⎣
⎦
1
1
−
−3⎤
5
3
2
⎡
⎤⋅ ⎡
B−1A −1 =
−2 ⎣⎢ −4 2 ⎦⎥ 2 ⎣⎢ −2 4 ⎦⎥
1 ⎡ 16 −27 ⎤
−4 27/4
=
= ⎡⎢ 3 −5 ⎤⎥
−4 ⎣⎢ −12 20 ⎦⎥
⎣
⎦
(44)
⎛ 1 ⎞ 2 −2
→ ⎜ ⎟ ⋅ x y + 4 = (2)2
⎝4⎠
1
→
(2y + 8 + 2x) = 4 → x + y = 4
4
→
8
= 16
(2)(1 / 4)
B−1 =
A ⋅ B + 4I = 2I
(37) จาก
(40)
(43)
สังเกต ข้อนี้เป็นเมตริกซ์สามเหลีย่ ม จะหา det ง่าย
(36) AB + 4A = 2I → A(B + 4I) = 2I
→
(39)
แสดงว่า
(34)
→
B =
(38) det(A) = 2 sin2 x + 2 cos2 x = 2 เสมอ
(จากเอกลักษณ์ของตรีโกณมิติ) ดังนัน้ det ไม่มีทาง
เป็น 0
∴ ข้อนี้ ไม่มค
ี ําตอบ
(42)
det(−2AnA t(A + A t))
n+1
→
→ x2 log 2 + (2x2 − 2x) log 2 ≠ 0
2
→ 3x2 − 2x ≠ 0 → x ≠ 0,
3
−2 4
⋅ 4 −2
= 4 ⋅ (−2)4 ⋅ (−12) = −768
(33)
−6 1
ABtC = ⎡⎢ 4 −2⎤⎥
⎣
⎦
−6 1
A ⋅ B ⋅ C = 4 −2 = 8
→ (x − 1)(x2 − 5x − 5) = 0 → x = 1,
(เพราะหลักที่ 3 เป็น a+b+c เท่าของหลักที่ 1)
... จากเมตริกซ์ทสี่ อง นําหลัก 1 ไปบวกหลัก 3
= (−2)2 ⋅ A
เมตริกซ
222
1
4
หมายเหตุ
(45.1)
(AB)−1 = B−1 ⋅ A −1
⎡ 1 2⎤
⎣⎢2 3⎥⎦
Math E-Book Release 2.2.04
−1
เสมอ
1 ⎡ 3 −2⎤
−3 2
=
= ⎡⎢ 2 −1⎤⎥
−1 ⎣⎢ −2 1 ⎦⎥
⎣
⎦
(คณิต มงคลพิทักษสุข)
ด้วย
คณิตศาสตร O-NET / A-NET
(45.2)
=
⎡ cos θ sin θ ⎤
⎣⎢ − sin θ cos θ ⎦⎥
−1
(55) ใช้ขั้นตอน
1
⎡cos θ − sin θ ⎤ = ⎡cos θ − sin θ ⎤
2
⎢⎣ sin θ cos θ ⎦⎥
cos θ + sin2 θ ⎣⎢ sin θ cos θ ⎦⎥
(45.3)
24
12 = 0
ดังนั้นไม่มีคําตอบ
1 ⎡4 2⎤ ⎡ −1 2⎤
⋅
−2 ⎣⎢3 1⎦⎥ ⎢⎣ 1 1 ⎥⎦
−2 10
2 −10
= − ⎡⎢ −2 7 ⎤⎥ = ⎡⎢2 −7 ⎤⎥
⎣
⎦
⎣
⎦
(46)
(47)
2A −1Bt = 2 ⋅
BA
−1
t
ได้เป็น
t
−1
2 −2
⋅ ⎡⎢ −1 −2⎤⎥
⎣
⎦
⎡ 2 −2⎤
⎡ −9 −6⎤
⎢⎣ −1 −2⎦⎥ = ⎣⎢ −4 −2 ⎦⎥
4 6
A = ⎡⎢8 12⎤⎥
⎣
⎦
4 6
เพราะ 8 12 = 0
(49)
(50) จาก
→
−1
1 2
⋅ ⎡⎢3 4⎤⎥ ⇒
⎣
⎦
หาไม่ได้
ดังนั้นข้อนี้ไม่มคี ําตอบ
1 4
A ⋅ 4 ⎡⎢9 16⎤⎥ = 4I
⎣
⎦
⎡ 1 4 ⎤ = A −1 ⋅ I = A −1
⎢⎣9 16⎥⎦
⎡1 4 ⎤
⎢⎣9 16⎥⎦
AB = I แสดงว่า A −1 = B
⎡3 0 −1⎤ ⎡1⎤
⎡2⎤
⎡1⎤
→ A −1 ⋅ ⎢1⎥ = ⎢4 2 0 ⎥ ⎢1⎥ = ⎢6⎥
⎢⎣3 −1 1 ⎥⎦ ⎢⎣1⎥⎦
⎢⎣3⎥⎦
⎢⎣1⎥⎦
(51)
(52)
1 ⎡ 3 −4⎤ ⎡2 2 ⎤
−6 6
⋅
= ⎢⎡ 5 −4⎥⎤
⎣
⎦
1 ⎢⎣ −2 3 ⎥⎦ ⎢⎣3 0⎥⎦
→ b + c = 6 + 5 = 11
X −1 = A −1 ⋅ (B + C)−1
(54)
1 ⎡ 2 −1⎤ 1 ⎡ 1 1⎤
=
⋅
−1 ⎣⎢ −1 0 ⎦⎥ 1 ⎣⎢0 1⎦⎥
1
I → 2(B − C) =
2
⎡ 1 0 2⎤
⎡2 0
= 2 ⎢ 0 1 −1⎥ = ⎢ 0 2
⎣⎢ −2 −1 −1⎦⎥
⎣⎢ −4 −2
A(B − C) =
→ ∴ A −1
−1
t
> adj
A ⋅ adj(A)
adj(A) ⋅ A
กับ
0 ⎤
⎡ −33 0
⎢ 0 −33 0 ⎥
⎢⎣ 0
0 −33⎥⎦
ทั้งสองอย่าง
1
33
⎡ 0 −11 0 ⎤
⎢ 3 6 −6⎥
⎢⎣18 −8 −3 ⎥⎦
⎡ 3 6 −18⎤
M(A) = ⎢ 3 2 −6 ⎥
⎢⎣ −6 −12 24 ⎥⎦
⎡ 3 −6 −18⎤
→ C(A) = ⎢ −3 2 6 ⎥
⎢⎣ −6 12 24 ⎥⎦
(56) จาก
→ det(A) =
และ
(แถว2)
6(−3) + 3(2) = −12
⎡ 3 −3 −6⎤
adj(A) = ⎢ −6 2 12 ⎥
⎢⎣ −18 6 24⎥⎦
1 ⎡ 3 −3 −6⎤
= −
⎢ −6 2 12 ⎥ =
12 ⎢ −18 6 24⎥
⎣
⎦